SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
การรับรู ้ภาพลักษณ์และตรา
ผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกที่มีผลต่อ
ความเต็มใจซื้อของผู้บริโภค
ฉัตรมงคล ชื่นธีระวงศ์ , วรัท วินิจ และ เอก บุญเจือ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เจ้าของผลงาน
ฉัตรมงคล ชื่นธีระวงศ์ , วรัท วินิจ และ เอก บุญเจือ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ
อ.เมืองเชียงใหม่ จ.เชียงใหม่ 50200
บทนา
ในปัจจุบันตราสินค้าของผู้จัดจาหน่าย (Private Label) มีการขยายสู่ตลาดในจานวนที่มากขึ้น จากเจ้าของตรา
ผลิตภัณฑ์ของผู้ผลิตหลายรายมักจะส่งผ่านค่าใช้จ่ายในการสื่อสารการตลาดต่างๆมายังผู้บริโภคเพื่อให้เกิดการตระหนักถึงและรู้จักสินค้า
โดยให้ผู้บริโภคเป็นผู้แบกรับค่าใช้จ่ายนั้น การศึกษานี้จึงต้องการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ร้านค้าปลีกและกลยุทธ์ของการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ในตราสินค้าของผู้จัดจาหน่ายเพื่อเป็นประโยชน์ต่อนักการตลาดในการออกกลยุทธ์ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกให้
ผู้บริโภคมีความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ตราร้านค้าปลีกที่สูงขึ้น
3
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกที่มีต่อการรับรู้ความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์
2. เพื่อศึกษากลยุทธ์ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกที่มีต่อการรับรู้ความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์
3. เพื่อศึกษาการรับรู้ความสัมพันธ์ระหว่างตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกและกลยุทธ์ตราผลิตภัณฑ์ของ
ร้านค้าปลีกที่มีต่อการรับรู้ความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์
4
5
แนวคิดและทฤษฎี
แนวคิดตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก( Retailer's
Brand image)มีอยู่ 2 แนวความคิดหลักคือแนวคิดแบบคุณลักษณ์ (Attribute-
based)แนวคิดที่ 2 เป็นแนวคิดแบบองค์รวม (Holistic-based
แนวคิดเกี่ยวกับกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ของผู้จัดจาหน่าย กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ของผู้จัด
จาหน่าย ที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือ กลยุทธ์ผู้ตาม (Imitator) โดย Kotler (2003) กล่าวว่ากลยุทธ์ผู้
ตาม (Market – follower Strategies) มีอยู่ 3 ประการ คือ 1. ลอกเลียน (Cloner) 2.
เลียนแบบ
(Imitator) 3. ดัดแปลง (Adapter) ซึ่งกลยุทธ์ การเลียนแบบ (Imitator) เป็นกลยุทธ์ที่
Private Label มักใช้กันมากที่สุด Aribarg, Arora, Henderson and Kim
(2014)
แนวคิดความเต็มใจซื้อ (Willingness to Buy)
ความเต็มใจซื้อ คือ Voon, Ngui and Agrawal (2011)
ได้ศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลของ
สิ่งแวดล้อม และอารมณ์ท่ีมีผลต่อความตั้งใจ
ที่จะซื้อ กล่าวคือความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ
ทางอารมณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมของร้าน
ค้าปลีกในด้านความตั้งใจของพฤติกรรม
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
✘ งานวิจัยนี้ใช้แนวความคิดเรื่องตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกอ้างอิงมาจากการศึกษาของ
Champion,Clifton,James and Hunt (2010)และกลยุทธ์การเลียนแบบผลิตภัณฑ์
อ้างอิงมาจากการศึกษาของ Aribarget al.,(2014)เป็นตัวแปรอิสระ(Independent
Variables)ซึ่งเป็นงานวิจัยของ Schiffman and Kanuk (2000).
6
กรอบแนวคิดการวิจัย
7
สมมติฐานงานวิจัย
✘ สมมติฐานที่ 1 ความแตกต่างระหว่างตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกมีผลต่อความเต็มใจซื้อ
✘ สมมติฐานที่ 2 ความแตกต่างระหว่างกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกมีผลต่อความเต็มใจซื้อ
✘ สมมติฐานที่ 3 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกและกลยุทธ์ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกมี
ความสัมพันธ์เชิงบวกต่อความเต็มใจซื้อ
8
วิธีการดาเนินการวิจัย
ในการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลองโดยมีการสร้าง
เงื่อนไขการทดลองสาหรับตัวแปรต้นแบบ 2 คูณ 2 กล่าวคือการทดสอบตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก 2 รูปแบบกับกลยุทธ์ของตรา
ผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก 2 รูปแบบ ดังนี้เงื่อนไขที่ 1 ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกสูงและกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ของผู้จัดจาหน่ายแบบ
เลียนแบบเงื่อนไขที่ 2 ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกสูงและกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ของผู้จัดจาหน่ายแบบไม่เลียนแบบเงื่อนไขที่ 3 ตรา
ผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกต่าและกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ของผู้จัดจาหน่ายแบบเลียนแบบเงื่อนไขที่ 4 ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกต่าและกล
ยุทธ์ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกแบบไม่เลียนแบบ
9
ประชากร
✘ ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่กาลังศึกษาในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยมีอายุ
ระหว่าง 18 ถึง 24 ปี จานวน 26,659 ราย(มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,สานักทะเบียนและประมวลผล,
2559 )
10
11
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ทดสอบเงื่อนไขการทดลองทั้ง 4 เงื่อนไข
จานวน 280 คนได้มาจากการสุ่มตัวอย่างโดยไม่ใช้ความน่าจะเป็นโดย
วิธีการเลือกตามแบบสะดวก
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ในการวิจัยครั้งนี้แบบสอบถามได้พัฒนาขึ้นมาจากแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้องกับอิทธิพลของตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกและกลยุทธ์ตราผลิตภัณฑ์
ของร้านค้าปลีกต่อความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือการวิจัย
✘ 1. ทบทวนเอกสารและงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนากรอบแนวคิดและ ตั้งสมมติฐาน
✘ 2. สร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวม ข้อมูลใช้แบบสอบถามของ Aribarg et al., (2014) และ Jacoby and
Mazursky (1984)
13
การเก็บรวบรวมข้อมูล
✘ งานวิจัยนี่เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi-experimental Research) มีการเก็บ รวบรวม
ข้อมูลเป็น 2 ส่วน คือ 1. การเก็บ รวบรวมข้อมูลได้ทาการ Try Out ใช้แบบสอบถาม ทั้งหมด 30 ชุด เพื่อ
ความถูกต้องและเข้าใจใน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และเพื่อความเข้าใจ ที่ตรงกันของผู้วิจัย และ 2. เก็บข้อมูลใน
ห้อง ทดลองโดยแบ่งเป็น 4 กลุ่มตามเงื่อนไขของการ ทดลอง ผู้ตอบแบบสอบถามห้องละ 70 ชุด รวม ทั้ง 4
เงื่อนไข จานวนทั้งหมด 280 ชุด
14
การวิเคราะห์ข้อมูล
ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรม สาเร็จรูปทางสถิติในการวิเคราะห์เพื่อคัดกรองและจัดกลุ่มตัวแปรที่เหมาะสม ดังนี้
1. การทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของ ครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) และ
คานวณโดยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ SPSS วิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม
2. การวิเคราะห์ข้อมูลในแบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ได้แก่ ข้อคาถามสาหรับการทา Manipulation Condition ตรวจสอบตัวแปรต้น
(Independent Variables) ตามเงื่อนไขของการทดลอง
3.การวิเคราะห์ข้อมูลในแบบสอบถาม ส่วนที่ 2 ได้แก่ ข้อคาถามสาหรับการวัดตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ การรับรู้
ความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ ใช้ t-test เพื่อหาค่าความแตกต่างระหว่างสองตัวแปร
4.การวิเคราะห์ข้อมูลในแบบสอบถาม ส่วนที่3 ได้แก่ ข้อคาถามข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ แบบสอบถาม สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive
Statistics) ประกอบด้วย ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean)
15
16
ผลการวิจัย
1. ผลการทดสอบ Manipulations Check
17
จากผลการทดสอบทางสถิติที่ปรากฏดังตารางที่1 การตรวจสอบการรับรู้
ของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับตัวแปรต้นตามเงื่อนไขการทดลองที่กาหนด (Manipulation Checks
of Independent Variables)ในการทดสอบความถูกต้องของการควบคุมประเภทตราผลิตภัณฑ์ของ
ร้านค้าปลีกโดยแต่ละเงื่อนไขประกอบด้วยประเภทตราสินค้าของร้านค้าปลีกเพียง 1 ประเภท
ได้แก่ 1 ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกสูง (High RBI) หรือ 2 ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกต่า (Low
RBI)จากการวิเคราะห์ค่าทางสถิติ Independent Sample t-testการรับรู้ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้า
ปลีก (High RBI) และ (Low RBI )มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญโดยพบว่า(T = 34.36 , P < 0.05)
โดยพบว่า High RBI ได้รับคะแนนเฉลี่ย 5.94 ซึ่งสูงกว่า Low RBI มีค่าเฉลี่ย 2.96
ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าข้อมูลที่ได้นั้นสามารถนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมในการทดสอบสมมติฐานในขั้นต่อไป
18
19
จากผลการทดสอบทางสถิติที่ปรากฏดังตารางที่2 การตรวจสอบการรับข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถาม
เกี่ยวกับตัวแปรต้นตามเงื่อนไขการทดลองที่กาหนด (Manipulation Checks of Independent Variables )ในการ
ตรวจสอบความถูกต้องของการควบคุมประเภท Private Label Strategy โดย แต่ละเงื่อนไข ประกอบด้วยกล
ยุทธ์เลียนแบบและกลยุทธ์ไม่เลียนแบบโดยแต่ละเงื่อนไขประกอบด้วยประเภทสินค้าของ 2 ประเภทใหญ่ได้แก่
ผลิตภัณฑ์ที่มีความเกี่ยวพันต่า (Low Involvement) คือน้าดื่มและผลิตภัณฑ์ที่มีความเกี่ยวพันสูง (High
Involvement) คือซุปไก่สกัดจากการวิเคราะห์ค่าทางสถิติ Independent Sample t - test การรับรู้ Privat Label
Strategy แบบIS และ Non-ISมี ความแตกต่างกันโดยเงื่อนไขISจะมีค่าเฉลี่ยสูงNon-ISกว่าอย่างมีนัยสาคัญทาง
สถิติในสินค้าประเภทน้าดื่ม ( = 2.24 vs. 6.00, T = 0.69, P < 0.05) และซุปไก่สกัด ( = 2.19 vs. 5.89, T = 0.47, P
< 0.05 ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าข้อมูลที่ได้นั้นสามารถนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมในการทดสอบสมมติฐานในขั้นต่อไป
20
21
จากผลการทดสอบทางสถิติที่ปรากฏ ดังตารางที่3 การตรวจสอบการรับรู้ของผู้ตอบ แบบสอบถามเกี่ยวกับตัวแปรต้น ตาม
เงื่อนไขการทดลองที่กาหนด (ManipulationChecks of IndependentVariables) ในการทดสอบ ความถูกต้องของการควบคุม
ตราสินค้าให้เป็นไปตามเงื่อนไขการทดลองทั้งหมด 4 แบบ (High RBI x IS, High RBI x Non-IS, Low RBI x IS, Low RBI x
Non-IS) โดยแต่ละเงื่อนไข ประกอบด้วยประเภทสินค้าของ 2 ประเภท ใหญ่ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่มีความเกี่ยวพันต่า (Low
Involvement) คือ น้าดื่ม และผลิตภัณฑ์ ที่มีความเกี่ยวพันสูง (High Involvement) คือ ซุปไก่สกัด จากการวิเคราะห์ทางสถิติ
สามารถ สรุปผลการประเมินการรับรู้เกี่ยวกับ RBI และ PLS ของทั้ง 4 ประเภท ได้ว่า การควบคุม เงื่อนไขตราสินค้าสามารถทาได้
ตามที่กาหนด ไว้ทั้งหมด คือ สามารถควบคุมเงื่อนไขของ ตัวแปรต้น คือ RBI ให้มีRBI สูง และ RBI ต่าตาม เงื่อนไข รวมถึงPLS
ให้มีคะแนน PLS สูง และ PLS ต่า ตามเงื่อนไข นอกจากนี้ยังสามารถ ควบคมุปฏิสัมพันธ์ของ RBI และ PLS (High RBI x IS,
High RBI x Non-IS, Low RBI x IS, Low RBI x Non-IS) ได้ตามที่กาหนดไว้เช่นกัน ดัง นั้นจึงกล่าวได้ว่า ข้อมูลที่ได้นั้น
สามารถนาไป ใช้ได้อย่างเหมาะสมในการทดสอบสมมติฐาน ในขั้นต่อไป
2. ผลการศึกษาตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกมีผลต่อความเต็มใจ
ซื้อ ผลิตภัณฑ์
✘ การรับรู้ตราผลิตภัณฑ์ ของร้านค้าปลีกที่สูงมีผลต่อความเต็มใจซื้อ ผลิตภัณฑ์ที่สูง ลลกการรับรู้
ตราผลิตภัณฑ์ ของร้านค้าปลีกที่ต่ามีผลต่อความเต็มใจ ซื้อผลิตภัณฑ์ต่า จากผลการทดสอบทางสถิติ Independent
Sample T-test ลสดงให้เห็น อิทธิพลทางตรง RBI ของผู้บริโภคที่มีต่อ ความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคอย่าง
มี นัยสาคัญ โดยพบว่า เงื่อนไข RBI มีรกดับคกลนน ค่าเฉลี่ยความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภค ในสินค้า
ปรกเภท น้าดื่ม(RBI สูง 4.85 ต่า 3.07, t = 14.3, P < 0.05) ลลกซุปไก่สกัด RBI สูง 4.77 ต่า3.02, t = 12.26, P <
0.05) จากการ ทดสอบค่าทางสถิติ ลสดงให้เห็นว่าผู้บริโภค เต็มใจซื้อสินค้าที่มี RBI สูง มากกว่าสินค้าที่มี RBI ต่า
ดังนั้นจึงสนับสนุนสมมติฐานH1 ลสดง ได้ดังตารางที่4
22
23
3. ผลการศึกษากลยุทธ ์ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก
มีผลต่อการรับรู ้ ความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์
✘ กลยุทธ์ ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก โดยใช้กลยุทธ์ ไม่เลียนแบบมีผลต่อความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ ที่สูง และกลยุทธ์ตรา
ผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก โดยใช้กลยุทธ์การเลียนแบบมีผลต่อความ เต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่ต่าโดยที่ความเต็มใจ
✘ ซื้อของผู้บริโภคแตกต่างกัน ในสินค้าประเภท ซุปไก่สกัดเท่านั้น กล่าวคือผู้บริโภคแสดงความ เต็มใจซื้อ Non-Is สูงกว่า
IS อย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ ( = Non-IS 4.14 vs. = IS 3.65, t = -2.83, P < 0.05) โดย
ผู้บริโภคแสดงความ ตั้งใจไม่ต่างกันในสินค้าประเภท น้าดื่ม ดังนั้น จึงสนับสนุน H2 บางส่วน แสดงได้ดังตารางที่5
24
25
4. ผลการศึกษาการรับรู ้ความ สัมพันธ ์ระหว่างตราผลิตภัณฑ์
ของ ร้านค้าปลีกและกลยุทธ ์ตราผลิตภัณฑ์ของ ร้านค้าปลีกที่มีต่อการรับรู ้
ความเต็มใจซื้อ ผลิตภัณฑ์
✘ จากผลการทดสอบอิทธิพลทางตรง ของ Retailer’s Brand Image และผลของการ ปฏิสัมพันธ์กับ Private Label Strategy
ต่อความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ของผู้บริโภคด้วย One-way ANOVA และ Homogeneous Subset ของผู้บริโภคที่มีต่อความเต็มใจ
ซื้อผลิตภัณฑ์ ของผู้บริโภคอย่างมีนัยสาคัญพบว่า ผู้บริโภคที่ มีความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่มีเงื่อนไข คือ RBI สูง และใช้กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์แบบไม่
เลียนแบบ (High RBI x Non-IS) มีแนวโน้มที่จะเชื่อมโยง ตราสินค้านี้เข้ากับความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่สูงกว่าตราสินค้าในเงื่อนไขอื่น ๆ
ทั้งหมด ในสินค้าน้าดื่ม
✘ (สูงที่สุด High RBI x Non-IS 5.47 รองลงมา High RBI x IS 4.22 รองลงมา Low RBI x IS 3.93 และสุดท้าย
Low RBI x Non-IS 2.20, F = 246.86, P < 0.05) และซุปไก่สกัด (สูงที่สุด High RBI x Non-IS 5.45
รองลงมา High RBI x IS 4.09 รองลงมา Low RBI x IS 3.20 และสุดท้าย Low RBI x Non-IS 2.83, F =
79.86, P < 0.05) จากการทดสอบค่าทางสถิติ แสดง ให้เห็นว่าผู้บริโภคเต็มใจซื้อสินค้าที่มี High RBI x Non-IS มากกว่าสินค้าที่มี
Low RBI x NonIS ดังนั้นจึงสนับสนุนสมมติฐาน H3 แสดงได้ ดังตารางที่ 6
26
27
อภิปรายผล
✘ 1. การศึกษาความแตกต่างระหว่าง ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกมีผลต่อความ เต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ กล่าวคือ การรับรู้
ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกที่สูงมีผลต่อ ความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่สูงและการรับรู้ ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกที่มีผล
ต่อ ความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ต่า
✘ 2.การศึกษาความแตกต่างระหว่าง กลยุทธ์ตราผลิตภัณฑของร้านค้าปลีก มีผลต่อ ความเต็มใจซื้อ กล่าวคือ กลยุทธ์ตราผล
ติภัณฑ์ ของร้านค้าปลีก โดยใช้กลยุทธ์ไม่เลียนแบบ มีผลต่อความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์ที่สูง และ กลยุทธ์ตราผลิตภัณฑ์ของ
ร้านค้าปลีก โดยใช้ กลยุทธ์การเลียนแบบมีผลต่อความเต็มใจซื้อ ผลิตภัณฑ์ที่ต่า
✘ 3. การศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกและกลยุทธ์ ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก มีความสัมพันธ์
เชิงบวกต่อความเต็มใจซื้อผลิตภัณฑ์
28
ข้อเสนอแนะ
✘ ข้อเสนอแนะเพื่อนาผลการวิจัยไปใช้
✘ 1. ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกที่ เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค ควรกาหนดกลยุทธ์
ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก โดยการใช้ กลยุทธ์แบบไม่เลียนแบบ
✘ 2. ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีกที่ ไม่เป็นที่รู้จักของผู้บริโภค ให้กาหนดกลยุทธ์
ตราผลิตภัณฑ์ของร้านค้าปลีก โดยใช้กลยุทธ์ แบบเลียนแบบ
29
30
Thank !

More Related Content

Similar to Perceptions 040

ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)Chamada Rinzine
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาUtai Sukviwatsirikul
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลarm_smiley
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลsupatra39
 
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรZiwapohn Peecharoensap
 
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็นmaruay songtanin
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...Utai Sukviwatsirikul
 
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00JeenNe915
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...Vachirawit Treemake
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loa...
Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loa...Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loa...
Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loa...ChutipaSunantaporn
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่supatra39
 
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552Utai Sukviwatsirikul
 
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1Ouizz Saebe
 
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptxหลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptxpiyapongauekarn
 
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...ssuseracfe91
 

Similar to Perceptions 040 (20)

ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไรการจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
การจัด Promotion มีผลต่อการตัดสินใจซื้อระยะสั้น และระยะยาวอย่างไร
 
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
2017 baldrige polishing feedback comments ขัดเกลาข้อคิดเห็น
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
Book
BookBook
Book
 
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
Customers’ perception in standard accreditation of boots quality drugstore ap...
 
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
กลยุทธ์การสื่อสารและการรับรู้แบรนด์ของลูกค้าในธุรกิจบริการ บริษัท กรุงไทยคาร์...
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loa...
Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loa...Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loa...
Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loa...
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
Customers’ satisfaction of chain drugstores’ service 2552
 
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
จุลนิพนธ์ Power Pointครั้งที่ 1
 
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptxหลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
หลักการจัดซื้อ บทที่ 1.pptx
 
Dove
DoveDove
Dove
 
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
 

Perceptions 040