SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
ความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้าที่มีต่อตราสินค้า
ของศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์ในอุตสาหกรรม
สินเชื่อรถยนต์ในกรุงเทพมหานคร
มณฑิรา ศรีด้วง , ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี
นิสิตระดับปริญญามหาบัณฑิต ภาควิุานิเทศศาสตรชและสารสนเทศศาสตรชคณะมนษยศาสตรช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรช.
ผูุ้่วยศาสตราจารยชประจาภาควิุานิเทศศาสตรชและสารสนเทศศาสตรชคณะมนษยศาสตรช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรช.
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเุิงปริมาณ มีวัตถประสงคชเพื่อศึกษาพฤติกรรมการสื่อสาร ความพึงพอใจและความ
ภักดีของลูกค้า และความแตกต่างของพฤติกรรมการสื่อสาร ซึ่งจาแนกตามปัจจัยส่วนบคคลตลอดจนความสัมพันธช
ระหว่างพฤติกรรมการสื่อสารความพึงพอใจและความภักดีต่อตราสินค้าที่ลูกค้าใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช โดยใุ้
แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกล่มตัวอย่างจานวน 402 คน
บทคัดย่อ
บทนา
ในปัจจบันสภาพสังคมมีการแข่งขันสูง องคชกรธรกิจต่าง ๆ สามารถพัฒนามาตร์านสินค้าให้มีคณภาพเท่าเทียมหรือเหนือกว่าคู่
แข่งขันได้โดยไม่ยาก เนื่องจากมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการผลิต จึงสามารถผลิตสินค้าได้อย่างรวดเร็วและมีความเหมือนกันของตัว
สินค้า การดาเนินธรกิจจึงต้องม่งเน้นไปที่การบริการที่สามารถเอาุนะใจลูกค้าได้ ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชจึงเป็นุ่องทางที่
หน่วยงานจัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการลูกค้าผ่านทางโทรศัพทช โดยมีวัตถประสงคชเพื่อตอบสนองความต้องการในด้านข้อมูลของสินค้าและ
บริการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพด้านบริการและสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า และศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชยังมีบทบาทที่ทาให้ลูกค้า
เกิดความประทับใจรวมทั้งการตัดสินใจซื้อ และยังสร้างภาพลักษณชที่ดีให้กับธรกิจอีกด้วย (สวิภา บษยบัณฑูร , 2556) ดังนั้นเพื่อให้สินเุื่อ
รถยนตชโตตามเป้าหมายธนาคารหรือกล่มบริษัทต่าง ๆ ที่ให้บริการสินเุื่อรถยนตชจะต้องเน้นทาตลาดสินเุื่อรถยนตชมือสอง (Used car)
และสินเุื่อจานาทะเบียนรถยนตช (Car forcash) ให้คึกคักและรนแรงมากขึ้น เพื่อให้ลูกค้าหันมาใุ้บริการสินเุื่อดังกล่าวมากขึ้น เพราะ
ธนาคารต่างต้องการรายได้อย่างต่อเนื่อง
บทนา
ดังนั้นแต่ละบริษัทต้องแข่งขันกันเรื่องดอกเบี้ยที่มีราคาถูกกว่าคู่แข่ง การจัดรายการส่งเสริมการขาย ตลอดจนการสร้างการบริการที่เป็นเลิศ เพื่อตอบสนอง
ความพึงพอใจของลูกค้า และเพื่อเอาุนะใจลูกค้าให้ได้จึงถือว่าเป็นสิ่งสาคัญ ทั้งนี้สิ่งหนึ่งที่ผู้ให้บริการสินเุื่อต่างให้ความสาคัญก็คือ การสร้างความพึงพอใจให้
ลูกค้าและรักษาลูกค้าในปัจจบันให้มีความภักดีต่อสินค้าของตนวิธีการที่สามารถสร้างความสัมพันธชกับลูกค้าเพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจคือการบริหารลูกค้า
สัมพันธช (Customer Relationship Management หรือ CRM)โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารลูกค้าสัมพันธชผ่านทางศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทช
เนื่องด้วยศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการให้ข้อมูลสินค้าหรือบริการแก่ลูกค้าผ่านทางระบบโทรศัพทชโดยอาศัยบคคลหรืออปกรณช
ระบบ Voice Processing ที่มี์านข้อมูลลูกค้าคอยตอบรับความต้องการของลูกค้าทกประเด็น โดยไม่มีเงื่อนไขเวลา คือ สามารถให้บริการลูกค้าได้ตลอด 24
ุั่วโมง (กัญจนา พัฒนวรพันธช, 2547) จึงส่งผลให้ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชมีความสาคัญมากขึ้น เพราะเมื่อลูกค้าต้องการทราบข้อมูลหรือการบริการต่าง ๆ
ลูกค้าก็จะสามารถติดต่อเข้ามาที่ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชได้ตลอด 24 ุั่วโมง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการสื่อสารและความแตกต่างของพฤติกรรมการสื่อสารของลูกค้าผ่านศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของ
สินเุื่อรถยนตชซึ่งจาแนกตามปัจจัยส่วนบคคล
2. เพื่อทราบความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชและความภักดีต่อตราสินค้าของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช
3. เพื่อทราบพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชที่มีความสัมพันธชกับความพึงพอใจและมีความสัมพันธชต่อ
ความภักดีของลูกค้าที่ใุ้บริการศูนยชตอบรับทางโทรศัพทชของสินเุื่อรถยนตช
4. เพื่อทราบถึงความสัมพันธชระหว่างความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชกับความ
ภักดีต่อตราสินค้า
การทบทวนวรรณกรรม
 1. การบริหารลูกค้าสัมพันธช (Customer Relationship Management หรือCRM) หมายถึง แนวทางขององคชกรที่พยายามเข้าถึงและโน้มน้าวพฤติกรรม
ของลูกค้าผ่านการสื่อสารที่มีความหมาย เพื่อปรับปรงอัตราการหาลูกค้าใหม่อัตราการรักษาลูกค้า อัตราลูกค้าที่มีความภักดี และลูกค้าที่สามารถสร้างผลกาไรสูงให้แก่บริษัท
วัตถประสงคชของโปรแกรมการบริหารลูกค้าสัมพันธช
ุื่นจิตตชแจ้งเจนกิจ (2546) กล่าวว่า การจัดโปรแกรมการบริหารลูกค้าสัมพันธชใด ๆ ก็ตามไม่ว่าจะเป็นการส่งข่าวสารน่ารู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑชไปให้ลูกค้าที่บ้านพร้อมด้วยคูปองส่วนลด
หรือแลกรับตัวสินค้าในบางุ่วงโอกาส การจัดโปรแกรมการฝึกอบรมเลี้ยงดูบตรแก่คณแม่คนใหม่ที่โรงพยาบาลจัดโดยนิตยสารรักลูกร่วมกับโรงพยาบาลต่าง ๆ การจัดแคมเปญสะสม
แต้มหรือสติ๊กเกอรชตามยอดการซื้อสินค้าหรือบริการ เป็นต้น ล้วนแต่มีวัตถประสงคชสาคัญดังนี้
การทบทวนวรรณกรรม
▪ 1.1 เพื่อเพิ่มยอดขายสินค้าหรือบริการของบริษัทอย่างต่อเนื่องในุ่วงเวลาหนึ่ง
▪ 1.2 เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีต่อสินค้าหรือการบริการและบริษัท ทาให้ลูกค้าทราบวิธีการใุ้สินค้าอย่างถูกต้อง สามารถจดจาและมีภาพลักษณชที่ดีต่อบริษัทและสินค้าหรือการ
บริการของบริษัทในระยะยาว
▪ 1.3 เพื่อให้ลูกค้ามีความภักดีต่อบริษัทและสินค้า หรือการบริการของบริษัท โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่บริษัทมีสินค้าจาหน่ายหลายผลิตภัณฑชการที่ลูกค้าซื้อสินค้าของ
บริษัทในสายผลิตภัณฑชหนึ่งแล้วรู้สึกประทับใจในทางบวก โอกาสที่บริษัทจะเสนอขายสินค้าในสายผลิตภัณฑชอื่นได้สาเร็จก็จะมีมากขึ้น
▪ 1.4 เพื่อให้ลูกค้าแนะนาสินค้าหรือการบริการต่อไปยังผู้อื่น เกิดการพูดแบบปากต่อปาก (Words-of-mouth) ในทางบวกเกี่ยวกับสินค้า ซึ่งมีความน่าเุื่อถือมากกว่า
ในโฆษณา และเมื่อสินค้าหรือการบริการของบริษัทถูกโจมตีจากผู้อื่น ลูกค้าุั้นดีของบริษัทเหล่านี้เองที่จะทาหน้าที่เป็นกระบอกเสียงปกป้องุื่อเสียงของบริษัทและสินค้า
หรือการบริการของบริษัท
การทบทวนวรรณกรรม
 2. ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทช หมายถึง ุ่องทางที่หน่วยงานจัดตั้งขึ้นโดยให้บริการลูกค้าผ่านทางโทรศัพทช โดยใุ้ทรัพยากรบคคลที่มีความรู้ความสามารถควบคู่กับการใุ้
์านข้อมูลในระบบคอมพิวเตอรช โดยมีวัตถประสงคชเพื่อตอบสนองความต้องการในด้านข้อมูลของสินค้าและบริการ และพร้อมกันนั้นต้องคานึงถึงการให้บริการลูกค้าได้ตลอด 24
ุั่วโมง และตลอดทั้ง 7 วัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความพึงพอใจของลูกค้า
 3. ความพึงพอใจของลูกค้า หมายถึง ความรู้สึกที่มีต่อสินค้าและบริการซึ่งมีทั้งด้านบวกและด้านลบ เกิดจากการเปรียบเทียบต่อสิ่งที่ได้จากสินค้าและบริการกับความคาดหวัง
▪ 3.1 ลูกค้าจะซื้อสินค้าบ่อยขึ้นและสร้างความภักดีต่อตราสินค้าขององคชกรในระยะยาว
▪ 3.2 ลูกค้าจะุ่วยกระจายข่าวสารและเสริมสร้างภาพลักษณชที่ดีต่อองคชกร
▪ 3.3 ลูกค้าจะุักนาผู้ซื้อรายใหม่ๆ แก่องคชกร
▪ 3.4 ลูกค้าจะไม่อ่อนไหวต่อการโฆษณาหรือโปรแกรมการส่งเสริมการขายของคู่แข่งขันขณะเดียวกันอาจให้ข้อเสนอแนะและข้อมูลต่างๆ แก่องคชกร
▪ 3.5 ต้นทนในการเสนอสินค้าหรือบริการแก่ลูกค้าเก่าหรือลูกค้าประจานั้นต่ากว่าการสร้างลูกค้ารายใหม่มาก เพราะลูกค้าเก่าย่อมมีความเข้าใจและเุื่อถือในตัวสินค้าหรือองคชกรนั้น ๆ
อยู่แล้ว
การทบทวนวรรณกรรม
 4. ความภักดีต่อตราสินค้า หมายถึง ทัศนคติเุิงบวกที่มีต่อตราสินค้านาไปสู่พฤติกรรมการซื้อซ้าหรือสนับสนนสินค้าหรือบริการอย่างต่อเนื่อง เป็นผลอันเนื่องมาจากผู้บริโภคได้เรียนรู้
ว่าตราสินค้าดังกล่าวสามารถตอบสนองความต้องการของตนเองได้จึงมีความเุื่อมั่นในการซื้อซ้าอย่างต่อเนื่อง
แนวคิดแรกเุื่อว่า ความภักดีต่อตราสินค้าของผู้บริโภคเป็นผลมาจากพฤติกรรมการซื้อเพียงตราสินค้าเดียวเป็นระยะเวลานาน กล่าวคือพฤติกรรมการซื้อซ้าของผู้บริโภคจะเป็นผลมาจาก
การสะท้อนของแรงเสริมที่ได้รับและตัวกระต้นทางการตลาด แนวคิดนี้เรียกว่า Stochastic Model คือ การแสดงแนวโน้มที่น่าจะเกิดขึ้นของพฤติกรรมการซื้อ เมื่อความต้องการของ
ผู้บริโภคได้รับการตอบสนอง ผู้บริโภคก็จะแสดงพฤติกรรมเุ่นนั้นต่อไปเรื่อยๆ
แนวคิดที่สองเุื่อว่า ความภักดีต่อตราสินค้าตั้งอยู่บนพื้น์านของกระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภคมากกว่าที่จะมองจากพฤติกรรมของผู้บริโภคเพียงอย่างเดียว แนวคิดนี้เรียกว่า
Deterministic Model โดยความภักดีต่อตราสินค้าเป็นผลจากความสัมพันธชระหว่างตัวแปรหรือปัจจัยที่มีอิทธิพลที่ทาให้เกิดพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อ ซึ่งมีราก์านมาจาก
ความสัมพันธชเหล่านั้น
การทบทวนวรรณกรรม
▪ 4.1 มีรายได้เติบโตซึ่งเป็นผลมาจากการซื้อซ้าหรือแนะนาต่อ
▪ 4.2 ต้นทนลดลงเนื่องจากค่าใุ้จ่ายในการหาลูกค้าลดลง รวมทั้งจากประสิทธิภาพในการดูแลลูกค้าที่มีประสบการณชแล้ว
▪ 4.3 อัตราการธารงรักษาพนักงานที่เพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากความภูมิใจและความพึงพอใจในงานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งทาให้เกิดเป็นวงจรที่ส่งเสริมความภักดีของลูกค้า ุ่วยให้ต้นทนลดลงค่าจ้าง
และค่าฝึกอบรมพนักงานลดลง ในขณะที่ผลผลิตเพิ่มสูงขึ้น
อังคณา จาปาทอง (2552) ได้ศึกษาเรื่องความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชและความภักดีต่อตราสินค้า:
กรณีศึกษาอตสาหกรรมโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS, DTAC และ TRUE MOVE เป็นการวิจัยเุิงปริมาณและใุ้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกล่มตัวอย่างผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS, DTAC และ TRUE MOVE ในเขตกรงเทพมหานคร
จานวน 420 ุด โดยมีวัตถประสงคชเพื่อทราบความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS,
DTACและ TRUE MOVE เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการ
โทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS, DTAC และ TRUEMOVE เพื่อศึกษาความภักดีต่อตราสินค้าและศึกษาความสัมพันธชระหว่างความพึงพอใจใน
ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ 3ตราสินค้ากับความภักดีต่อตราสินค้าของผู้ใุ้บริการ ผลการวิจัย
พบว่าความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่AIS, DTAC และ TRUE MOVE โดยรวมอยู่ใน
ระดับมาก โดยมีความพึงพอใจทั้งด้านพนักงานโดยรวมและบริการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ความภักดีต่อตราสินค้าโดยรวมทั้ง 3 ตรา
สินค้า AIS, DTAC และ TRUE MOVE มีความภักดีต่อตราสินค้าโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความภักดีต่อตราสินค้าทั้งด้านทัศนคติ
โดยรวมและด้านพฤติกรรมโดยรวมอยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่
TRUE MOVE แตกต่าง240 Humanities Journal Vol.22, No.1 (January-June 2015)จากทั้ง AIS และ DTAC ขณะที่ความพึง
พอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS และ DTAC ไม่แตกต่างกัน ความพึงพอใจในศูนยชบริการ
ตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS, DTACและ TRUE MOVE มีความสัมพันธชเุิงบวกในระดับปานกลาง
ค่อนข้างสูงกับความภักดีต่อตราสินค้า
วิจัยที่เกี่ยวข ้อง.
วิจัยที่เกี่ยวข ้อง.
วิเศษพรรณ เลาหวนิุ (2553) ได้ศึกษาเรื่องทัศนคติและความพึงพอใจที่มีผลต่อระดับความภักดีต่อตราสินค้าของโทรศัพทชมือถือ
ไอโฟน (iPhone) ในเขตกรงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเุิงปริมาณโดยทาการสารวจและเก็บข้อมูลโดยการใุ้แบบสอบถาม จานวน
400 ุด โดยมีวัตถประสงคชเพื่อศึกษาความสัมพันธชระหว่างทัศนคติ ความพึงพอใจโดยเลือกใุ้หลักส่วนประสมทางการตลาดมาเป็น
ปัจจัยในการวัดความพึงพอใจและความภักดีต่อตราสินค้ารวมถึงศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อระดับความภักดีต่อตราสินค้าตลอดจน
พฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพทชมือถือไอโฟนของผู้บริโภค ผลการวิจัยพบปัจจัยด้านประุากรศาสตรชที่แตกต่างกันจะมีผลต่อระดับความ
คิดเห็นทางด้านทัศนคติ ด้านความพึงพอใจ และความภักดีในตราสินค้าด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างกันข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธชระหว่าง
ปัจจัยด้านทัศนคติและความพึงพอใจที่มีต่อความภักดีต่อตราสินค้า พบว่าปัจจัยด้านความพึงพอใจของผู้บริโภค ด้านการส่งเสริม
การตลาดด้านราคา มีอิทธิพลต่อความภักดีต่อตราสินค้าของผู้บริโภคอย่างมาก รองลงมาจะเป็นปัจจัยด้านทัศนคติด้านผลลัพธชที่ได้ใุ้
งาน ด้านราคา และด้านตราสินค้าตามลาดับ
วิธีการวิจัย
ประุากรและกล่มตัวอย่างที่ใุ้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ประุากรในเขตกรงเทพมหานครที่เป็นผู้ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชของธนาคารพาณิุยชอย่างน้อย
1 สินเุื่อ และเป็นผู้ที่เคยใุ้บริการของศูนยชตอบรับทางโทรศัพทชของตราสินค้าที่ตนเป็นลูกค้าสินเุื่ออยู่อย่างน้อย 1 ครั้ง ขนาดของกล่มตัวตัวอย่างโดยไม่ทราบ
จานวนประุากรอาศัยสูตรของ Taro Yamane ที่ระดับความเุื่อมั่นร้อยละ 95 โดยให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกินร้อยละ ±5 ได้กล่มตัวอย่างประมาณ
400 คน
วิธีการส่มกล่มตัวอย่าง 1) ส่มแบบุั้นภูมิ (stratified Sampling) โดยในเขตกรงเทพมหานครแบ่งออกเป็น 3 เขตการปกครอง ได้แก่ เขตุั้นใน
เขตุั้นกลาง และเขตุั้นนอก 2) ใุ้การส่มอย่างง่าย (Sample Random Sampling) โดยใุ้วิธีจับฉลากเพื่อเลือกเขต โดยจะจับฉลากเลือกกล่มละ
2 เขต ดังนั้นจะได้กล่มตัวอย่างทั้งหมด 6 เขต ดังนี้เขตุั้นใน ได้แก่ ปทมวัน บางซื่อ เขตุั้นกลาง ได้แก่บางกะปิ ลาดพร้าว เขตุั้นนอก ได้แก่ หลักสี่
บางขนเทียน 3) ใุ้วิธีส่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) โดยเก็บข้อมูลจากกล่มตัวอย่างที่อาศัยหรือท างานใน 6 เขตที่ได้จากการ
จับฉลากเขตละ 67 คน
วิธีการวิจัย
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งจะประกอบด้วยคาถามปลายปิดเป็นหลัก (Close-Ended Question) และมี
โครงสร้างของแบบสอบถามที่เหมือนกันคือ ประกอบด้วย 4 ส่วน ดังต่อไปนี้
ส่วนที่1 คาถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบคคล ได้แก่เพศ อาย ระดับการศึกษา อาุีพ และรายได้
ส่วนที่2 คาถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการสื่อสารการใุ้บริการของศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชได้แก่ การใุ้บริการ
ส่วนที่3 คาถามเกี่ยวกับความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช
ส่วนที่4 คาถามเกี่ยวกับความภักดีต่อตราสินค้าของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการแจก
แบบสอบถาม โดยเลือกสถานที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกล่มตัวอย่างตามแหล่งโุวชรูมขายรถหรือเต้นทชรถมือสอง ศูนยชบริการตรวจสภาพรถหรือใน
ห้างสรรพสินค้าในส่วนระหว่างทางเุื่อมลานจอดรถและประตูทางเข้าห้างและแหล่งออฟฟิตในเขตพื้นที่ที่จับฉลากได้โดยผู้วิจัยดาเนินการขออนญาตจาก
ผู้จัดการโุวชรูมหรือเต้นทชรถมือสอง ศูนยชบริการตรวจสภาพรถ และผู้จัดการห้างสรรพสินค้า เพื่อเก็บข้อมูลจากผู้ที่มาใุ้บริการ
ผลการวิจัย
ตารางแสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตร์าน และดับพฤติกรรมการสื่อสาร ความพึง
พอใจและความภักดีต่อตราสินค้าของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช
 ผลการวิจัยเรื่องความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้าที่มีต่อ
ตราสินค้าของศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชในอตสาหกรรม
สินเุื่อรถยนตชในกรงเทพมหานคร สรปผลได้ดังนี้
ณั์พัุรชล้อประดิษ์ชพงษช. 2549
ผลการวิจัย
ตารางแสดงความสัมพันธชระหว่างพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทาง
โทรศัพทชและความพึงพอใจ และความภักดีต่อตราสินค้าของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช
และความสัมพันธชระหว่างความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้
บริการสินเุื่อรถยนตชกับความภักดีต่อตราสินค้า
ตารางแสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับ
ทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชจาแนกตามปัจจัยส่วนบคคล
วิเศษพรรณ เลาหวนิุ. 2553.
สรุปและอภิปรายผล
จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า พฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนย์บริการตอบรับ
ทางโทรศัพท์นั้น สามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าได้ และเมื่อลูกค้าที่
ได้รับการให้บริการจากศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์มีความพึงพอใจก็จะ
นาไปสู่การสร้างความภักดีต่อตราสินค้า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการกาหนดและ
พัฒนากลยุทธ์ของศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์ให้มีประสิทธิภาพในการ
ให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจและความภักดีให้กับตราสินค้าต่อไป
การอภิปรายผล
กล่มตัวอย่างผู้ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชของธนาคารพาณิุยชมีความพึงพอใจโดยรวมในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชโดยรวมในระดับปานกลางซึ่งพิพัฒนช
ก้องกิจกล (2546) กล่าวว่า ความพึงพอใจของลูกค้า คือ ลูกค้าจะเกิดความพึงพอใจ เมื่อสินค้าหรือบริการตรงกับความต้องการ หรือเกินความคาดหมายของ
พวกเขา ซึ่งการที่ลูกค้าของผู้ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชของธนาคารพาณิุยชเกิดความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชในระดับปานกลางนั้น เป็นผลมา
จากการที่ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของสินเุื่อรถยนตชสามารถที่จะตอบสนองการบริการได้ตรงกับความต้องการหรือเกินความคาดหมายของลูกค้าได้
นั่นเอง และจิตตินันทชเดุะคปตช(2551) กล่าวว่า การบริการ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งของบคคลหรือองคชการ เพื่อ
ตอบสนองความต้องการของบคคลอื่น และก่อให้เกิดความพึงพอใจจากผลของการกระทานั้น ผู้ให้บริการสินเุื่อรถยนตชของธนาคารพาณิุยชจึงต้องนากลยทธช
การบริการมาใุ้ในการสร้างความสัมพันธชกับลูกค้า เพื่อสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้าและรักษาลูกค้าเดิมรวมทั้งสามารถเพิ่มลูกค้าใหม่ๆ ได้เุ่นกัน
การอภิปรายผล
ทีุ่ื่นจิตตชแจ้งเจนกิจ (2546) กล่าวว่า ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชเป็นเครื่องมือทางการตลาดประเภทหนึ่งที่สามารถนาามาสร้างความสัมพันธชกับ
ลูกค้า ทั้งที่เป็นลูกค้าปัจจบัน ลูกค้าเก่า และลูกค้าคาดหวังเนื่องจากลูกค้าส่วนใหญ่จะให้การตอบสนองในทางบวกอยู่แล้วกับศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทช
ทาให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชจึงเป็นุ่องที่ใุ้สร้างความสัมพันธชกับลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และศูนยชบริการตอบรับทาง
โทรศัพทชยังเป็นุ่องทางการติดต่อทางโทรศัพทชที่สะดวกและได้รับความนิยม รวดเร็ว และประหยัดค่าใุ้จ่าย เมื่อลูกค้ามีความพึงพอใจก็จะเกิดพฤติกรรมการ
ซื้อหรือใุ้บริการซ้า ๆ ซึ่งนาไปสู่ความภักดีต่อตราสินค้าดังที่ Assael (2004) กล่าวว่า ความภักดีต่อตราสินค้า หมายถึง ทัศนคติในเุิงบวกที่มีต่อตราสินค้า
ซึ่งนาไปสู่การซื้อสินค้านั้นอย่างต่อเนื่อง เป็นผลจากการเรียนรู้ของผู้บริโภคว่าสินค้านั้นสามารถตอบสนองความต้องการได้และสอดคล้องกับ ณั์พัุรชล้อ
ประดิษ์ชพงษช (2549) ที่ได้กล่าวว่า หากสามารถทาให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจในแต่ละครั้งที่มาใุ้บริการได้อย่างต่อเนื่อง ความภักดีของลูกค้าจะค่อยๆ เกิดขึ้น
โดยไม่รู้ตัวนั่นเอง โดยพิจารณาจากการซื้อซ้าเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ
การอภิปรายผล
ในด้านปัจจัยส่วนบคคลนั้นรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช
แตกต่างกัน โดยผู้มีรายได้น้อยจะมีความถี่ในการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชมากกว่าผู้ที่มีรายได้มาก สามารถอธิบายได้คือ ผู้ที่มีรายได้น้อย
เมื่อเกิดเหตจาเป็นในการใุ้เงินจะมีความจาเป็นในการใุ้บริการสินเุื่อมากกว่าผู้ที่มีรายได้จึงเป็นเหตผลที่ทาให้มีการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทาง
โทรศัพทชมาก ซึ่งผลลัพธชสอดคล้องกับงานวิจัยของศภกิจ ์ิตญาโณ (2555)ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชของลูกค้าธนาคารเกียรติ
นาคิน จากัด (มหาุน) สาขาเุียงใหม่ พบว่า รายได้รวมเฉลี่ยมีความสัมพันธชกับวงเงินที่ได้รับสินเุื่อ และพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทาง
โทรศัพทชยังมีความสัมพันธชเุิงบวกกับความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของปทมมาศ แสงแก้วสข (2553) ศึกษาเรื่อง
ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการบริการของธนาคารกรงศรีอยธยา จากัด (มหาุน) สาขานนทบรีพบว่า ลูกค้าส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง
และจะแนะนาญาติเพื่อน หรือคนรู้จักมาใุ้บริการของธนาคารกรงศรีอยธยา จ ากัด (มหาุน) สาขานนทบรี ซึ่งนอกจากความพึงพอใจจะทาให้มีการกลับมาใุ้
บริการซ้าแล้ว ยังเป็นการุักจูงให้ลูกค้ามีการบอกต่อและุักุวนบคคลรอบข้างมาใุ้บริการอีกด้วยและความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของ
ลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชมีความสัมพันธชกับความภักดีต่อบริษัทสินเุื่อรถยนตชพบว่าความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชโดยรวมมี
ความสัมพันธชเุิงบวกกับความภักดีต่อบริษัทสินเุื่อรถยนตชโดยรวม
ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยครั้งนี้ไปใุ้
1.1 ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถบ่งุี้ให้เห็นถึงการสร้างความพึงพอใจและความภักดีต่อบริษัทสินเุื่อรถยนตช เพื่อให้เกิดการซื้อซ้าหรือแนะนาต่อ ถือเป็นการเสริมสร้างพฤติกรรมการ
ใุ้บริการสินเุื่อของบริษัท
1.2 กล่มเป้าหมายของบริษัทควรม่งเน้นไปที่กล่มผู้มีรายได้น้อยเนื่องจากเป็นกล่มที่มีพฤติกรรมการใุ้บริการศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชมากที่สด เุ่น การออกสินค้า หรือ
บริการที่เน้นเจาะกล่มผู้มีรายได้น้อย อย่างไรก็ตามควรมีการพิจารณาถึงความเสี่ยงที่เหมาะสมด้วย
2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการศึกษาในระดับอื่น ๆ เพื่อสามารถเข้าใจถึงพฤติกรรมการใุ้บริการศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อ
รถยนตช เุ่น ปัจจัยการตลาด 7P, ปัจจัย Five force เป็นต้น รวมถึงศึกษาเปรียบเทียบกับกล่มตัวอย่างที่ใุ้บริการสินเุื่ออื่น ๆ เุ่น สินเุื่อที่อยู่อาศัย สินเุื่ออเนกประสงคช
เป็นต้นเพื่อให้สามารถเข้าใจถึงพฤติกรรมและความสัมพันธชของสินเุื่อแต่ละประเภทและสามารถนาไปประยกตช ปรับใุ้ให้เกิดความเหมาะสมได้ต่อไป
เอกสารอ้างอิง
ความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้าที่มีต่อตราสินค้าของศูนย์บริการตอบรับทาง
โทรศัพท์ในอุตสาหกรรมสินเชื่อรถยนต์ในกรุงเทพมหานคร
โดย มณฑิรา ศรีด้วง , ณัฏฐ์์ชุดา วิจิตรจามรี
วารสารมนุษยศาสตร์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2558)หน้า 231 - 251
AIM2201
กลุ่มเรียน (003)
กลยุทธ์การบริหารตราผลิตภัณฑ์
จัดทาโดย
นางสาวชุติภา สุนันทาภรณ์ รหัส 62123322116
เสนอ
อ.ดร.ดุษฎี นิลดา

More Related Content

Similar to Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loan industry in bangkok

Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้าCustomer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
maruay songtanin
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
Sirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
Sirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
Sirirat Yimthanom
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศ
Naresuan University Library
 
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
ssuseracfe91
 
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
LoRy7
 
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazadaปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
ssuser2a5292
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
Sirirat Yimthanom
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
thnaporn999
 
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทยAIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
Tanyaluk Promnoi Maew
 

Similar to Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loan industry in bangkok (20)

Customer loyalty
Customer loyaltyCustomer loyalty
Customer loyalty
 
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้าCustomer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
Customer from role models การมุ่งเน้นลูกค้า
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)
งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)
งานนำเสนอบทความวิจัย (ขรรค์ชัย 2065)
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศ
 
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
อิทธิพลของส่วนประสมทางการตลาดบริการต่อคุณค่าตราสินค้า ความพึงพอใจ และความภักด...
 
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
A consumer perception on the car tyre brands in maesai district, chiang rai p...
 
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2Case Study : Customer Centric & Lead User 2
Case Study : Customer Centric & Lead User 2
 
Voice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้าVoice of customer เสียงของลูกค้า
Voice of customer เสียงของลูกค้า
 
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazadaปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ซื้อสินค้า ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์บน Lazada
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
Perceptions 040
Perceptions 040Perceptions 040
Perceptions 040
 
Maetaporn
MaetapornMaetaporn
Maetaporn
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
กลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher marketกลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher market
 
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทยAIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
 

Customer satisfaction and loyalty to the brand of call center in the auto loan industry in bangkok

  • 1. ความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้าที่มีต่อตราสินค้า ของศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์ในอุตสาหกรรม สินเชื่อรถยนต์ในกรุงเทพมหานคร มณฑิรา ศรีด้วง , ณัฏฐ์ชุดา วิจิตรจามรี นิสิตระดับปริญญามหาบัณฑิต ภาควิุานิเทศศาสตรชและสารสนเทศศาสตรชคณะมนษยศาสตรช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรช. ผูุ้่วยศาสตราจารยชประจาภาควิุานิเทศศาสตรชและสารสนเทศศาสตรชคณะมนษยศาสตรช มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรช.
  • 2. การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเุิงปริมาณ มีวัตถประสงคชเพื่อศึกษาพฤติกรรมการสื่อสาร ความพึงพอใจและความ ภักดีของลูกค้า และความแตกต่างของพฤติกรรมการสื่อสาร ซึ่งจาแนกตามปัจจัยส่วนบคคลตลอดจนความสัมพันธช ระหว่างพฤติกรรมการสื่อสารความพึงพอใจและความภักดีต่อตราสินค้าที่ลูกค้าใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช โดยใุ้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากกล่มตัวอย่างจานวน 402 คน บทคัดย่อ
  • 3. บทนา ในปัจจบันสภาพสังคมมีการแข่งขันสูง องคชกรธรกิจต่าง ๆ สามารถพัฒนามาตร์านสินค้าให้มีคณภาพเท่าเทียมหรือเหนือกว่าคู่ แข่งขันได้โดยไม่ยาก เนื่องจากมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการผลิต จึงสามารถผลิตสินค้าได้อย่างรวดเร็วและมีความเหมือนกันของตัว สินค้า การดาเนินธรกิจจึงต้องม่งเน้นไปที่การบริการที่สามารถเอาุนะใจลูกค้าได้ ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชจึงเป็นุ่องทางที่ หน่วยงานจัดตั้งขึ้นเพื่อให้บริการลูกค้าผ่านทางโทรศัพทช โดยมีวัตถประสงคชเพื่อตอบสนองความต้องการในด้านข้อมูลของสินค้าและ บริการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพด้านบริการและสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้า และศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชยังมีบทบาทที่ทาให้ลูกค้า เกิดความประทับใจรวมทั้งการตัดสินใจซื้อ และยังสร้างภาพลักษณชที่ดีให้กับธรกิจอีกด้วย (สวิภา บษยบัณฑูร , 2556) ดังนั้นเพื่อให้สินเุื่อ รถยนตชโตตามเป้าหมายธนาคารหรือกล่มบริษัทต่าง ๆ ที่ให้บริการสินเุื่อรถยนตชจะต้องเน้นทาตลาดสินเุื่อรถยนตชมือสอง (Used car) และสินเุื่อจานาทะเบียนรถยนตช (Car forcash) ให้คึกคักและรนแรงมากขึ้น เพื่อให้ลูกค้าหันมาใุ้บริการสินเุื่อดังกล่าวมากขึ้น เพราะ ธนาคารต่างต้องการรายได้อย่างต่อเนื่อง
  • 4. บทนา ดังนั้นแต่ละบริษัทต้องแข่งขันกันเรื่องดอกเบี้ยที่มีราคาถูกกว่าคู่แข่ง การจัดรายการส่งเสริมการขาย ตลอดจนการสร้างการบริการที่เป็นเลิศ เพื่อตอบสนอง ความพึงพอใจของลูกค้า และเพื่อเอาุนะใจลูกค้าให้ได้จึงถือว่าเป็นสิ่งสาคัญ ทั้งนี้สิ่งหนึ่งที่ผู้ให้บริการสินเุื่อต่างให้ความสาคัญก็คือ การสร้างความพึงพอใจให้ ลูกค้าและรักษาลูกค้าในปัจจบันให้มีความภักดีต่อสินค้าของตนวิธีการที่สามารถสร้างความสัมพันธชกับลูกค้าเพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจคือการบริหารลูกค้า สัมพันธช (Customer Relationship Management หรือ CRM)โดยเฉพาะอย่างยิ่งการบริหารลูกค้าสัมพันธชผ่านทางศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทช เนื่องด้วยศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการให้ข้อมูลสินค้าหรือบริการแก่ลูกค้าผ่านทางระบบโทรศัพทชโดยอาศัยบคคลหรืออปกรณช ระบบ Voice Processing ที่มี์านข้อมูลลูกค้าคอยตอบรับความต้องการของลูกค้าทกประเด็น โดยไม่มีเงื่อนไขเวลา คือ สามารถให้บริการลูกค้าได้ตลอด 24 ุั่วโมง (กัญจนา พัฒนวรพันธช, 2547) จึงส่งผลให้ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชมีความสาคัญมากขึ้น เพราะเมื่อลูกค้าต้องการทราบข้อมูลหรือการบริการต่าง ๆ ลูกค้าก็จะสามารถติดต่อเข้ามาที่ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชได้ตลอด 24 ุั่วโมง
  • 5. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบถึงพฤติกรรมการสื่อสารและความแตกต่างของพฤติกรรมการสื่อสารของลูกค้าผ่านศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของ สินเุื่อรถยนตชซึ่งจาแนกตามปัจจัยส่วนบคคล 2. เพื่อทราบความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชและความภักดีต่อตราสินค้าของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช 3. เพื่อทราบพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชที่มีความสัมพันธชกับความพึงพอใจและมีความสัมพันธชต่อ ความภักดีของลูกค้าที่ใุ้บริการศูนยชตอบรับทางโทรศัพทชของสินเุื่อรถยนตช 4. เพื่อทราบถึงความสัมพันธชระหว่างความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชกับความ ภักดีต่อตราสินค้า
  • 6. การทบทวนวรรณกรรม  1. การบริหารลูกค้าสัมพันธช (Customer Relationship Management หรือCRM) หมายถึง แนวทางขององคชกรที่พยายามเข้าถึงและโน้มน้าวพฤติกรรม ของลูกค้าผ่านการสื่อสารที่มีความหมาย เพื่อปรับปรงอัตราการหาลูกค้าใหม่อัตราการรักษาลูกค้า อัตราลูกค้าที่มีความภักดี และลูกค้าที่สามารถสร้างผลกาไรสูงให้แก่บริษัท วัตถประสงคชของโปรแกรมการบริหารลูกค้าสัมพันธช ุื่นจิตตชแจ้งเจนกิจ (2546) กล่าวว่า การจัดโปรแกรมการบริหารลูกค้าสัมพันธชใด ๆ ก็ตามไม่ว่าจะเป็นการส่งข่าวสารน่ารู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑชไปให้ลูกค้าที่บ้านพร้อมด้วยคูปองส่วนลด หรือแลกรับตัวสินค้าในบางุ่วงโอกาส การจัดโปรแกรมการฝึกอบรมเลี้ยงดูบตรแก่คณแม่คนใหม่ที่โรงพยาบาลจัดโดยนิตยสารรักลูกร่วมกับโรงพยาบาลต่าง ๆ การจัดแคมเปญสะสม แต้มหรือสติ๊กเกอรชตามยอดการซื้อสินค้าหรือบริการ เป็นต้น ล้วนแต่มีวัตถประสงคชสาคัญดังนี้
  • 7. การทบทวนวรรณกรรม ▪ 1.1 เพื่อเพิ่มยอดขายสินค้าหรือบริการของบริษัทอย่างต่อเนื่องในุ่วงเวลาหนึ่ง ▪ 1.2 เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีต่อสินค้าหรือการบริการและบริษัท ทาให้ลูกค้าทราบวิธีการใุ้สินค้าอย่างถูกต้อง สามารถจดจาและมีภาพลักษณชที่ดีต่อบริษัทและสินค้าหรือการ บริการของบริษัทในระยะยาว ▪ 1.3 เพื่อให้ลูกค้ามีความภักดีต่อบริษัทและสินค้า หรือการบริการของบริษัท โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่บริษัทมีสินค้าจาหน่ายหลายผลิตภัณฑชการที่ลูกค้าซื้อสินค้าของ บริษัทในสายผลิตภัณฑชหนึ่งแล้วรู้สึกประทับใจในทางบวก โอกาสที่บริษัทจะเสนอขายสินค้าในสายผลิตภัณฑชอื่นได้สาเร็จก็จะมีมากขึ้น ▪ 1.4 เพื่อให้ลูกค้าแนะนาสินค้าหรือการบริการต่อไปยังผู้อื่น เกิดการพูดแบบปากต่อปาก (Words-of-mouth) ในทางบวกเกี่ยวกับสินค้า ซึ่งมีความน่าเุื่อถือมากกว่า ในโฆษณา และเมื่อสินค้าหรือการบริการของบริษัทถูกโจมตีจากผู้อื่น ลูกค้าุั้นดีของบริษัทเหล่านี้เองที่จะทาหน้าที่เป็นกระบอกเสียงปกป้องุื่อเสียงของบริษัทและสินค้า หรือการบริการของบริษัท
  • 8. การทบทวนวรรณกรรม  2. ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทช หมายถึง ุ่องทางที่หน่วยงานจัดตั้งขึ้นโดยให้บริการลูกค้าผ่านทางโทรศัพทช โดยใุ้ทรัพยากรบคคลที่มีความรู้ความสามารถควบคู่กับการใุ้ ์านข้อมูลในระบบคอมพิวเตอรช โดยมีวัตถประสงคชเพื่อตอบสนองความต้องการในด้านข้อมูลของสินค้าและบริการ และพร้อมกันนั้นต้องคานึงถึงการให้บริการลูกค้าได้ตลอด 24 ุั่วโมง และตลอดทั้ง 7 วัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและความพึงพอใจของลูกค้า  3. ความพึงพอใจของลูกค้า หมายถึง ความรู้สึกที่มีต่อสินค้าและบริการซึ่งมีทั้งด้านบวกและด้านลบ เกิดจากการเปรียบเทียบต่อสิ่งที่ได้จากสินค้าและบริการกับความคาดหวัง ▪ 3.1 ลูกค้าจะซื้อสินค้าบ่อยขึ้นและสร้างความภักดีต่อตราสินค้าขององคชกรในระยะยาว ▪ 3.2 ลูกค้าจะุ่วยกระจายข่าวสารและเสริมสร้างภาพลักษณชที่ดีต่อองคชกร ▪ 3.3 ลูกค้าจะุักนาผู้ซื้อรายใหม่ๆ แก่องคชกร ▪ 3.4 ลูกค้าจะไม่อ่อนไหวต่อการโฆษณาหรือโปรแกรมการส่งเสริมการขายของคู่แข่งขันขณะเดียวกันอาจให้ข้อเสนอแนะและข้อมูลต่างๆ แก่องคชกร ▪ 3.5 ต้นทนในการเสนอสินค้าหรือบริการแก่ลูกค้าเก่าหรือลูกค้าประจานั้นต่ากว่าการสร้างลูกค้ารายใหม่มาก เพราะลูกค้าเก่าย่อมมีความเข้าใจและเุื่อถือในตัวสินค้าหรือองคชกรนั้น ๆ อยู่แล้ว
  • 9. การทบทวนวรรณกรรม  4. ความภักดีต่อตราสินค้า หมายถึง ทัศนคติเุิงบวกที่มีต่อตราสินค้านาไปสู่พฤติกรรมการซื้อซ้าหรือสนับสนนสินค้าหรือบริการอย่างต่อเนื่อง เป็นผลอันเนื่องมาจากผู้บริโภคได้เรียนรู้ ว่าตราสินค้าดังกล่าวสามารถตอบสนองความต้องการของตนเองได้จึงมีความเุื่อมั่นในการซื้อซ้าอย่างต่อเนื่อง แนวคิดแรกเุื่อว่า ความภักดีต่อตราสินค้าของผู้บริโภคเป็นผลมาจากพฤติกรรมการซื้อเพียงตราสินค้าเดียวเป็นระยะเวลานาน กล่าวคือพฤติกรรมการซื้อซ้าของผู้บริโภคจะเป็นผลมาจาก การสะท้อนของแรงเสริมที่ได้รับและตัวกระต้นทางการตลาด แนวคิดนี้เรียกว่า Stochastic Model คือ การแสดงแนวโน้มที่น่าจะเกิดขึ้นของพฤติกรรมการซื้อ เมื่อความต้องการของ ผู้บริโภคได้รับการตอบสนอง ผู้บริโภคก็จะแสดงพฤติกรรมเุ่นนั้นต่อไปเรื่อยๆ แนวคิดที่สองเุื่อว่า ความภักดีต่อตราสินค้าตั้งอยู่บนพื้น์านของกระบวนการเรียนรู้ของผู้บริโภคมากกว่าที่จะมองจากพฤติกรรมของผู้บริโภคเพียงอย่างเดียว แนวคิดนี้เรียกว่า Deterministic Model โดยความภักดีต่อตราสินค้าเป็นผลจากความสัมพันธชระหว่างตัวแปรหรือปัจจัยที่มีอิทธิพลที่ทาให้เกิดพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อ ซึ่งมีราก์านมาจาก ความสัมพันธชเหล่านั้น
  • 10. การทบทวนวรรณกรรม ▪ 4.1 มีรายได้เติบโตซึ่งเป็นผลมาจากการซื้อซ้าหรือแนะนาต่อ ▪ 4.2 ต้นทนลดลงเนื่องจากค่าใุ้จ่ายในการหาลูกค้าลดลง รวมทั้งจากประสิทธิภาพในการดูแลลูกค้าที่มีประสบการณชแล้ว ▪ 4.3 อัตราการธารงรักษาพนักงานที่เพิ่มขึ้นเป็นผลมาจากความภูมิใจและความพึงพอใจในงานที่เพิ่มขึ้น ซึ่งทาให้เกิดเป็นวงจรที่ส่งเสริมความภักดีของลูกค้า ุ่วยให้ต้นทนลดลงค่าจ้าง และค่าฝึกอบรมพนักงานลดลง ในขณะที่ผลผลิตเพิ่มสูงขึ้น
  • 11. อังคณา จาปาทอง (2552) ได้ศึกษาเรื่องความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชและความภักดีต่อตราสินค้า: กรณีศึกษาอตสาหกรรมโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS, DTAC และ TRUE MOVE เป็นการวิจัยเุิงปริมาณและใุ้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกล่มตัวอย่างผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS, DTAC และ TRUE MOVE ในเขตกรงเทพมหานคร จานวน 420 ุด โดยมีวัตถประสงคชเพื่อทราบความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS, DTACและ TRUE MOVE เพื่อศึกษาความแตกต่างระหว่างความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการ โทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS, DTAC และ TRUEMOVE เพื่อศึกษาความภักดีต่อตราสินค้าและศึกษาความสัมพันธชระหว่างความพึงพอใจใน ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ 3ตราสินค้ากับความภักดีต่อตราสินค้าของผู้ใุ้บริการ ผลการวิจัย พบว่าความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่AIS, DTAC และ TRUE MOVE โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก โดยมีความพึงพอใจทั้งด้านพนักงานโดยรวมและบริการ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ความภักดีต่อตราสินค้าโดยรวมทั้ง 3 ตรา สินค้า AIS, DTAC และ TRUE MOVE มีความภักดีต่อตราสินค้าโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความภักดีต่อตราสินค้าทั้งด้านทัศนคติ โดยรวมและด้านพฤติกรรมโดยรวมอยู่ในระดับมาก ความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ TRUE MOVE แตกต่าง240 Humanities Journal Vol.22, No.1 (January-June 2015)จากทั้ง AIS และ DTAC ขณะที่ความพึง พอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS และ DTAC ไม่แตกต่างกัน ความพึงพอใจในศูนยชบริการ ตอบรับทางโทรศัพทชของผู้ใุ้บริการโทรศัพทชเคลื่อนที่ AIS, DTACและ TRUE MOVE มีความสัมพันธชเุิงบวกในระดับปานกลาง ค่อนข้างสูงกับความภักดีต่อตราสินค้า วิจัยที่เกี่ยวข ้อง.
  • 12. วิจัยที่เกี่ยวข ้อง. วิเศษพรรณ เลาหวนิุ (2553) ได้ศึกษาเรื่องทัศนคติและความพึงพอใจที่มีผลต่อระดับความภักดีต่อตราสินค้าของโทรศัพทชมือถือ ไอโฟน (iPhone) ในเขตกรงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเุิงปริมาณโดยทาการสารวจและเก็บข้อมูลโดยการใุ้แบบสอบถาม จานวน 400 ุด โดยมีวัตถประสงคชเพื่อศึกษาความสัมพันธชระหว่างทัศนคติ ความพึงพอใจโดยเลือกใุ้หลักส่วนประสมทางการตลาดมาเป็น ปัจจัยในการวัดความพึงพอใจและความภักดีต่อตราสินค้ารวมถึงศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อระดับความภักดีต่อตราสินค้าตลอดจน พฤติกรรมการเลือกซื้อโทรศัพทชมือถือไอโฟนของผู้บริโภค ผลการวิจัยพบปัจจัยด้านประุากรศาสตรชที่แตกต่างกันจะมีผลต่อระดับความ คิดเห็นทางด้านทัศนคติ ด้านความพึงพอใจ และความภักดีในตราสินค้าด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างกันข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธชระหว่าง ปัจจัยด้านทัศนคติและความพึงพอใจที่มีต่อความภักดีต่อตราสินค้า พบว่าปัจจัยด้านความพึงพอใจของผู้บริโภค ด้านการส่งเสริม การตลาดด้านราคา มีอิทธิพลต่อความภักดีต่อตราสินค้าของผู้บริโภคอย่างมาก รองลงมาจะเป็นปัจจัยด้านทัศนคติด้านผลลัพธชที่ได้ใุ้ งาน ด้านราคา และด้านตราสินค้าตามลาดับ
  • 13.
  • 14. วิธีการวิจัย ประุากรและกล่มตัวอย่างที่ใุ้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ประุากรในเขตกรงเทพมหานครที่เป็นผู้ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชของธนาคารพาณิุยชอย่างน้อย 1 สินเุื่อ และเป็นผู้ที่เคยใุ้บริการของศูนยชตอบรับทางโทรศัพทชของตราสินค้าที่ตนเป็นลูกค้าสินเุื่ออยู่อย่างน้อย 1 ครั้ง ขนาดของกล่มตัวตัวอย่างโดยไม่ทราบ จานวนประุากรอาศัยสูตรของ Taro Yamane ที่ระดับความเุื่อมั่นร้อยละ 95 โดยให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้ไม่เกินร้อยละ ±5 ได้กล่มตัวอย่างประมาณ 400 คน วิธีการส่มกล่มตัวอย่าง 1) ส่มแบบุั้นภูมิ (stratified Sampling) โดยในเขตกรงเทพมหานครแบ่งออกเป็น 3 เขตการปกครอง ได้แก่ เขตุั้นใน เขตุั้นกลาง และเขตุั้นนอก 2) ใุ้การส่มอย่างง่าย (Sample Random Sampling) โดยใุ้วิธีจับฉลากเพื่อเลือกเขต โดยจะจับฉลากเลือกกล่มละ 2 เขต ดังนั้นจะได้กล่มตัวอย่างทั้งหมด 6 เขต ดังนี้เขตุั้นใน ได้แก่ ปทมวัน บางซื่อ เขตุั้นกลาง ได้แก่บางกะปิ ลาดพร้าว เขตุั้นนอก ได้แก่ หลักสี่ บางขนเทียน 3) ใุ้วิธีส่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) โดยเก็บข้อมูลจากกล่มตัวอย่างที่อาศัยหรือท างานใน 6 เขตที่ได้จากการ จับฉลากเขตละ 67 คน
  • 15. วิธีการวิจัย เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งจะประกอบด้วยคาถามปลายปิดเป็นหลัก (Close-Ended Question) และมี โครงสร้างของแบบสอบถามที่เหมือนกันคือ ประกอบด้วย 4 ส่วน ดังต่อไปนี้ ส่วนที่1 คาถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบคคล ได้แก่เพศ อาย ระดับการศึกษา อาุีพ และรายได้ ส่วนที่2 คาถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการสื่อสารการใุ้บริการของศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชได้แก่ การใุ้บริการ ส่วนที่3 คาถามเกี่ยวกับความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช ส่วนที่4 คาถามเกี่ยวกับความภักดีต่อตราสินค้าของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยจะดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการแจก แบบสอบถาม โดยเลือกสถานที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกล่มตัวอย่างตามแหล่งโุวชรูมขายรถหรือเต้นทชรถมือสอง ศูนยชบริการตรวจสภาพรถหรือใน ห้างสรรพสินค้าในส่วนระหว่างทางเุื่อมลานจอดรถและประตูทางเข้าห้างและแหล่งออฟฟิตในเขตพื้นที่ที่จับฉลากได้โดยผู้วิจัยดาเนินการขออนญาตจาก ผู้จัดการโุวชรูมหรือเต้นทชรถมือสอง ศูนยชบริการตรวจสภาพรถ และผู้จัดการห้างสรรพสินค้า เพื่อเก็บข้อมูลจากผู้ที่มาใุ้บริการ
  • 16. ผลการวิจัย ตารางแสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตร์าน และดับพฤติกรรมการสื่อสาร ความพึง พอใจและความภักดีต่อตราสินค้าของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช  ผลการวิจัยเรื่องความพึงพอใจและความภักดีของลูกค้าที่มีต่อ ตราสินค้าของศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชในอตสาหกรรม สินเุื่อรถยนตชในกรงเทพมหานคร สรปผลได้ดังนี้ ณั์พัุรชล้อประดิษ์ชพงษช. 2549
  • 17. ผลการวิจัย ตารางแสดงความสัมพันธชระหว่างพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทาง โทรศัพทชและความพึงพอใจ และความภักดีต่อตราสินค้าของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช และความสัมพันธชระหว่างความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้ บริการสินเุื่อรถยนตชกับความภักดีต่อตราสินค้า ตารางแสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับ ทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชจาแนกตามปัจจัยส่วนบคคล วิเศษพรรณ เลาหวนิุ. 2553.
  • 18. สรุปและอภิปรายผล จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า พฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนย์บริการตอบรับ ทางโทรศัพท์นั้น สามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าได้ และเมื่อลูกค้าที่ ได้รับการให้บริการจากศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์มีความพึงพอใจก็จะ นาไปสู่การสร้างความภักดีต่อตราสินค้า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการกาหนดและ พัฒนากลยุทธ์ของศูนย์บริการตอบรับทางโทรศัพท์ให้มีประสิทธิภาพในการ ให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจและความภักดีให้กับตราสินค้าต่อไป
  • 19. การอภิปรายผล กล่มตัวอย่างผู้ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชของธนาคารพาณิุยชมีความพึงพอใจโดยรวมในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชโดยรวมในระดับปานกลางซึ่งพิพัฒนช ก้องกิจกล (2546) กล่าวว่า ความพึงพอใจของลูกค้า คือ ลูกค้าจะเกิดความพึงพอใจ เมื่อสินค้าหรือบริการตรงกับความต้องการ หรือเกินความคาดหมายของ พวกเขา ซึ่งการที่ลูกค้าของผู้ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชของธนาคารพาณิุยชเกิดความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชในระดับปานกลางนั้น เป็นผลมา จากการที่ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของสินเุื่อรถยนตชสามารถที่จะตอบสนองการบริการได้ตรงกับความต้องการหรือเกินความคาดหมายของลูกค้าได้ นั่นเอง และจิตตินันทชเดุะคปตช(2551) กล่าวว่า การบริการ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการด าเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งของบคคลหรือองคชการ เพื่อ ตอบสนองความต้องการของบคคลอื่น และก่อให้เกิดความพึงพอใจจากผลของการกระทานั้น ผู้ให้บริการสินเุื่อรถยนตชของธนาคารพาณิุยชจึงต้องนากลยทธช การบริการมาใุ้ในการสร้างความสัมพันธชกับลูกค้า เพื่อสร้างความพึงพอใจให้ลูกค้าและรักษาลูกค้าเดิมรวมทั้งสามารถเพิ่มลูกค้าใหม่ๆ ได้เุ่นกัน
  • 20. การอภิปรายผล ทีุ่ื่นจิตตชแจ้งเจนกิจ (2546) กล่าวว่า ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชเป็นเครื่องมือทางการตลาดประเภทหนึ่งที่สามารถนาามาสร้างความสัมพันธชกับ ลูกค้า ทั้งที่เป็นลูกค้าปัจจบัน ลูกค้าเก่า และลูกค้าคาดหวังเนื่องจากลูกค้าส่วนใหญ่จะให้การตอบสนองในทางบวกอยู่แล้วกับศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทช ทาให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ ศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชจึงเป็นุ่องที่ใุ้สร้างความสัมพันธชกับลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และศูนยชบริการตอบรับทาง โทรศัพทชยังเป็นุ่องทางการติดต่อทางโทรศัพทชที่สะดวกและได้รับความนิยม รวดเร็ว และประหยัดค่าใุ้จ่าย เมื่อลูกค้ามีความพึงพอใจก็จะเกิดพฤติกรรมการ ซื้อหรือใุ้บริการซ้า ๆ ซึ่งนาไปสู่ความภักดีต่อตราสินค้าดังที่ Assael (2004) กล่าวว่า ความภักดีต่อตราสินค้า หมายถึง ทัศนคติในเุิงบวกที่มีต่อตราสินค้า ซึ่งนาไปสู่การซื้อสินค้านั้นอย่างต่อเนื่อง เป็นผลจากการเรียนรู้ของผู้บริโภคว่าสินค้านั้นสามารถตอบสนองความต้องการได้และสอดคล้องกับ ณั์พัุรชล้อ ประดิษ์ชพงษช (2549) ที่ได้กล่าวว่า หากสามารถทาให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจในแต่ละครั้งที่มาใุ้บริการได้อย่างต่อเนื่อง ความภักดีของลูกค้าจะค่อยๆ เกิดขึ้น โดยไม่รู้ตัวนั่นเอง โดยพิจารณาจากการซื้อซ้าเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ
  • 21. การอภิปรายผล ในด้านปัจจัยส่วนบคคลนั้นรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกันมีพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตช แตกต่างกัน โดยผู้มีรายได้น้อยจะมีความถี่ในการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชมากกว่าผู้ที่มีรายได้มาก สามารถอธิบายได้คือ ผู้ที่มีรายได้น้อย เมื่อเกิดเหตจาเป็นในการใุ้เงินจะมีความจาเป็นในการใุ้บริการสินเุื่อมากกว่าผู้ที่มีรายได้จึงเป็นเหตผลที่ทาให้มีการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทาง โทรศัพทชมาก ซึ่งผลลัพธชสอดคล้องกับงานวิจัยของศภกิจ ์ิตญาโณ (2555)ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชของลูกค้าธนาคารเกียรติ นาคิน จากัด (มหาุน) สาขาเุียงใหม่ พบว่า รายได้รวมเฉลี่ยมีความสัมพันธชกับวงเงินที่ได้รับสินเุื่อ และพฤติกรรมการสื่อสารผ่านศูนยชบริการตอบรับทาง โทรศัพทชยังมีความสัมพันธชเุิงบวกกับความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของปทมมาศ แสงแก้วสข (2553) ศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของลูกค้าต่อการบริการของธนาคารกรงศรีอยธยา จากัด (มหาุน) สาขานนทบรีพบว่า ลูกค้าส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง และจะแนะนาญาติเพื่อน หรือคนรู้จักมาใุ้บริการของธนาคารกรงศรีอยธยา จ ากัด (มหาุน) สาขานนทบรี ซึ่งนอกจากความพึงพอใจจะทาให้มีการกลับมาใุ้ บริการซ้าแล้ว ยังเป็นการุักจูงให้ลูกค้ามีการบอกต่อและุักุวนบคคลรอบข้างมาใุ้บริการอีกด้วยและความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของ ลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อรถยนตชมีความสัมพันธชกับความภักดีต่อบริษัทสินเุื่อรถยนตชพบว่าความพึงพอใจในศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชโดยรวมมี ความสัมพันธชเุิงบวกกับความภักดีต่อบริษัทสินเุื่อรถยนตชโดยรวม
  • 22. ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการนาผลการวิจัยครั้งนี้ไปใุ้ 1.1 ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถบ่งุี้ให้เห็นถึงการสร้างความพึงพอใจและความภักดีต่อบริษัทสินเุื่อรถยนตช เพื่อให้เกิดการซื้อซ้าหรือแนะนาต่อ ถือเป็นการเสริมสร้างพฤติกรรมการ ใุ้บริการสินเุื่อของบริษัท 1.2 กล่มเป้าหมายของบริษัทควรม่งเน้นไปที่กล่มผู้มีรายได้น้อยเนื่องจากเป็นกล่มที่มีพฤติกรรมการใุ้บริการศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชมากที่สด เุ่น การออกสินค้า หรือ บริการที่เน้นเจาะกล่มผู้มีรายได้น้อย อย่างไรก็ตามควรมีการพิจารณาถึงความเสี่ยงที่เหมาะสมด้วย 2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไปควรมีการศึกษาในระดับอื่น ๆ เพื่อสามารถเข้าใจถึงพฤติกรรมการใุ้บริการศูนยชบริการตอบรับทางโทรศัพทชของลูกค้าที่ใุ้บริการสินเุื่อ รถยนตช เุ่น ปัจจัยการตลาด 7P, ปัจจัย Five force เป็นต้น รวมถึงศึกษาเปรียบเทียบกับกล่มตัวอย่างที่ใุ้บริการสินเุื่ออื่น ๆ เุ่น สินเุื่อที่อยู่อาศัย สินเุื่ออเนกประสงคช เป็นต้นเพื่อให้สามารถเข้าใจถึงพฤติกรรมและความสัมพันธชของสินเุื่อแต่ละประเภทและสามารถนาไปประยกตช ปรับใุ้ให้เกิดความเหมาะสมได้ต่อไป