SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
หมอ้แปลงไฟฟ้า (Transformer) 
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนระดับแรงดันให้สูงขึ้นหรือต่า ลงตามต้องการ ภายในประกอบด้วยขดลวด 2 
ชุดคือ ขดลวดปฐมภูมิ (Primary winding) และ ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary winding) 
แตส่าหรับหมอ้แปลงกา ลัง (Power Transformer) ขนาดใหญบ่างตัวอาจมีขดลวดที่สามเพิ่มขึ้นคือขด 
Tertiary winding ซึ่งมีขนาดเล็กกวา่ขด Primary และ Secondary และแรงดันที่แปลงออกมาจะมีคา่ต่า กวา่ขด 
Secondary 
ชนิดของหมอ้แปลง 
1. หมอ้แปลงไฟฟ้ากา ลัง (Power Transformer) 
2. หมอ้แปลงจา หน่าย (Distribution Transformer) 
3. หมอ้แปลงสาหรับเครื่องมือวัด (Instrument Transformer) 
4. หมอ้แปลงสาหรับความถี่สูง (High frequency Transformer) 
สาหรับหมอ้แปลงจา หน่ายที่ใช้งานทั่วไปของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแบง่ออกเป็น 2 ระบบคือ 
1. ระบบ 1 เฟส 3 สาย มีใช้งาน 4 ขนาดคือ 10 KVA , 20 KVA , 30 KVA , 50 KVA 
2. ระบบ 3 เฟส 4 สาย มีหลายขนาดได้แก่30, 50, 100, 160, 250, 315, 400, 500, 1000, 1250, 1500, 2500 
KVA. 
หมอ้แปลงที่ติดตั้งเพื่อจา่ยกระแสไฟฟ้าทั่วไปของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกา หนดให้ใช้ได้ตั้งแต่ขนาด 10 
KVA. 1 เฟส จนถึง 250 KVA. 3 เฟส (ยกเวน้ 30 KVA. 3 เฟส) 
นอกเหนือจากนี้เป็นหมอ้แปลงที่ติดตั้งให้ผู้ใช้ไฟเฉพาะราย 
อุปกรณ์ประกอบหม้อแปลง 
ฟิวส์ (Fuse) ทา หน้าที่ป้องกนัอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือระบบ จากภาวะกระแสเกินพิกดั (over current) 
หรือลัดวงจร (short circuit) มีทั้งฟิวส์แรงสูงติดตั้งทางด้าน Primary และฟิวส์แรงต่า ติดตั้งทางด้าน 
Secondary 
ฟิวส์แรงสูง (Dropout Fuse) 
ฟิวส์แรงต่า 
ลอ่ฟ้า (Lightning Arrester) 
ทา หน้าที่ป้องกนัอุปกรณ์หรือระบบและสายส่งมิให้ได้รับความเสียหายจากภาวะแรงดันเกิน (over voltage) 
ที่เกิดจากฟ้าผา่หรือการปลดสับสวิตซ์ 
ลอ่ฟ้าแรงสูง (HV. Arrester)
ลอ่ฟ้าแรงต่า (LV. Arrester) 
อาร์คซิ่งฮอร์น (Arcing Horn) 
เป็นอุปกรณ์ป้องกนัหมอ้แปลงมิให้ชา รุดเสียหายจากภาวะแรงดันเกินที่เกิดจากฟ้าผา่ สาหรับระยะ air gap 
ของ arcing horn ที่บุชชิ่งแรงสูงของหมอ้แปลงตามมาตรฐานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกา หนดดังนี้ 
ระบบ 11 KV. ระยะห่าง 8.6 เซนติเมตร 
ระบบ 22 KV. ระยะห่าง 15.5 เซนติเมตร 
ระบบ 33 KV. ระยะห่าง 22.0 เซนติเมตร 
น้ามนัหมอ้แปลง มีหน้าที่ 2 ประการคือ 
1 เป็นฉนวนไฟฟ้า โดยป้องกนักระแสไฟฟ้ากระโดดจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง 
ถ้าเทียบกบัอากาศแล้ว น้ามนัหมอ้แปลงจะทนแรงดันได้สูงกวา่หลายเทา่ 
ทั้งนี้ขึ้นอยูก่บัคุณภาพของน้ามนัหม้อแปลงนั้น ดังนั้นถ้าเราจุม่ตัวนาลงในน้ามนั 
ก็จะสามารถวางไวใ้กล้กนัได้โดยไมลั่ดวงจร 
2 ระบายความร้อน 
โดยที่น้ามนัเป็นของเหลวจึงสามารถเคลื่อนตัวมาถ่ายเทความร้อนให้แกอ่ากาศรอบๆ หมอ้แปลงได้ดี, 
ทา ให้ขดลวดและแกนเหล็กของหม้อแปลงระบายความร้อนได้ , 
ทา ให้ฉนวนที่พันหุ้มขดลวดทนต่อความร้อนสูงได้ 
และทา ให้ฉนวนไมร่้อนจัดเกินไปชว่ยยืดอายุการใช้งานของหมอ้แปลงให้นานขึ้น 
ซิลิกา้เจล (Silica gel) มีลักษณะเป็นเม็ดเล็กๆ 
สีฟ้าหรือน้าเงินบรรจุอยูใ่นกระเปาะข้างถังอะไหลน่้ามนัหม้อแปลง ทา หน้าที่ชว่ยดูดความชื้นในหมอ้แปลง 
ถ้าเสื่อมคุณภาพจะกลายเป็นสีชมพู 
การบาลานซ์โหลดหมอ้แปลง 
การบาลานซ์โหลด เป็นการเฉลี่ยโหลดแตล่ะเฟสให้มีคา่เทา่กนัหรือใกล้เคียงกนั 
ซึ่งทา ให้กระแสในแตล่ะเฟสใกล้เคียงกนัด้วย ถ้าหากโหลดไมส่มดุล จะเกิดผลเสียตอ่ระบบดังนี้ 
1. เกิดความสูญเสียและแรงดันปลายสายตกมาก 
2. Voltage Regulation ไมดี่ กลา่วคือแรงดันไฟฟ้าในแตล่ะเฟสไมเ่ทา่กนั 
3. ความสามารถในการจา่ยโหลดของหม้อแปลงลดลง 
ข้อกา หนด
1. หมอ้แปลงทั่วไป การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ยอมให้จา่ยโหลดได้ไมเ่กิน 80 % 
ของกระแสพิกดัหมอ้แปลง 
2. การบาลานซ์เฟสหมอ้แปลง ไมค่วรแตกตา่งกนัเกิน 20 % ของแอมป์เฉลี่ย 
การบาลานซ์โหลดของหมอ้แปลง 1 เฟส 3 สาย 
จากรูป เป็นหมอ้แปลง 1 เฟส 3 สาย 460/230 V. สมมุติมีพิกดั 30 KVA. จา่ยโหลดรวม 95 แอมป์ ถ้าเฟส A 
จา่ยโหลด 45 A เฟส B จา่ยโหลด 50 A จะถือวา่หมอ้แปลงลูกนี้จา่ยโหลดบาลานซ์หรือไม่ 
วิธีทา 
หมอ้แปลง 30 KVA ,230 V. กระแสเต็มพิกดัคือ 30 KVA/230 = 130 A. 
คิด 80 % ของพิกดัหมอ้แปลง = 0.8 x 130 = 104 A. 
ดังนั้นเฟส A และ B ควรจา่ยโหลดไมเ่กินเฟสละ = 104/2 = 52 A. 
จากการที่หมอ้แปลงจา่ยโหลดรวม 95 A. ดังนั้นกระแสเฉลี่ยของแตล่ะเฟส = 95/2 = 47.5 A. 
กระแสแตล่ะเฟสต้องตา่งกนัไมเ่กิน 20 % ของแอมป์เฉลี่ย = 0.2 x 47.5 = 9.5 A. 
แตเ่นื่องจากเฟส A จา่ยโหลด 45 A. และเฟส B จา่ยโหลด 50 A. จึงตา่งกนั = 50 - 45 = 5 A. 
พบวา่กระแสของเฟสทั้งสองตา่งกนัไมเ่กิน 9.5 A. จึงถือวา่หมอ้แปลงลูกนี้จา่ยโหลดได้สมดุล 
การบาลานซ์โหลดของหมอ้แปลง 3 เฟส 4 สาย 
จากรูป เป็นหมอ้แปลง 3 เฟส ขนาด 50 KVA. 400/230 V. จา่ยโหลดรวม 50 แอมป์ 
โดยแตล่ะเฟสจา่ยกระแสดังรูป จะถือวา่หมอ้แปลงลูกนี้จา่ยโหลดบาลานซ์หรือไม่ 
วิธีทา 
หมอ้แปลง 50 KVA ,400/230 V. กระแสเต็มพิกดัคือ 50 KVA/(1.732 x 230) = 72 A. 
คิด 80 % ของพิกดัหมอ้แปลง = 0.8 x 72 = 57 A. 
ดังนั้นแตล่ะเฟส ควรจา่ยโหลดไมเ่กิน = 57 A. 
จากการที่หมอ้แปลงจา่ยโหลดรวม 50 A. 
กระแสแตล่ะเฟสต้องตา่งกนัไมเ่กิน 20 % ของแอมป์เฉลี่ย = 0.2 x 50 = 10 A. 
แตเ่นื่องจากเฟส A จา่ยโหลด 70 A. ซึ่งเกิน 80 % ของแอมป์เฉลี่ย 
เฟส B จา่ยโหลด 50 A. ยังไมถึ่ง 80 % ของแอมป์เฉลี่ย
ส่วนเฟส C จา่ยโหลดเพียง 30 A. ซึ่งตา่งกบัเฟสอื่นเกิน 10 A. 
จึงถือวา่หมอ้แปลงลูกนี้จา่ยโหลดไมส่มดุล 
ผลกระทบจากการจา่ยโหลดไมส่มดุลของหม้อแปลง 3 เฟส 
1. จะมีกระแสไหลในสายนิวทรัล 
ซึ่งจะทา ให้แรงดันตกและมีกา ลังไฟฟ้าสูญเสียในสายนิวทรัลประสิทธิภาพของระบบจะลดลง 
2. Voltage Regulation ไมดี่ คือเฟสที่มีโหลดตอ่ในวงจรมากแรงดันจะต่า 
ส่วนเฟสที่มีโหลดตอ่น้อยแรงดันจะสูง 
3. ความสามารถในการจา่ยโหลดของระบบลดลง ไมส่ามารถจา่ยได้ตามพิกัด 
เพราะถูกจา กดัด้วยเฟสที่มีโหลดสูงสุด 
4. กรณีที่ระบบไมส่มดุลและสายนิวทรัลขาด จะทา ให้โหลดในวงจรตอ่อนุกรมกนั 
และคร่อมอยูก่บัแรงดันขนาด 400 โวลท์ แรงดันตกคร่อมโหลดบางตัวอาจสูงกวา่ปกติ และอาจชา รุดได้ 
หมอ้แปลงจา หน่ายทั่วไปจะมีคา่ percent impedance คอ่นข้างต่า คือ 4 - 6 % 
ด้วยจุดประสงค์เพื่อต้องการให้มี Voltage Regulation ดีคือ 
ไมว่า่โหลดของหมอ้แปลงจะมีมากหรือน้อยเพียงใด แรงดันของหมอ้แปลงก็ไมเ่ปลี่ยนแปลงมาก 
ยังมีความสม่า เสมอของแรงดัน 
แตผ่ลที่ตามมาคือจะทา ให้กระแสลัดวงจรค่อนข้างสูงมากจึงต้องป้องกนัหม้อแปลง 
โดยการติดตั้งฟิวส์ทั้งด้านแรงสูงและแรงต่า ซึ่งมีหลักการคร่าวๆ ดังนี้ 
1. หมอ้แปลงแตล่ะตัว ต้องมีอุปกรณ์ป้องกนัโดยอิสระ 
2. พิกดัฟิวส์แรงสูงของหมอ้แปลง ควรมีขนาด 2-3 เทา่ ของกระแสเต็มพิกดัหมอ้แปลง 
วตัถุประสงค์ของการใส่ฟิวส์ คือ ป้องกนัการลัดวงจร และการทา งานอยา่งสัมพันธ์กนั (Co-ordination) 
ระหวา่งฟิวส์แรงสูงและแรงต่า ไมใ่ชป่้องกนัการ over load ของหมอ้แปลง 
เพราะฟิวส์จะขาดที่กระแสประมาณ 2 เทา่ของพิกดัฟิวส์ 
โดยต้องการให้ฟิวส์ในระบบแรงต่า ขาดกอ่นถ้าหากเกิดการลัดวงจรในระบบแรงต่า ขึ้น 
ตัวอยา่งการหาขนาดฟิวส์แรงสูงของหมอ้แปลง 
หมอ้แปลงขนาด 50 KVA 3 เฟส 4 สาย 22,000 - 400/230 V. จงหาขนาดฟิวส์แรงสูงที่เหมาะสม
วิธีทา 
คา นวณหากระแสเต็มพิกดัด้านแรงสูง = 50 KVA / (1.732 x 22 KV) = 1.3 A 
เลือกใส่ฟิวส์ขนาด 3 A. 
มาตรฐานการติดตั้งหมอ้แปลงไฟฟ้า 
การติดตั้งหมอ้แปลงของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมี 3 แบบคือ 
1. แบบแขวน ใช้สาหรับติดตั้งหมอ้แปลง 1 เฟส ขนาดตั้งแต่10-160 KVA 
2. แบบนั่งร้าน ใช้สาหรับติดตั้งหมอ้แปลง 3 เฟส ขนาดตั้งแต่50-250 KVA (กฟภ) และตั้งแต่50 - 
500 KVA (เฉพาะราย) ที่มีน้าหนักไมเ่กิน 3000 กิโลกรัม 
3. แบบตั้งพื้น ใช้สาหรับติดตั้งหมอ้แปลง 3 เฟส ขนาดตั้งแต่315-2,000 KVA 
การตรวจสภาพทั่วไปของหมอ้แปลง 
1. ตรวจสอบการติดตั้งให้ถูกต้องตามมาตรฐาน 
2. ตรวจสอบลอ่ฟ้าแรงสูง, dropout, ฟิวส์สวิตซ์แรงต่า ให้อยูใ่นสภาพครบถ้วนและขนาดถูกต้องตามพิกดั 
3. ตรวจดูที่ดูดความชื้นโดยสังเกตที่สีของ silica gel ถ้าเป็นสีชมพูแสดงวา่เสื่อทสภาพ ต้องเปลี่ยนใหม่ 
4. ตรวจสอบหัวตอ่ที่บุชชิ่งหม้อแปลงไมใ่ห้หลวมเพื่อกนัการอาร์ก 
5. ตรวจซีลของหมอ้แปลงทั้งหมด เพื่อป้องกนัน้ามนัหมอ้แปลงไหลซึมออกมา 
6. ตรวจดูระดับน้ามนัที่ถังอะหลั่ย 
7. ตรวจสอบกราวด์ตา่งๆ ของหมอ้แปลงและระบบป้องกนั ให้อยูใ่นสภาพเรียบร้อยถูกต้องตาม 
มาตรฐาน 
8. ตรวจสอบขนาดสายแรงต่า และจา นวนสายที่ออกจากบุชชิ่งแรงต่า ถึงฟิวส์แรงต่า 
9. ตรวจสอบคานนั่งร้านหมอ้แปลง 
10. ตรวจสอบความต้านทานของสายดินและลอ่ฟ้าแรงสูงให้อยูใ่นพิกดัไมเ่กิน 5 โอห์ม 
การปลดไฟฟ้าออกจากหมอ้แปลง 
1. ควรใช้ไมชั้กฟิวส์ปลด dropout fuse เทา่นั้น 
ไมค่วรใช้ไมช้นิดอื่นแทนและไมชั้กฟิวส์ต้องอยูใ่นสภาพดีไมเ่ปียกชื้น 
และต้องใส่ถุงมือยางและถุงมือหนังทุกครั้ง 
2. ยืนอยูใ่นที่มนั่คงมิให้เสียการทรงตัว ขณะที่ยกไมชั้กฟิวส์หรือไมชั้กฟิวส์โน้มลงขณะชักออก
3. การปลดแรงสูงออก ควรชักด้วยความเร็วพอประมาณ เพื่อลดการอาร์กที่เกิดขึ้น 
อันเป็นเหตุให้หน้าสัมผัสชา รุด และให้ชักเฟสที่อยูห่่างจากเสากอ่น 
4. กรณีอุปกรณ์ป้องกนัด้านแรงต่า ของหม้อแปลงใช้คัทเอาท์แรงต่า แบบฟิวส์ธรรมดา 
ให้ปลดแรงสูงกอ่นแล้วจึงปลดแรงต่า เพราะการอาร์กขณะชักที่แรงต่า จะเป็นอันตรายแกผู่้ชักมากกวา่แรงสูง 
เนื่องจากผู้ปฏิบัติอยูใ่กล้อุปกรณ์แรงต่า มาก 
5. กรณีอุปกรณ์ป้องกนัด้านแรงต่า ของหม้อแปลงใช้ LT switch แบบการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 
ให้ปลดด้านแรงต่า กอ่น 
6. ทา กราวด์และช็อตแรงต่า ระบบจา หน่าย เพื่อป้องกนัแรงดันไฟฟ้าจา่ยย้อนกลับจากผู้ใช้ไฟ 
การสับไฟฟ้าเข้าหมอ้แปลง 
1. ปลดสายช็อตและกราวด์ที่ทา ไวใ้นระบบจา หน่าย 
2. 
กรณีอุปกรณ์ป้องกนัด้านแรงต่า ของหมอ้แปลงใช้คัทเอาท์แรงต่า แบบฟิวส์ธรรมดาให้สับสวิตซ์คัทเอาท์แรง 
ต่า กอ่นสับแรงสูง 
3. กรณีอุปกรณ์ป้องกนัด้านแรงต่า ของหม้อแปลงใช้ LT switch แบบการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 
ให้สับสวิตซ์แรงต่า หลังสับแรงสูง 
4. การสับจา่ยแรงสูง-แรงต่า ต้องทา ด้วยความระมดัระวงั 
เที่ยงตรงและรวดเร็วให้ได้ในครั้งเดียวเพื่อมิให้เกิดอาร์กมาก และให้สับจา่ยเฟสที่อยูใ่กล้เสากอ่น 
การขึ้นปฏิบัติงานบนนั่งร้านหมอ้แปลง 
1. ต้องระวงัการจา่ยย้อนทางของกระแสจากด้านแรงต่า ดังนั้นเมื่อปลดสวิตซ์ด้านแรงสูง-แรงต่า แล้ว 
ต้องตอ่ลงดินด้านแรงต่า ด้วย เพื่อให้แน่ใจวา่ไมมี่กระแสไหลย้อนได้อีก 
2. ต้องไมสั่มผัสตัวถังหม้อแปลง หรือยืนบนหมอ้แปลงขณะปฏิบัติงานใกล้แนวสายที่ยังมีกระแสไฟฟ้า 
3. ระวงัน้ามนัหมอ้แปลงที่อาจรั่วซึมบนนั่งร้านและทา ให้ลื่นขณะปฏิบัติงาน

More Related Content

What's hot

11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมKittivut Tantivuttiki
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศdnavaroj
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์wisita42
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2MaloNe Wanger
 
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 201. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2nsumato
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันzhezazzz
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพZnackiie Rn
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 

What's hot (20)

11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศองค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
องค์ประกอบและการแบ่งชั้นบรรยากาศ
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์สรุปสูตรฟิสิกส์
สรุปสูตรฟิสิกส์
 
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
Fundamental of electrical ไฟฟ้าเบื้องต้น-r2
 
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 201. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น)  บทที่ 2
01. วิชา ไฟฟ้ากำลัง เล่ม 1 (วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น) บทที่ 2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
เลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชันเลขออกซิเดชัน
เลขออกซิเดชัน
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
Solid
SolidSolid
Solid
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 

Viewers also liked

F05 corrosive sulfurpresentation
F05 corrosive sulfurpresentationF05 corrosive sulfurpresentation
F05 corrosive sulfurpresentationanjanakoolkarni
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiencytatong it
 
Three phase transformers
Three phase transformersThree phase transformers
Three phase transformersZiyaulhaq
 
Eπιρρηματικοί προσδιορισμοί
Eπιρρηματικοί προσδιορισμοίEπιρρηματικοί προσδιορισμοί
Eπιρρηματικοί προσδιορισμοίmara_petridou
 
Tablet owners who they are
Tablet owners who they areTablet owners who they are
Tablet owners who they areVanessa Li
 
e-Twinning: Κηραλοιφες
e-Twinning: Κηραλοιφες e-Twinning: Κηραλοιφες
e-Twinning: Κηραλοιφες George Arlapanos
 
οδυσσέας ελύτης
οδυσσέας ελύτηςοδυσσέας ελύτης
οδυσσέας ελύτηςsomakris
 
Ilyas akhmeov obrazovatelny_tsentr_konkurenty
Ilyas akhmeov obrazovatelny_tsentr_konkurentyIlyas akhmeov obrazovatelny_tsentr_konkurenty
Ilyas akhmeov obrazovatelny_tsentr_konkurentyVitalya Panchenko
 
Arepa reconditionering-brochure-web
Arepa reconditionering-brochure-webArepa reconditionering-brochure-web
Arepa reconditionering-brochure-webPierre Vandenberk
 
ο δεκαλογος του δασκαλου
ο δεκαλογος του δασκαλουο δεκαλογος του δασκαλου
ο δεκαλογος του δασκαλουEleni Papadopoulou
 
Η γοητεία των Φράκταλς
Η γοητεία των Φράκταλς Η γοητεία των Φράκταλς
Η γοητεία των Φράκταλς Aggeliki Nikolaou
 
Καταναλωτισμός 1
Καταναλωτισμός 1Καταναλωτισμός 1
Καταναλωτισμός 1katpapado
 
τα παιδιά γράφουν
τα παιδιά γράφουντα παιδιά γράφουν
τα παιδιά γράφουνRoula Michalopoulou
 
라이브카지노『SX797。COM 』실시간카지노
라이브카지노『SX797。COM 』실시간카지노 라이브카지노『SX797。COM 』실시간카지노
라이브카지노『SX797。COM 』실시간카지노 hedrfgherj
 
Peripatetic Learning Sagittarius event
Peripatetic Learning Sagittarius eventPeripatetic Learning Sagittarius event
Peripatetic Learning Sagittarius eventAggeliki Nikolaou
 

Viewers also liked (20)

F05 corrosive sulfurpresentation
F05 corrosive sulfurpresentationF05 corrosive sulfurpresentation
F05 corrosive sulfurpresentation
 
บันไดเลื่อน Escalator
บันไดเลื่อน Escalatorบันไดเลื่อน Escalator
บันไดเลื่อน Escalator
 
ไฟฟ้าอิสระ
ไฟฟ้าอิสระไฟฟ้าอิสระ
ไฟฟ้าอิสระ
 
Safety efficiency
Safety efficiencySafety efficiency
Safety efficiency
 
Three phase transformers
Three phase transformersThree phase transformers
Three phase transformers
 
Eπιρρηματικοί προσδιορισμοί
Eπιρρηματικοί προσδιορισμοίEπιρρηματικοί προσδιορισμοί
Eπιρρηματικοί προσδιορισμοί
 
Tablet owners who they are
Tablet owners who they areTablet owners who they are
Tablet owners who they are
 
e-Twinning: Κηραλοιφες
e-Twinning: Κηραλοιφες e-Twinning: Κηραλοιφες
e-Twinning: Κηραλοιφες
 
οδυσσέας ελύτης
οδυσσέας ελύτηςοδυσσέας ελύτης
οδυσσέας ελύτης
 
Ilyas akhmeov obrazovatelny_tsentr_konkurenty
Ilyas akhmeov obrazovatelny_tsentr_konkurentyIlyas akhmeov obrazovatelny_tsentr_konkurenty
Ilyas akhmeov obrazovatelny_tsentr_konkurenty
 
Arepa reconditionering-brochure-web
Arepa reconditionering-brochure-webArepa reconditionering-brochure-web
Arepa reconditionering-brochure-web
 
PtB TEEB for Policy Makers Webinar/Earthcast 7 april 2011
PtB TEEB for Policy Makers Webinar/Earthcast 7 april 2011PtB TEEB for Policy Makers Webinar/Earthcast 7 april 2011
PtB TEEB for Policy Makers Webinar/Earthcast 7 april 2011
 
ο δεκαλογος του δασκαλου
ο δεκαλογος του δασκαλουο δεκαλογος του δασκαλου
ο δεκαλογος του δασκαλου
 
Η γοητεία των Φράκταλς
Η γοητεία των Φράκταλς Η γοητεία των Φράκταλς
Η γοητεία των Φράκταλς
 
Καταναλωτισμός 1
Καταναλωτισμός 1Καταναλωτισμός 1
Καταναλωτισμός 1
 
τα παιδιά γράφουν
τα παιδιά γράφουντα παιδιά γράφουν
τα παιδιά γράφουν
 
라이브카지노『SX797。COM 』실시간카지노
라이브카지노『SX797。COM 』실시간카지노 라이브카지노『SX797。COM 』실시간카지노
라이브카지노『SX797。COM 』실시간카지노
 
Power point statistika
Power point statistikaPower point statistika
Power point statistika
 
Patrick ten Brink of IEEP on IPBES an economists perspective EP 29 May 2012 f...
Patrick ten Brink of IEEP on IPBES an economists perspective EP 29 May 2012 f...Patrick ten Brink of IEEP on IPBES an economists perspective EP 29 May 2012 f...
Patrick ten Brink of IEEP on IPBES an economists perspective EP 29 May 2012 f...
 
Peripatetic Learning Sagittarius event
Peripatetic Learning Sagittarius eventPeripatetic Learning Sagittarius event
Peripatetic Learning Sagittarius event
 

Similar to หม้อแปลงไฟฟ้า

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
Repair and modify motor of boiler
Repair and modify motor of boilerRepair and modify motor of boiler
Repair and modify motor of boilerPhemakorn Khoonsri
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeterpeerasuk
 
Reactive power
Reactive powerReactive power
Reactive powerpeerasuk
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดpanawan306
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2teerawut
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2Sivanad Radchayos
 

Similar to หม้อแปลงไฟฟ้า (20)

ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
53211817 10 december
53211817 10 december53211817 10 december
53211817 10 december
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
Repair and modify motor of boiler
Repair and modify motor of boilerRepair and modify motor of boiler
Repair and modify motor of boiler
 
Dc ammeter
Dc ammeterDc ammeter
Dc ammeter
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
Reactive power
Reactive powerReactive power
Reactive power
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ดพลังงานไฟฟ้า เส๊ด
พลังงานไฟฟ้า เส๊ด
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้าการประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
การประยุกต์ใช้ในงานทางไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 

หม้อแปลงไฟฟ้า

  • 1. หมอ้แปลงไฟฟ้า (Transformer) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนระดับแรงดันให้สูงขึ้นหรือต่า ลงตามต้องการ ภายในประกอบด้วยขดลวด 2 ชุดคือ ขดลวดปฐมภูมิ (Primary winding) และ ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary winding) แตส่าหรับหมอ้แปลงกา ลัง (Power Transformer) ขนาดใหญบ่างตัวอาจมีขดลวดที่สามเพิ่มขึ้นคือขด Tertiary winding ซึ่งมีขนาดเล็กกวา่ขด Primary และ Secondary และแรงดันที่แปลงออกมาจะมีคา่ต่า กวา่ขด Secondary ชนิดของหมอ้แปลง 1. หมอ้แปลงไฟฟ้ากา ลัง (Power Transformer) 2. หมอ้แปลงจา หน่าย (Distribution Transformer) 3. หมอ้แปลงสาหรับเครื่องมือวัด (Instrument Transformer) 4. หมอ้แปลงสาหรับความถี่สูง (High frequency Transformer) สาหรับหมอ้แปลงจา หน่ายที่ใช้งานทั่วไปของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคแบง่ออกเป็น 2 ระบบคือ 1. ระบบ 1 เฟส 3 สาย มีใช้งาน 4 ขนาดคือ 10 KVA , 20 KVA , 30 KVA , 50 KVA 2. ระบบ 3 เฟส 4 สาย มีหลายขนาดได้แก่30, 50, 100, 160, 250, 315, 400, 500, 1000, 1250, 1500, 2500 KVA. หมอ้แปลงที่ติดตั้งเพื่อจา่ยกระแสไฟฟ้าทั่วไปของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกา หนดให้ใช้ได้ตั้งแต่ขนาด 10 KVA. 1 เฟส จนถึง 250 KVA. 3 เฟส (ยกเวน้ 30 KVA. 3 เฟส) นอกเหนือจากนี้เป็นหมอ้แปลงที่ติดตั้งให้ผู้ใช้ไฟเฉพาะราย อุปกรณ์ประกอบหม้อแปลง ฟิวส์ (Fuse) ทา หน้าที่ป้องกนัอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือระบบ จากภาวะกระแสเกินพิกดั (over current) หรือลัดวงจร (short circuit) มีทั้งฟิวส์แรงสูงติดตั้งทางด้าน Primary และฟิวส์แรงต่า ติดตั้งทางด้าน Secondary ฟิวส์แรงสูง (Dropout Fuse) ฟิวส์แรงต่า ลอ่ฟ้า (Lightning Arrester) ทา หน้าที่ป้องกนัอุปกรณ์หรือระบบและสายส่งมิให้ได้รับความเสียหายจากภาวะแรงดันเกิน (over voltage) ที่เกิดจากฟ้าผา่หรือการปลดสับสวิตซ์ ลอ่ฟ้าแรงสูง (HV. Arrester)
  • 2. ลอ่ฟ้าแรงต่า (LV. Arrester) อาร์คซิ่งฮอร์น (Arcing Horn) เป็นอุปกรณ์ป้องกนัหมอ้แปลงมิให้ชา รุดเสียหายจากภาวะแรงดันเกินที่เกิดจากฟ้าผา่ สาหรับระยะ air gap ของ arcing horn ที่บุชชิ่งแรงสูงของหมอ้แปลงตามมาตรฐานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคกา หนดดังนี้ ระบบ 11 KV. ระยะห่าง 8.6 เซนติเมตร ระบบ 22 KV. ระยะห่าง 15.5 เซนติเมตร ระบบ 33 KV. ระยะห่าง 22.0 เซนติเมตร น้ามนัหมอ้แปลง มีหน้าที่ 2 ประการคือ 1 เป็นฉนวนไฟฟ้า โดยป้องกนักระแสไฟฟ้ากระโดดจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง ถ้าเทียบกบัอากาศแล้ว น้ามนัหมอ้แปลงจะทนแรงดันได้สูงกวา่หลายเทา่ ทั้งนี้ขึ้นอยูก่บัคุณภาพของน้ามนัหม้อแปลงนั้น ดังนั้นถ้าเราจุม่ตัวนาลงในน้ามนั ก็จะสามารถวางไวใ้กล้กนัได้โดยไมลั่ดวงจร 2 ระบายความร้อน โดยที่น้ามนัเป็นของเหลวจึงสามารถเคลื่อนตัวมาถ่ายเทความร้อนให้แกอ่ากาศรอบๆ หมอ้แปลงได้ดี, ทา ให้ขดลวดและแกนเหล็กของหม้อแปลงระบายความร้อนได้ , ทา ให้ฉนวนที่พันหุ้มขดลวดทนต่อความร้อนสูงได้ และทา ให้ฉนวนไมร่้อนจัดเกินไปชว่ยยืดอายุการใช้งานของหมอ้แปลงให้นานขึ้น ซิลิกา้เจล (Silica gel) มีลักษณะเป็นเม็ดเล็กๆ สีฟ้าหรือน้าเงินบรรจุอยูใ่นกระเปาะข้างถังอะไหลน่้ามนัหม้อแปลง ทา หน้าที่ชว่ยดูดความชื้นในหมอ้แปลง ถ้าเสื่อมคุณภาพจะกลายเป็นสีชมพู การบาลานซ์โหลดหมอ้แปลง การบาลานซ์โหลด เป็นการเฉลี่ยโหลดแตล่ะเฟสให้มีคา่เทา่กนัหรือใกล้เคียงกนั ซึ่งทา ให้กระแสในแตล่ะเฟสใกล้เคียงกนัด้วย ถ้าหากโหลดไมส่มดุล จะเกิดผลเสียตอ่ระบบดังนี้ 1. เกิดความสูญเสียและแรงดันปลายสายตกมาก 2. Voltage Regulation ไมดี่ กลา่วคือแรงดันไฟฟ้าในแตล่ะเฟสไมเ่ทา่กนั 3. ความสามารถในการจา่ยโหลดของหม้อแปลงลดลง ข้อกา หนด
  • 3. 1. หมอ้แปลงทั่วไป การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ยอมให้จา่ยโหลดได้ไมเ่กิน 80 % ของกระแสพิกดัหมอ้แปลง 2. การบาลานซ์เฟสหมอ้แปลง ไมค่วรแตกตา่งกนัเกิน 20 % ของแอมป์เฉลี่ย การบาลานซ์โหลดของหมอ้แปลง 1 เฟส 3 สาย จากรูป เป็นหมอ้แปลง 1 เฟส 3 สาย 460/230 V. สมมุติมีพิกดั 30 KVA. จา่ยโหลดรวม 95 แอมป์ ถ้าเฟส A จา่ยโหลด 45 A เฟส B จา่ยโหลด 50 A จะถือวา่หมอ้แปลงลูกนี้จา่ยโหลดบาลานซ์หรือไม่ วิธีทา หมอ้แปลง 30 KVA ,230 V. กระแสเต็มพิกดัคือ 30 KVA/230 = 130 A. คิด 80 % ของพิกดัหมอ้แปลง = 0.8 x 130 = 104 A. ดังนั้นเฟส A และ B ควรจา่ยโหลดไมเ่กินเฟสละ = 104/2 = 52 A. จากการที่หมอ้แปลงจา่ยโหลดรวม 95 A. ดังนั้นกระแสเฉลี่ยของแตล่ะเฟส = 95/2 = 47.5 A. กระแสแตล่ะเฟสต้องตา่งกนัไมเ่กิน 20 % ของแอมป์เฉลี่ย = 0.2 x 47.5 = 9.5 A. แตเ่นื่องจากเฟส A จา่ยโหลด 45 A. และเฟส B จา่ยโหลด 50 A. จึงตา่งกนั = 50 - 45 = 5 A. พบวา่กระแสของเฟสทั้งสองตา่งกนัไมเ่กิน 9.5 A. จึงถือวา่หมอ้แปลงลูกนี้จา่ยโหลดได้สมดุล การบาลานซ์โหลดของหมอ้แปลง 3 เฟส 4 สาย จากรูป เป็นหมอ้แปลง 3 เฟส ขนาด 50 KVA. 400/230 V. จา่ยโหลดรวม 50 แอมป์ โดยแตล่ะเฟสจา่ยกระแสดังรูป จะถือวา่หมอ้แปลงลูกนี้จา่ยโหลดบาลานซ์หรือไม่ วิธีทา หมอ้แปลง 50 KVA ,400/230 V. กระแสเต็มพิกดัคือ 50 KVA/(1.732 x 230) = 72 A. คิด 80 % ของพิกดัหมอ้แปลง = 0.8 x 72 = 57 A. ดังนั้นแตล่ะเฟส ควรจา่ยโหลดไมเ่กิน = 57 A. จากการที่หมอ้แปลงจา่ยโหลดรวม 50 A. กระแสแตล่ะเฟสต้องตา่งกนัไมเ่กิน 20 % ของแอมป์เฉลี่ย = 0.2 x 50 = 10 A. แตเ่นื่องจากเฟส A จา่ยโหลด 70 A. ซึ่งเกิน 80 % ของแอมป์เฉลี่ย เฟส B จา่ยโหลด 50 A. ยังไมถึ่ง 80 % ของแอมป์เฉลี่ย
  • 4. ส่วนเฟส C จา่ยโหลดเพียง 30 A. ซึ่งตา่งกบัเฟสอื่นเกิน 10 A. จึงถือวา่หมอ้แปลงลูกนี้จา่ยโหลดไมส่มดุล ผลกระทบจากการจา่ยโหลดไมส่มดุลของหม้อแปลง 3 เฟส 1. จะมีกระแสไหลในสายนิวทรัล ซึ่งจะทา ให้แรงดันตกและมีกา ลังไฟฟ้าสูญเสียในสายนิวทรัลประสิทธิภาพของระบบจะลดลง 2. Voltage Regulation ไมดี่ คือเฟสที่มีโหลดตอ่ในวงจรมากแรงดันจะต่า ส่วนเฟสที่มีโหลดตอ่น้อยแรงดันจะสูง 3. ความสามารถในการจา่ยโหลดของระบบลดลง ไมส่ามารถจา่ยได้ตามพิกัด เพราะถูกจา กดัด้วยเฟสที่มีโหลดสูงสุด 4. กรณีที่ระบบไมส่มดุลและสายนิวทรัลขาด จะทา ให้โหลดในวงจรตอ่อนุกรมกนั และคร่อมอยูก่บัแรงดันขนาด 400 โวลท์ แรงดันตกคร่อมโหลดบางตัวอาจสูงกวา่ปกติ และอาจชา รุดได้ หมอ้แปลงจา หน่ายทั่วไปจะมีคา่ percent impedance คอ่นข้างต่า คือ 4 - 6 % ด้วยจุดประสงค์เพื่อต้องการให้มี Voltage Regulation ดีคือ ไมว่า่โหลดของหมอ้แปลงจะมีมากหรือน้อยเพียงใด แรงดันของหมอ้แปลงก็ไมเ่ปลี่ยนแปลงมาก ยังมีความสม่า เสมอของแรงดัน แตผ่ลที่ตามมาคือจะทา ให้กระแสลัดวงจรค่อนข้างสูงมากจึงต้องป้องกนัหม้อแปลง โดยการติดตั้งฟิวส์ทั้งด้านแรงสูงและแรงต่า ซึ่งมีหลักการคร่าวๆ ดังนี้ 1. หมอ้แปลงแตล่ะตัว ต้องมีอุปกรณ์ป้องกนัโดยอิสระ 2. พิกดัฟิวส์แรงสูงของหมอ้แปลง ควรมีขนาด 2-3 เทา่ ของกระแสเต็มพิกดัหมอ้แปลง วตัถุประสงค์ของการใส่ฟิวส์ คือ ป้องกนัการลัดวงจร และการทา งานอยา่งสัมพันธ์กนั (Co-ordination) ระหวา่งฟิวส์แรงสูงและแรงต่า ไมใ่ชป่้องกนัการ over load ของหมอ้แปลง เพราะฟิวส์จะขาดที่กระแสประมาณ 2 เทา่ของพิกดัฟิวส์ โดยต้องการให้ฟิวส์ในระบบแรงต่า ขาดกอ่นถ้าหากเกิดการลัดวงจรในระบบแรงต่า ขึ้น ตัวอยา่งการหาขนาดฟิวส์แรงสูงของหมอ้แปลง หมอ้แปลงขนาด 50 KVA 3 เฟส 4 สาย 22,000 - 400/230 V. จงหาขนาดฟิวส์แรงสูงที่เหมาะสม
  • 5. วิธีทา คา นวณหากระแสเต็มพิกดัด้านแรงสูง = 50 KVA / (1.732 x 22 KV) = 1.3 A เลือกใส่ฟิวส์ขนาด 3 A. มาตรฐานการติดตั้งหมอ้แปลงไฟฟ้า การติดตั้งหมอ้แปลงของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคมี 3 แบบคือ 1. แบบแขวน ใช้สาหรับติดตั้งหมอ้แปลง 1 เฟส ขนาดตั้งแต่10-160 KVA 2. แบบนั่งร้าน ใช้สาหรับติดตั้งหมอ้แปลง 3 เฟส ขนาดตั้งแต่50-250 KVA (กฟภ) และตั้งแต่50 - 500 KVA (เฉพาะราย) ที่มีน้าหนักไมเ่กิน 3000 กิโลกรัม 3. แบบตั้งพื้น ใช้สาหรับติดตั้งหมอ้แปลง 3 เฟส ขนาดตั้งแต่315-2,000 KVA การตรวจสภาพทั่วไปของหมอ้แปลง 1. ตรวจสอบการติดตั้งให้ถูกต้องตามมาตรฐาน 2. ตรวจสอบลอ่ฟ้าแรงสูง, dropout, ฟิวส์สวิตซ์แรงต่า ให้อยูใ่นสภาพครบถ้วนและขนาดถูกต้องตามพิกดั 3. ตรวจดูที่ดูดความชื้นโดยสังเกตที่สีของ silica gel ถ้าเป็นสีชมพูแสดงวา่เสื่อทสภาพ ต้องเปลี่ยนใหม่ 4. ตรวจสอบหัวตอ่ที่บุชชิ่งหม้อแปลงไมใ่ห้หลวมเพื่อกนัการอาร์ก 5. ตรวจซีลของหมอ้แปลงทั้งหมด เพื่อป้องกนัน้ามนัหมอ้แปลงไหลซึมออกมา 6. ตรวจดูระดับน้ามนัที่ถังอะหลั่ย 7. ตรวจสอบกราวด์ตา่งๆ ของหมอ้แปลงและระบบป้องกนั ให้อยูใ่นสภาพเรียบร้อยถูกต้องตาม มาตรฐาน 8. ตรวจสอบขนาดสายแรงต่า และจา นวนสายที่ออกจากบุชชิ่งแรงต่า ถึงฟิวส์แรงต่า 9. ตรวจสอบคานนั่งร้านหมอ้แปลง 10. ตรวจสอบความต้านทานของสายดินและลอ่ฟ้าแรงสูงให้อยูใ่นพิกดัไมเ่กิน 5 โอห์ม การปลดไฟฟ้าออกจากหมอ้แปลง 1. ควรใช้ไมชั้กฟิวส์ปลด dropout fuse เทา่นั้น ไมค่วรใช้ไมช้นิดอื่นแทนและไมชั้กฟิวส์ต้องอยูใ่นสภาพดีไมเ่ปียกชื้น และต้องใส่ถุงมือยางและถุงมือหนังทุกครั้ง 2. ยืนอยูใ่นที่มนั่คงมิให้เสียการทรงตัว ขณะที่ยกไมชั้กฟิวส์หรือไมชั้กฟิวส์โน้มลงขณะชักออก
  • 6. 3. การปลดแรงสูงออก ควรชักด้วยความเร็วพอประมาณ เพื่อลดการอาร์กที่เกิดขึ้น อันเป็นเหตุให้หน้าสัมผัสชา รุด และให้ชักเฟสที่อยูห่่างจากเสากอ่น 4. กรณีอุปกรณ์ป้องกนัด้านแรงต่า ของหม้อแปลงใช้คัทเอาท์แรงต่า แบบฟิวส์ธรรมดา ให้ปลดแรงสูงกอ่นแล้วจึงปลดแรงต่า เพราะการอาร์กขณะชักที่แรงต่า จะเป็นอันตรายแกผู่้ชักมากกวา่แรงสูง เนื่องจากผู้ปฏิบัติอยูใ่กล้อุปกรณ์แรงต่า มาก 5. กรณีอุปกรณ์ป้องกนัด้านแรงต่า ของหม้อแปลงใช้ LT switch แบบการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ให้ปลดด้านแรงต่า กอ่น 6. ทา กราวด์และช็อตแรงต่า ระบบจา หน่าย เพื่อป้องกนัแรงดันไฟฟ้าจา่ยย้อนกลับจากผู้ใช้ไฟ การสับไฟฟ้าเข้าหมอ้แปลง 1. ปลดสายช็อตและกราวด์ที่ทา ไวใ้นระบบจา หน่าย 2. กรณีอุปกรณ์ป้องกนัด้านแรงต่า ของหมอ้แปลงใช้คัทเอาท์แรงต่า แบบฟิวส์ธรรมดาให้สับสวิตซ์คัทเอาท์แรง ต่า กอ่นสับแรงสูง 3. กรณีอุปกรณ์ป้องกนัด้านแรงต่า ของหม้อแปลงใช้ LT switch แบบการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ให้สับสวิตซ์แรงต่า หลังสับแรงสูง 4. การสับจา่ยแรงสูง-แรงต่า ต้องทา ด้วยความระมดัระวงั เที่ยงตรงและรวดเร็วให้ได้ในครั้งเดียวเพื่อมิให้เกิดอาร์กมาก และให้สับจา่ยเฟสที่อยูใ่กล้เสากอ่น การขึ้นปฏิบัติงานบนนั่งร้านหมอ้แปลง 1. ต้องระวงัการจา่ยย้อนทางของกระแสจากด้านแรงต่า ดังนั้นเมื่อปลดสวิตซ์ด้านแรงสูง-แรงต่า แล้ว ต้องตอ่ลงดินด้านแรงต่า ด้วย เพื่อให้แน่ใจวา่ไมมี่กระแสไหลย้อนได้อีก 2. ต้องไมสั่มผัสตัวถังหม้อแปลง หรือยืนบนหมอ้แปลงขณะปฏิบัติงานใกล้แนวสายที่ยังมีกระแสไฟฟ้า 3. ระวงัน้ามนัหมอ้แปลงที่อาจรั่วซึมบนนั่งร้านและทา ให้ลื่นขณะปฏิบัติงาน