SlideShare a Scribd company logo
1 of 128
Download to read offline
รัฐธรรมนูญแห่ง         • แนวนโยบายแหงรัฐ
                                         ่
   ราชอาณาจักร ไทย                     ่
                           • การปกครองสวนท ้องถน
                                               ิ่


  พ.ร.บ.ระเบียบบริ หาร     • ปั จจัยพืนฐานหลัก ๓ ประการ
                                      ้
                           • ระเบยบบรหารราชการ
                                   ี      ิ
    ราชการแผ่นดน ิ
                           • การกํากบดแลของผู ้วาฯ
                                        ั ู      ่

พ.ร.บ.วธีปฏิบัตราชการทาง
       ิ       ิ           • หลักการและเหตผล
                                          ุ
         ปกครอง            • การพจารณาทางปกครอง
                                  ิ


 พ.ร.บ. จัดตังศาลปกครอง
             ้             • การกระทําไมชอบด ้วยกฎหมาย
                                          ่
                                         ่ ้
                           • การละเว ้น ลาชา ในการปฏบัตฯ
                                                    ิ ิ
และวธีพจารณาคดีปกครอง
     ิ ิ
                           • ความรับผิดละเมิด ฯ
กฎหมายว่าด้วย         กฎหมายว่าด้วย   กฎหมายว่าด้วยการ
การจัดตัง ปรับปรุ ง
          ้              การกาหนด
                             ํ          บริหารผู้ปฏิบตงาน
                                                     ั ิ
และกาหนดอานาจ
        ํ      ํ
หน้ าที่ของหน่ วยงาน     วิธีปฏิบตงาน
                                 ั ิ
                                          Personnel
Organization           Administrative   Administration
ตรวจสอบ
    การปฏิบัติหน้ าที่
                                         ปฏิบัติหน้ าที่ไม่ ถูกต้ อง ไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย


ทุจริต                     ทําให้ เกิด   เข้ าเหตุความผิดวินัย   ผู้บริหารท้ องถินถูกสั่ง
                                                                                 ่
กลันแกล้ งให้ เสี ยหาย
   ่                     ความเสียหาย                                 พ้ นจากตําแหน่ ง
เตรียมการ   ดําเนินการ   เพื่อจัดใหมี
มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตนี้  ิ
          ฯลฯ………………………………… ฯลฯ
          “คําสั่ งทางปกครอง” หมายความว่ า
          (๑) การใช้อํานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้น
ระหว่างบุคคลในอนทจะก่อเปลยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของ
                    ั ี่         ี่
สิ ทธิหรือหน้ าทีของบุคคล ไม่ ว่าจะเป็ นการถาวรหรือชั่วคราว เช่ น การสั่ งการ การอนุญาต การ
                  ่
อนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการ
ออกกฎ
          (๒) การอืนทีกาหนดในกฎกระทรวง
                     ่ ่ํ
พิจารณาบุคคล       การเตรียมการและ        การออกคําสั่ง         การทบทวนคําสั่ง     การบังคับการใหเปนไป
 ที่เขาสูกระบวนการ      ดําเนินการ          ทางปกครอง               ทางปกครอง         ตามคําสั่งทางปกครอง

                                         แบบของคําสั่งทางปกครอง
ฝายคูกรณี        ฝายรัฐ                การแจงหรือการประกาศ                               สั่งใหชําระเงิน
                                             คําสั่งทางปกครอง


  หลักการพิจารณา             หลักการพิจารณาโดย                              ทบทวน โดย      การขอใหพิจารณา
                                                              อุทธรณ
                                                                              จนท.              ใหม
  ตองมีประสิทธิภาพ                เปดเผย
เจ้ าหน้ าทีผู้
             ่
ดํารงตําแหน่ ง
      หรือ
คณะกรรมการ
มาตรา ๑๓ คณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอํานาจหน้าที่กําหนดหลักเกณฑ์และดําเนินการ
เกียวกับการบริหารงานบุคคลในองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดนั้น ในเรื่องดังต่ อไปนี้
   ่
       (๑) กําหนดคุณสมบัติและลักษณะต้ องห้ ามทีมีความจําเป็ นเฉพาะสํ าหรับข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดนั้น
                                                   ่
       (๒) กําหนดจํานวนและอัตราตําแหน่ง อัตราเงินเดือนและวิธีการจ่ายเงินเดือน และประโยชน์ตอบแทนอื่น สําหรับ
ข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัด
        (๓) กําหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขในการคัดเลือก การบรรจุ และแต่ งตั้ง การย้ าย การโอน การรั บโอน การเลื่อน
ระดับ การเลือนขั้นเงินเดือน การสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ ออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้ องทุกข์
             ่
        (๔) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการบริหารและการปฏิบติงานของข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัด
                                                          ั
                                                  และชี้แจง ส่ งเสริ มและพัฒนาความรู้ แก่ ข้าราชการองค์ การบริ หารส่ วน
จังหวัด
         การดําเนินการตาม (๑) ถึง (๕) ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลางข้ าราชการองค์ การบริ หารส่ วน
จังหวัด
มาตรา ๑๕


                               ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการข้ าราชการองค์ การ
บริหารส่ วนจังหวัดกําหนด             แต่สําหรับการออกคําสั่ งแต่งต้ังและการให้ ข้าราชการ
องค์ การบริหารส่ วนจังหวัดพ้ นจากตําแหน่ ง ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
ข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดก่ อน
      อานาจในการดําเนินการเกี่ยวกบการบริหารงานบุคคลตามวรรคหนึ่ง นายกองค์การ
       ํ                           ั
บริหารส่วนจังหวัดอาจมอบหมายให้ผ้ ูบังคับบัญชาข้าราชการในตําแหน่งใดขององค์การ
บริหารส่วนจังหวดแห่งน้ันเป็นผู้ใช้อานาจแทนนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ ท้ังนี้
                    ั                 ํ
ตามหลักเกณฑ์ ทคณะกรรมการข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดกําหนด
                 ี่
มาตรา ๒๓ เทศบาลที่ อ ยู ใ นเขตจั ง หวั ด หนึ่ ง ให มี ค ณะกรรมการพนั ก งานเทศบาลร ว มกั น คณะหนึ่ ง ทํ า หน า ที่
บริหารงานบุคคลสําหรับเทศบาลทุกแหงที่อยูในเขตจังหวัดนั้น ประกอบดวย
           (๑) ผูวาราชการจังหวัดเปนประธาน



              มาตรา ๒๕ องคการบริหารสวนตําบลที่อยูในเขตจังหวัดหนึ่ง ใหมีคณะกรรมการพนักงานสวนตําบลรวมกันคณะ
หนึ่ง ทําหนาที่บริหารงานบุคคลสําหรับองคการบริหารสวนตําบลทุกแหงที่อยูในเขตจังหวัดนั้น ประกอบดวย


               มาตรา ๑๐ การประชุมของคณะกรรมการขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัดตองมีกรรมการมาประชุมไมนอย
กวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม
มาตรา ๖๔ นายกองคการบริหารสวนตําบลพนจากตําแหนงเมื่อ
           (๑)....
           (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๕๘/๑
           (๕) กระทําการฝาฝนมาตรา ๖๔/๒
           (๖) ผูวาราชการจังหวัดสั่งใหพนจากตําแหนงตามมาตรา ๘๗/๑ วรรคหา หรือ มาตรา ๙๒
           (๗) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก
           (๘) ราษฎรผูมีสิทธิเลือกตั้งในเขตองคการบริหารสวนตําบลมีจํานวนไมนอยกวาสามในสี่ของ
จํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียงเห็นวานายกองคการบริหารสวนตําบลไมสมควรดํารงตําแหนง
ตอไปตามกฎหมายวาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น
           เมื่อมีขอสงสัยเกี่ยวกับความเปนนายกองคการบริหารสวนตําบลสิ้นสุดลงตาม(๔) หรือ (๕) ให
นายอําเภอสอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ว คําวินิจฉัยของนายอําเภอใหเปนที่สุด
มาตรา ๘๗/๑ ในกรณี ที่ ส ภาองค์ ก ารบริ ห ารส่ วนตํ า บลไม่ รั บ หลั ก การแห่ ง ร่ างข้ อ บั ญ ญั ติ
งบประมาณรายจ่ ายประจําปี ................
     ให้ นายอําเภอส่ งร่ างข้ อบัญญัติให้ นายกฯ โดยเร็ ว แล้ วให้ นายกฯ เสนอร่ างข้ อบัญญัติดังกล่ าวต่ อ
สภาฯ ภายในเจ็ดวัน หากนายกฯไม่ เสนอร่ างข้ อบัญญัติน้ันต่ อสภาฯภายในเวลาที่กําหนด ให้ นายอําเภอ
รายงานต่ อผู้ว่าฯ เพือสั่ งให้ นายกฯ พ้ นจากตําแหน่ ง
                     ่
        มาตรา ๙๒ หากปรากฏว่ า นายกฯ รองนายกฯ ประธานสภาฯ หรือรองประธานสภาฯกระทําการ
ฝ่ าฝื นต่ อความสงบเรียบร้ อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ ปฏิบัติตามหรื อปฏิบัติการไม่
ชอบด้ วยอํานาจหน้ าที่ ให้ นายอําเภอดําเนินการสอบสวนโดยเร็ว
      ในกรณีทผลการสอบสวนปรากฏว่ า นายกฯ รองนายกฯ ประธานสภาฯ หรือรองประธานสภาฯ มี
                 ี่
พฤติการณ์ ตามวรรคหนึ่งจริ ง ให้ นายอําเภอเสนอให้ ผ้ ูว่าราชการจังหวัดสั่ งให้ บุคคลดังกล่ าวพ้ นจาก
ตําแหน่ง ท้ังนี้ ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจดําเนินการสอบสวนเพิ่มเติมด้วยก็ได้ คําสั่งของผ้ ูว่าราชการ
จังหวัดให้ เป็ นทีสุด
                    ่
มาตรา 12 ในกรณีทเี่ จ้าหน้าที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่หน่วยงานของรัฐได้
ใช้ใ ห้ แ ก่ผู้ เ สีย หายตามมาตรา 8 หรื อในกรณีที่เ จ้ าหน้ าที่ต้อ งใช้ ค่า สิน ไหมทดแทน
เนื่องจากเจ้าหน้าที่ผ้ ูน้ันได้กระทําละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐตามมาตรา 10 ประกอบ
กับมาตรา 8                                                           เรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้น้ัน
ชําระเงินดังกล่าวภายในเวลาที่กาหนดํ
    มาตรา 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีระเบียบเพื่อให้เจ้าหน้าที่ซึ่งต้องรับผิดตาม
มาตรา 8 และมาตรา 10 สามารถผ่อนชําระเงินที่จะต้องรับผดน้ันได้โดยคํานึงถึงรายได้
                                                    ิ
ฐานะ ครอบครัวและความรับผิดชอบ และพฤติการณ์ แห่ งกรณีประกอบด้ วย
ข้อ 8 เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่ หน่ วยงานของรัฐแห่ งใด และหัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐแห่ งนั้นมีเหตุอัน
ควรเชื่ อว่ าเกิดจากการกระทําของเจ้ าหน้ าที่ของหน่ วยงานของรั ฐแห่ งนั้น ให้ หัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐดังกล่ าว
แต่ง ต้ังคณะกรรมการสอบข้อ เท็จจริ งความรั บผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่ง โดยไม่ชั กช้า เพื่อพิจารณาเสนอ
ความเห็นเกียวกับผู้ต้องรับผิดและจํานวนค่ าสิ นไหมทดแทนทีผู้น้ ันต้ องชดใช้
                ่                                                 ่
          ข้ อ 12 ถ้ า ผู้ มี อํ า นาจแต่ ง ต้ั ง คณะกรรมการตามข้ อ 8 ข้ อ 10 หรื อ ข้ อ 11 ไม่ ดํ า เนิ น การแต่ ง ต้ั ง
คณะกรรมการภายในเวลาอันควร หรื อแต่ งตั้งกรรมการโดยไม่ เหมาะสม
                    ซึ่งเป็ นผู้บังคับบัญชา หรื อกํากับดูแล หรื อควบคุมการปฏิบัติงานของบุคคลดังกล่ าวมีอํานาจ
แต่ งตั้งคณะกรรมการ หรือเปลียนแปลงกรรมการแทนผู้มอานาจแต่ งตั้งนั้นได้ ตามทีเ่ ห็นสมควร
                                      ่                      ีํ
          ข้อ 30 ในหมวดนี้ หน่ วยงานของรั ฐ หมายความว่ า กระทรวง ทบวง กรม หรื อ ส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ อ
อย่ างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม และราชการส่ วนภู มิภาค แต่ ไม่ รวมถึงราชการส่ วนท้ องถิ่น รั ฐวิสาหกิจ หรื อ
หน่ วยงานอืนของรัฐ
              ่
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๘๑/๒๕๕๐ การที่เจ้าพนักงานที่ดินแจ้งรับรอง
ราคาประเมินที่ดินที่เทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานีประสงค์จะจัดซื้อในราคาสูงกว่าความเป็น
จริง ซึ่งเทศบาลเมืองสุ ราษฎร์ ธานีอนเป็ นหน่ วยงานของรัฐที่เสี ยหาย ย่ อมเป็ นผู้มีอานาจออก
                                     ั                                              ํ
คาสั่งเรียกให้เจ้าพนักงานที่ดินชําระค่าสินไหมทดแทน การที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมีคําสั่งเรียก
  ํ
ให้เจ้าพนักงานทดนชําระค่าสินไหมทดแทนแก่เทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานีในมูลกรณีดังกล่าว
                  ี่ ิ
จึงเป็ นการออกคําสั่ งโดยไม่ มอานาจ
                              ีํ
       คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๒๘๘/๒๕๔๙ การออกคําสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ของ
รัฐผู้กระทําละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐต้อง
ออกคําสั่งภายในกําหนดอายุความการใช้สิทธิเรียกร้องการออกคําสั่งเมื่อพ้นกําหนดอายุ
ความการใช้ สิทธิเรียกร้ องย่ อมเป็ นการออกคําสั่ งโดยไม่ มีอานาจ
                                                            ํ
มาตรา 13 เจ้ าหน้ าทีดงต่ อไปนีจะทําการพิจารณาทางปกครองไม่ ได้
                                ่ ั    ้
        (1) เป็ นคู่กรณีเอง
        (2) เป็ นคู่หมันหรือคู่สมรสของคู่กรณี
                          ่
        (3) เป็ นญาติของคู่กรณี คือ เป็ นบุพการีหรือผู้สืบสั นดานไม่ ว่าชั้นใด ๆ หรือเป็ นพีน้องหรือลูกพีลูกน้ อง
                                                                                            ่            ่
นับได้ เพียงภายในสามชั้น หรือเป็ นญาติเกียวพันทางแต่ งงานนับได้ เพียงสองชั้น
                                          ่
        (4) เป็ นหรือเคยเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พทกษ์ หรือผู้แทนหรือตัวแทนของคู่กรณี
                                                     ิ ั
        (5) เป็นเจ้าหนีหรือลูกหนี้ หรือเป็ นนายจ้ างของคู่กรณี
                              ้
        (6) กรณีอนตามทีกาหนดในกฎกระทรวง
                    ื่           ่ํ
    มาตรา ๑๖ ในกรณีมเี หตุอนใดนอกจากทีบญญัติไว้ ในมาตรา ๑๓ เกียวกับเจ้ าหน้ าทีหรือกรรมการใน
                                    ื่        ่ ั                          ่              ่
คณะกรรมการทีมอานาจพิจารณาทางปกครอง ซึ่งมีสภาพร้ ายแรงอันอาจทําให้ การพิจารณาทางปกครองไม่
                       ่ ีํ
เป็ นกลาง เจ้ าหน้ าทีหรือกรรมการผู้น้ันจะทําการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นไม่ ได้
                            ่
- ประธาน ปปช. แจ้ง นายกฯ ว่า การกระทําของผู้ฟ้องคดีขณะเป็นปลัด ทต.บ้านค่าย
เป็นความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรงฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการและฐานประพฤติชั่วอย่าง
ร้ ายแรงตามาตรา ๘๒ วรรสาม มาตรา ๙๘ วรรคสองฯ ให้ นายกฯพิจารณาโทษทางวินัยตาม
มาตรา ๙๒ วรรคหนึ่งฯ
      - นายกฯ เสนอเรื่ อ งต่ อ กทจ.ให้ ล งโทษปลดผู้ ฟ้ องคดี อ อกจากราชการ กทจ.มี ม ติ
เห็นชอบ นายกฯ จึงออกคําสั่ งปลดผู้ฟ้องคดีออกจากราชการผู้ฟ้องคดียื่นอุทธรณ์ กทจ. มีมติ
ยกอุทธรณ์เพราะเห็นว่า ไม่ได้อุทธรณ์ดุลพินิจในการสั่งลงโทษของ กทจ. ว่าไม่เหมาะสม
อย่ างไร แต่ อุทธรณ์ การวินิจฉัยข้ อเท็จจริงของ ปปช. ซึ่งขัดมาตรา ๙๖ พรบ.ปปช.ฯ
      - จึงนําคดีมาฟ้ องศาลขอให้ เพิกถอนคําสั่ งลงโทษ
- ประเดนย่อย ๑ การไต่ สวนของอนุกรรมการไต่ สวนฯ ชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่
             ็
   - ทีอ้างว่ า การแต่ งตั้ง พสส. คดีที่นาย ม. กล่ าวโทษผู้ฟองคดีเป็ นอนุกรรมการไต่ สวน
       ่                                                    ้
ไม่ชอบด้วยมาตรา ๔๖ (๑)(๒)(๔) [รู้ เห็นเหตุการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่กล่าวหามาก่อน มี
ส่ วนได้ เสี ยในเรื่ องที่กล่ าวหา และเป็ นผู้กล่ าวหา] และทั้งสองก็ไม่ ได้ รายงานประธาน
ปปช. ตามมาตรา ๔๖ [กรณีอนุกรรมการฯ มีลักษณะดังกล่าว ให้ผู้น้ันแจ้งต่อประธาน
ปปช.โดยเร็ว ระหว่ างนั้นห้ ามยุ่งเกียวกับการดําเนินการของอนุกรรมการ] จึงไม่อาจรับ
                                       ่
ฟังรายงานและความเห็นของ คกก.ปปช. มาพจารณาโทษทางวินัยผู้ฟองคดีได้ เห็นว่า
                                                    ิ                       ้
ผู้ฟองคดีได้ รับแจ้ งคําสั่ งแต่ งตั้งอนุ กก. และให้แจ้งคัดค้านภายใน ๗ วันต่อประธาน
    ้
ปปช. ถ้ าไม่ ยนคัดค้ านถือว่ าไม่ ประสงค์ คดค้ าน
                  ื่                          ั
 - อย่ างไรกตาม ปัญหาคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่เป็นปัญหาความสงบฯ ศาลหยบยกขึน
                ็                                                                  ิ   ้
พิจารณาได้
การตระเตรียม ดําเนินการจัดทําคําสั่งทางปกครอง
    ประสิทธิภาพ              เปดเผย
       สืบสวน               1.ทราบขอเท็จจริงอยาง
                               เพียงพอ
       สอบสวน               2.ใหสิทธิโตแยง

          ไตสวน             ตรวจสอบเอกสารได        36
มาตรา ๒๙ เจ้ าหน้ าทีต้องพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นว่ า จําเป็ นแก่ การพิสูจน์ ข้อเท็จจริง ใน
                                       ่
การนี้ ให้ รวมถึงการดําเนินการดังต่ อไปนี้
             (๑) แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่ างทีเ่ กียวข้ อง    ่
             (๒) รับฟังพยานหลักฐาน คําชี้แจง หรื อความเห็นของคู่กรณี หรื อของพยานบุคคลหรื อพยาน
ผู้เชี่ ยวชาญที่คู่กรณีกล่ าวอ้ าง เว้ นแต่ เจ้ าหน้ าที่เห็นว่ าเป็ นการกล่ าวอ้ างที่ไม่ จําเป็ นฟุ่ มเฟื อยหรื อเพื่อประวิง
เวลา
             (๓) ขอข้ อเท็จจริงหรือความเห็นจากคู่กรณี พยานบุคคล หรือพยานผู้เชี่ยวชาญ
             (๔) ขอให้ ผู้ครอบครองเอกสารส่ งเอกสารทีเ่ กียวข้ อง     ่
             (๕) ออกไปตรวจสถานที่
             คู่กรณีต้องให้ ความร่ วมมือกับเจ้ าหน้ าที่ในการพิสูจน์ ข้อเท็จจริง และมีหน้ าที่แจ้ งพยานหลักฐานที่
ตนทราบแก่ เจ้ าหน้ าที่
             พยานหรือพยานผู้เชี่ยวชาญที่เจ้ าหน้ าที่เรียกมาให้ ถ้อยคําหรือทําความเห็นมีสิทธิได้ รับค่ าป่ วยการ
ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการทีกาหนดในกฎกระทรวง
                                 ่ํ                                                                                      37
มาตรา ๓๐ ในกรณีที่คําสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่
ตองใหคูกรณีมีโอกาสที่จะไดทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอ และมีโอกาสไดโตแยงและ
แสดงพยานหลักฐานของตน
     ความในวรรคหนึ่ ง มิ ใ ห นํ า มาใช บั ง คั บ ในกรณี ดั ง ต อ ไปนี้ เว น แต เ จ า หน า ที่ จ ะ
เห็นสมควรปฏิบัติเปนอยางอื่น
     (๑) เมื่อมีความจําเปนรีบดวนหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกอใหเกิดความเสียหาย
อยางรายแรงแกผูหนึ่งผูใดหรือจะกระทบตอประโยชนสาธารณะ
     (๒) เมื่อจะมีผลทําใหระยะเวลาที่กฎหมายหรือกฎกําหนดไวในการทําคําสั่งทาง
ปกครองตองลาชาออกไป
     (๓) เมื่อเปนขอเท็จจริงที่คูกรณีนั้นเองไดใหไวในคําขอ คําใหการหรือคําแถลง
     (๔) เมื่อโดยสภาพเห็นไดชัดในตัววาการใหโอกาสดังกลาวไมอาจกระทําได
     (๕) เมื่อเปนมาตรการบังคับทางปกครอง
     (6)                                                                                              38

            กรณีอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
กรณี ปลดรองนายก?
                   39
คําพิพากษาศาลปกครองคดีไมตองใหโอกาสชี้แจงขอเท็จจริง
        คําพิพากษาศาลปกครองขอนแกนที่ ๑๔๒/๒๕๔๘ นายกองคการบริหารสวนตําบลมีคําสั่งถอด
ถอนรองนายกฯ ใหพนจากตําแหนงตามมาตรา ๕๙ (๓) แหง พรบ.สภาตําบลและองคการบริหารสวน
ตําบล การที่ผูไดการแตงตั้งเปนรองนายกฯ จะอยูปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงรองนายกฯ ในระยะเวลาเทาใด
หรือจะถูกถอดถอนเมื่อใด จึงเปนอํานาจของนายกฯ เมื่อนายกฯ เห็นวา การปฏิบัติหนาที่ของรองนายกฯ
ไมบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายที่นายกฯ ไดใหไวกับประชาชน นายกฯ จึงไดออกคําสั่งถอดถอนรอง
นายกฯ จึงเปนการใชอํานาจที่กฎหมายกําหนดไว
        แตโดยที่คําสั่งถอดถอนรองนายกฯ เปนคําสั่งทางปกครอง ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิของรองนายกฯ
ต อ งเป น ไปตาม มาตรา ๓๐ วรรคแรก ที่ บั ญญั ติ ใ ห เ จ า หน า ที่ ค วรให คู ก รณี มี โ อกาสที่ จ ะได รั บ ทราบ
ขอเท็จจริงอยางเพียงพอ และมีโอกาสแสดงพยานหลักฐานของตน แตความในวรรคแรกไดรับการยกเวน
มิตองนํามาใชบังคับ หากเปนกรณีที่กําหนดไวตามวรรคสอง รวม ๖ ประการ โดยมีกรณีที่ (๖) เปนกรณี
ที่กําหนดไวในกฎกระทรวง การใหพนจากตําแหนง จึงเปนคําสั่งที่ไดรับการยกเวนที่ไมตองแจงใหคูกรณี
ไดมีโอกาสทราบขอเท็จจริงและโตแยงหรือแสดงพยานหลักฐานกอน (และคําพิพากษาศาลปกครองสงขลา
ที่ ๒๐๕/๒๕๕๑ วินิจฉัยทํานองเดียวกัน)                                                                               40
• คําพิพากษาศาลปกครองสงขลาที่ ๒๐๕/๒๕๕๑ นายกเทศมนตรีมีคําส่ ังให้พ้นจากตําแหน่งตาม
  มาตรา 48 โสฬส วรรคหนึ่ ง (2) แห่ ง พระราชบัญญั ติเทศบาล พ.ศ.2496 นั น กฎหมายมิไ ด้
                                                                               ้
  กําหนดหลั กเกณฑ์ หรื อเงื่อนไขว่ า นายกเทศมนตรี จะมีคําสั่ง ให้ ร องนายกเทศมนตรี พ้ นจาก
  ตําแหน่ งในกรณีใดบ้ าง จึงเป็ นกรณีท่ ีกฎหมายมีเจตนารมณ์ ท่ ีจะให้ อํานาจนายกเทศมนตรี ใช้
  ดุ ล พินิ จ ในการออกคําสั่ งให้ ร องนายกเทศมนตรี พ้น จากตํา แหน่ ง ตามความเหมาะสม ทัง นี ้  ้
  เพ่ ือให้การบริหารงานของเทศบาลรวมทังของนายกเทศมนตรีบรรลุผลตามนโยบายท่ ีได้แถลงไว้ต่อสภา
                                         ้
  เทศบาล ดังนัน เมื่อใดก็ตามที่นายกเทศมนตรี เห็นว่ า ไม่ จาเป็ นที่จะต้ องมีรองนายกเทศมนตรี
                   ้                                        ํ
  ต่อไป หรือรองนายกเทศมนตรีท่ ีแต่งตังไว้ไม่เหมาะสมหรือไม่อาจปฏิบัติงานร่วมกันต่อไปได้
                                             ้
  นายกเทศมนตรี ย่ อ มมี อํา นาจสั่ ง ให้ ร องนายกเทศมนตรี พ้ น จากตํ า แหน่ ง ได้ ดั ง นั น การที่
                                                                                          ้
  นายกเทศมนตรี ออกคําสั่งที่ 234/2547 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2547 ให้ผ้ ูฟองคดีพ้นจากตําแหน่ง
                                                                         ้
  รองนายกเทศมนตรี จึงเป็นการกระทาท่ ีชอบด้วยกฎหมายแล้ว (และคําพิพากษาศาลปกครอง
                                           ํ
  ขอนแก่ นที่ 142/2548 วินิจฉัยทํานองเดียวกัน)
                                                                                              41
ให้ตรวจดเอกสาร มาตรา 31 32
                          ู
•     คู ก รณีมี สิ ท ธิ ข อตรวจดู เ อกสารที่ จํ า เป นตอ งรู เ พื่อ การ
    โตแยงหรือชี้แจงหรือปองกันสิทธิของตนได แตถายังไมได
    ทําคําสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น คูกรณีไมมีสิทธิขอตรวจดู
    เอกสารอันเปนตนรางคําวินิจฉัย
                                     •
     เจ า หน า ที่ อ าจไม อ นุ ญ าตให ต รวจดู เ อกสารหรื อ
    พยานหลักฐานได ถาเปนกรณีที่ตองรักษาไวเปนความลับ
                                                                               42
การออกคําสังทางปกครอง
                                  ่

        แบบของคําสัง
                   ่                         การแจ้งคาสงทางปกครอง
                                                     ํ ั่

รปแบบคาสง
 ู    ํ ั่         การให้เหตผล
                            ุ        คําสังทางปกครอง
                                          ่
                                                                 เงื่อนไขการแจ้ง
                                      มีผลเมื่อได้แจ้ง
                                     แจ้งอย่างไร     แจ้งแก่ใคร แจ้งอะไร
 วาจา        หนังสือ     รปแบบอื่น
                          ู            เจาะจงตัว         ผูรบคําสัง
                                                          ้ ั     ่   สาระสําคัญ
                                      ปิดประกาศ            ผแทน
                                                              ู้       ของคําสัง
                                                                               ่
        ระบุรายการต่าง ๆ             ประกาศ นสพ.                             43
                                          FAX
มาตรา ๓๗ คาสงทางปกครองท่ทาเป็นหนังสอและการยนยนคาสง่ั ทางปกครองเป็นหนังสอตองจด
                         ํ ั่                      ีํ           ื             ื ั ํ                 ื ้ ั
ใหมีเหตผลไวดวย และเหตผลน้นอย่างนอยตองประกอบดวย
   ้ ุ ้้                      ุ ั         ้ ้                        ้                          ก ร ณี ป ล ด
          (๑) ข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญ
                                                                                                 รองนายก
          (๒) ขอกฎหมายท่อา้ งอง
                ้               ี ิ
          (๓) ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุ นในการใช้ดลพินิจ        ุ
          นายกรัฐมนตรีหรือผูซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให้คาสัง่
                                    ้                                                                     ํ
ทางปกครองกรณีหน่ึ งกรณีใดตองระบเุ หตผลไวในคาสง่ั น้นเองหรอในเอกสารแนบทายคาสง่ั น้นกได ้
                                  ้           ุ ้ ํ ั                       ื            ้ ํ ั ็
          บทบญญตตามวรรคหน่ึ งไม่ใชบงคบกบกรณีดงต่อไปน้ ี
               ั ัิ                            ้ั ั ั             ั
          (๑) เป็นกรณีท่มีผลตรงตามคาขอและไม่กระทบสทธและหนาท่ของบคคลอน
                             ี              ํ                           ิ ิ       ้ ี ุ ่ื
          (๒) เหตผลน้นเป็นท่รูกนอยู่แลวโดยไม่จาตองระบอก
                  ุ ั                 ี้ั       ้         ํ ้            ุี
          (๓) เป็นกรณีท่ตองรกษาไวเ้ ป็นความลบตามมาตรา ๓๒
                            ี ้ ั                       ั
          (๔) เป็นการออกคาสงทางปกครองดวยวาจาหรอเป็นกรณีเรงด่วน แต่ตองใหเ้ หตผลเป็นลายลกษณ์
                                 ํ ั่                 ้             ื           ่      ้     ุ          ั       44
อกษรในเวลาอนควรหากผูอยู่ในบงคบของคาสง่ั น้นรองขอ
 ั          ั             ้            ั ั        ํ ั ้
รูปแบบของคําสังทางปกครองที่ เป็ นหนังสือ
              ่
1. วัน เดือน ปี ที่ออกคําสัง
                           ่
2. ชื่อ/ตาแหน่ง/ลายมือชื่อเจ้าหน้ าทีผออกคําสัง
         ํ                            ู้      ่
3. เหตุผล โดย
    - ต้องมีข้อเทจจริง
                 ็
    - ข้อกฎหมาย.
    - ข้อพิจารณา
                                                  45
    - ข้อสนับสนุนในการใช้ดลพินิจ
                          ุ
คาพพากษาศาลปกครองคดีไม่แจงเหตผลในการออกคาสง่ั
            ํ ิ                     ้ ุ            ํ
• คาพพากษาศาลปกครองขอนแก่นท่ี ๓๒๑/๒๕๕๒ แม้ตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติเทศบาลจะ
     ํ ิ
                         ้
  กําหนดให้การแต่งตังและถอดถอนรองนายกเทศมนตรีเป็ นอํานาจและดุลยพินิจของผูถูกฟ้ องคดีท่ี 1
                                                                                       ้
                     ้                ้                     ั                ้
  และการได้มาซึ่งผูดํารงตําแหน่ งผูถูกฟ้ องคดีท่ี 1 ในปัจจุบนมาจากการเลือกตังโดยตรงของประชาชน
  แต่โดยการใชอานาจของผูถกฟ้องคดีท่ี 1 ตามกฎหมายที่มีผลกระทบต่อสิทธิหน้าที่ของประชาชนหรือผู ้
                  ้ํ           ู้
  ท่ีอยู่ภายใตอานาจ จึงย่อมตองอยู่ภายใตหลกการของการกระทําทางปกครองตองชอบดวยกฎหมาย
               ้ํ                 ้           ้ ั                              ้         ้
                             ้             ้ั
  การท่ีกฎหมายกําหนดใหการแต่งตงและถอดถอนรองนายกเทศมนตรีเป็นอานาจและดุลยพินิจของ
                                                                           ํ
  นายกเทศมนตรี(ผูถูกฟ้ องคดีท่ี 1) จึงมีความหมายแต่เพียงให้อานาจนายกเทศมนตรีในลักษณะเป็ น
                       ้                                        ํ
                                                      ้
  อํานาจดุลยพินิจที่จะเลือกและตัดสินใจในการแต่งตังและถอดถอนรองนายกได้ดวยตนเอง แต่ตอง
                                                                                 ้          ้
                  ้ ้                   ้ั
  ดําเนินการใหถูกตองตามรูปแบบขนตอนหรือภายในขอบเขตของกฎหมาย หาไดหมายความว่าเป็น     ้
  การให้อานาจแก่นายกเทศมนตรีในการออกคําสัง่ ให้รองนายกเทศมนตรีพนจากตําแหน่ งได้โดยอิสระ
            ํ                                                            ้
  ตามอําเภอใจ โดยไร้ขอบเขตหรือโดยปราศจากหลักเกณฑ์แต่อย่างใด คําสัง่ ของผูถูกฟ้ องคดีท่ี 1 จึง
                                                                                     ้          46

  เป็นคาสงทางปกครองท่ไม่ชอบดวยกฎหมาย
          ํ ั่             ี        ้
4. ชั้นทบทวนคําสั่งทางปกครอง

                                 การทบทวนโดยเจาหนาที่
          การอุทธรณ                                            การขอใหพิจารณาใหม
                                     การเพิกถอนคําสั่ง
คูกรณีตองอุทธรณเปน   การอุทธรณไมเปนการ   1. มีพยานหลักฐานใหม
หนังสือภายใน 15 วัน         ทุเลาการบังคับ      2. คูกรณีที่แทจริงไมไดเขามาใน
    นับแตไดรับแจง           ตามคําสั่ง          กระบวนการ
                                                3. จนท. ไมมีอํานาจทําคําสั่ง
                                                4. ขอเท็จจริงหรือกฎหมายเปลี่ยนแปลง
                                                                                      47
มาตรา ๔๔ ภายใตบังคับมาตรา ๔๘ ในกรณีที่คําสั่งทางปกครองใด
ไมไดออกโดยรัฐมนตรี และไมมีกฎหมายกําหนดขั้นตอนอุทธรณภายในฝาย
ปกครองไวเปนการเฉพาะ ใหคูกรณีอุทธรณคําสั่งทางปกครองนั้นโดยยื่นตอ
เจาหนาที่ผูทําคําสั่งทางปกครองภายในสิบหาวัน นับแตวันที่ตนไดรับแจงคําสั่ง
ดังกลาว
         คําอุทธรณตองทําเปนหนังสือโดยระบุขอโตแยงและขอเท็จจริงหรือขอ
กฎหมายที่อางอิง ประกอบดวย
         การอุทธรณไมเปนเหตุใหทุเลาการบังคับตามคําสั่งทางปกครอง
เวนแตจะมีการสั่งใหทุเลาการบังคับตามมาตรา ๕๖ วรรคหนึ่ง
                                                                         48
กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
1.   ต้ องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการที่กฎหมายเฉพาะนั้นกําหนดไว้ เป็ นหลัก แต่ มีมาตรฐาน
     ไม่ ตํ่ากว่ า กม.วิ.ปกครองฯ และวิธีปฏิบัติราชการให้ เป็ นตาม กม.วิ.ปกครองฯ (มาตรา ๓ และ
     มาตรา ๕)
2.   เตรียมการและดําเนินการโดยเจ้ าหน้ าที่ผู้มีอานาจ (มาตรา ๑๒)
                                                 ํ
3.   ซึ่งไม่มส่วนได้เสีย (มาตรา ๑๓ - ๑๖)
              ี
4.   คู่กรณีต้องมีความสามารถ (ม.๒๑ – ๒๒)
5.   ต้ องแจ้ งสิ ทธิหน้ าทีในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง (มาตรา ๒๗)
                            ่
6.   ต้ องพิจารณาพยานหลักฐานทีเ่ กียวข้ องทุกอย่ าง (มาตรา ๒๙)
                                     ่                                                    49
กฎหมายวิธีปฏิบตราชการทางปกครอง
                             ั ิ
8.    ต้ องให้ ผู้ถูกออกคําสั่ งได้ ทราบข้ อเท็จจริ งอย่ างเพียงพอและมีโอกาสได้ โต้ แย้ งและแสดงพยานหลักฐาน
      ของตน (มาตรา ๓๐)
9.    ได้ ตรวจดูเอกสารของเจ้ าหน้ าที่ (มาตรา 31,32)
10.   คําสั่ งทางปกครองเป็ นหนังสื อ จะต้ องสรุ ปข้ อเท็จจริงและเหตุผล และอ้ างตัวบทกฎหมายรับรองอํานาจใน
      การออกคําสั่ ง (มาตรา ๓๗)
11.   หากออกคําสั่ งแล้ วไปกระทบสิ ทธิของผู้ใด ผู้ที่ถูกกระทบสิ ทธิจากการออกคําสั่ งสามารถอุทธรณ์ คําสั่ งทาง
      ปกครองนั้นได้ (มาตรา ๔๔)
12.   รวมทั้งหากมีข้อเท็จจริงเกิดขึนใหม่ ทจะทําให้ การพิจารณามีคาสั่ งของเจ้ าหน้ าที่เปลี่ยนไป ก็สามารถขอให้
                                       ้       ี่                     ํ
      มีการพิจารณาใหม่ ได้ (มาตรา ๕๔)
13.   หากออกคําสั่ งทางปกครองไปแล้ ว แต่ ผู้รับคําสั่ งฝ่ าฝื น เจ้ าหน้ าที่อาจนํามาตรการบังคับทางปกครองมา
      ใช้ กบผู้ฝ่าฝื นได้ อก (มาตรา ๕๘)
           ั               ี                                                                           50
• อํานาจ
เจ้ าหน้ าที่    • ความเปนกลาง
                • ประสิทธิภาพ ไตสวน
วิธีการ         • เปดเผย ใหโอกาสคูกรณี
                • ใหแจงขอมูล ใหสิทธิ์โตแยง
ขันตอน
  ้             • ผานการใหความเหนชอบ
                                    ็
                • สรุปขอเท็จจริง
 รู ปแบบ        • อางขอกฎหมาย
                • ขอสนับสนนในการใชดลพนจ
                             ุ       ุ ิ ิ         51
การดําเนินการเพื่อออกคําสั่งทางปกครอง
                        แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน

                        รวบรวมหลักฐานฝายกลาวหา

แจงขอเท็จจริงที่เปนเหตุผลในการออกคําสั่ง   ใหโอกาสชี้แจงแสดงพยานหลักฐาน

                  การพิจารณาความผิด การพิจารณาโทษ

                คณะกรรมการเสนอความเห็นไปยังผูแตงตั้ง

                        ขอความเห็นชอบตามขั้นตอน

                      ออกคําสั่งทางปกครอง                                     52
คาถาม
   ํ
                          1. เป็นการใชอานาจ
                                      ้ํ
    1. สตง.ช้ ีมูล           ตามกฎหมายใด
    2. ปปช.ช้ ีมูล        2. กระทบต่อสิทธิหน้าที่
                             อย่างไร
    3. เป็นคาสง่ั
              ํ
ทางปกครองหรอไม่ อย่างไร
           ื
                                                53
ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาหรอมีคาสงในเรองดงต่อไปนี้
            ํ                   ื ํ ั่     ื่ ั
   คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐกระทําการ
   โดยไมชอบดวยกฎหมาย ไมวาจะเปน การออกกฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใด
   เนื่องจาก กระทําโดยไมมีอํานาจ หรือนอกเหนืออํานาจหนาที่ หรือไมถูกตอง
   ตามกฎหมาย หรื อโดยไม ถู กต องตามรู ปแบบขั้ นตอน หรื อวิ ธี การอั นเป น
   สาระสําคัญที่กําหนดไวสําหรับการกระทํานั้น หรือโดยไมสุจริต หรือมีลักษณะ
   เปนการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม หรือมีลักษณะเปนการสรางขั้นตอนโดยไม
   จําเปน หรือสรางภาระใหเกิดกับประชาชนเกินสมควร หรือเปนการใชดุลพินิจ
   โดยมิชอบ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐
             มาตรา ๒๘๒         การกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองทําเทาที่จําเปนและมี
หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ชัดเจนสอดคลองและเหมาะสมกับรูปแบบขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยตองเปนไปเพื่อการคุมครองประโยชนของประชาชนในทองถิ่น
หรือประโยชนของประเทศเปนสวนรวม และจะกระทบถึงสาระสําคัญแหงหลักการปกครองตนเองตาม
เจตนารมณของประชาชนในทองถิ่น หรือนอกเหนือจากที่กฎหมายบัญญัติไวมิได
        ในการกํากับดูแลตามวรรคหนึ่ง ใหมีการกําหนดมาตรฐานกลางเพื่อเปนแนวทางใหองคกร
ปกครองสวนทองถิ่นเลือกไปปฏิบัติไดเอง โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและความแตกตางในระดับของ
การพัฒนาและประสิทธิภาพในการบริหารขององคกรปกครองสวนทอ งถิ่นในแตละรูปแบบโดยไม
กระทบตอความสามารถในการตัดสินใจดําเนินงานตามความตองการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น           55

รวมทั้งจัดใหมีกลไกการตรวจสอบการดําเนินงานโดยประชาชนเปนหลัก
เหตุที่ทําใหการกระทําทางปกครองไมชอบดวยกฎหมาย
 1.    โดยไมมีอํานาจ
 2.    นอกเหนืออํานาจหนาที่
 3.    โดยไมถูกตองตามกฎหมาย
 4.    โดยไมถูกตองตามรูปแบบขั้นตอน
 5.    โดยไมถูกตองตามวิธีการอันเปนสาระสําคัญ
 6.    โดยไมสุจริต
 7.    โดยเลือกปฏิบัติไมเปนธรรม
 8.    โดยสรางขั้นตอนโดยไมจําเปน
 9.    โดยมีลักษณะเปนการสรางภาระใหเกิดกับประชาชนเกินสมควร   56
 10.   โดยใชดุลพินิจไมชอบ
1.กรณีกระทําโดยไมมีอํานาจ
หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐจะดําเนินการใดๆ ที่กระทบตอสิทธิ เสรีภาพ หรือ
ประโยชนโดยชอบธรรมของประชาชนได ตอเมื่อมีกฎหมายบัญญัติใหอํานาจไวชัดแจง
    การกระทําที่ไมมีอํานาจคือ
    1. ไมมีกฎหมายใหอํานาจไว
    2. กระทําโดยเจาหนาที่ไมมีอํานาจตามกฎหมายในเรื่องนั้น
    3. เจาหนาที่ ไมไดรับมอบอํานาจ
    4. กฎหมายนั้นไมไดระบุใหมอบอํานาจ
    5. การมอบอํานาจไมชอบดวยกฎหมาย
    6. ออกคําสั่งฯ เมื่อพนระยะเวลา (คําสั่งตามมาตรา 12)                            57


                                                                      หน้าท่ ี 39
2.กรณีกระทํานอกอํานาจหนาที่
เป น กรณี ที่ ห น ว ยงานทางปกครองหรื อ เจ า หน า ที่ ข องรั ฐ มี อํ า นาจกระทํ า ได ต าม
กฎหมายอยูแลว และมีอํานาจหนาที่ที่จะดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง เพียงแตได
กระทําเกินกวาที่กฎหมายใหอํานาจอํานาจหนาที่ที่ตนมีอยู
คดี ห มายเลขแดงที่ อ. ๒๔๗/๒๕๕๒ เครื่ อ งอุ ป กรณ เ ด็ ก เล น ที่ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ติ ด ตั้ ง ใน
สวนสาธารณะประกอบไปดวยบันไดลื่น จํานวน ๔ ตัว อุโมงคสไลเดอร จํานวน ๔ ตัว
สะพานเชื่อมระหวางบันไดลื่น จํานวน ๒ ชุด โดยอุปกรณทั้งหมดเชื่อมติดตอกัน โดย
สภาพจึงเปนเครื่องอุปกรณเด็กเลนที่มีขนาดใหญที่กอใหเกิดเสียงดังรบกวนความเปนอยู
ของผูฟองคดีที่จะไดอยูดวยความสงบ อีกทั้งมีความสูงอันทําใหผูฟองคดีเสียความเปนสวน
ตัวการดําเนินการของผูถูกฟองคดี จึงเปนการใชอํานาจนอกเหนืออํานาจหนาที่ตามที่
                                                                                                 58
กฎหมายกําหนดอันเปนการไมชอบดวยกฎหมาย
3.กรณีกระทําโดยไมถูกตองตามกฎหมาย
กรณีที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐจะพิจารณาวินิจฉัยเพื่อมี
คําสั่งหรือดําเนินการในเรื่องหนึ่งเรื่องใดตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายบัญญัติ
ไว อันมีผลกระทบตอสิทธิของบุคคล หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่
ของรั ฐ จะต อ งพิ จ ารณาองค ป ระกอบของข อ เท็ จ จริ ง และข อ กฎหมายที่
เกี่ยวของใหครบถวนวาสอดคลองตองกันกอนออกคําสั่งหรือดําเนินการใน
เรื่องนั้นๆ การกระทําโดยไมถูกตองตามกฎหมายเปนกรณีที่หนวยงานทาง
ปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐออกกฎ หรือคําสั่งทางปกครอง หรือกระทําการ
ใดๆ ที่มีขอเท็จจริงขัดหรือแยงกับตัวบทกฎหมายแมบท หรือกฎหมายลําดับ
รอง หรือขัดรัฐธรรมนูญก็ได
     เนื้อหาของคําสังฯขัดหรือแยงตอกฎหมาย
                       ่
                                                                             59
     ออกกฎหรือคําสังฯ ไมเปนไปตามเงื่อนไขทีกฎหมายกําหนด
                         ่                       ่
   คําพิพากษาศาลปกครองสูง สุดที่ อ.๓๑๐/๒๕๕๐ การยายผูฟอ งคดีซึ่ง เปนพนักงานเทศบาลจาก
    ตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียน ระดับ ๘ ไปดํารงตําแหนงรักษาการในตําแหนงอาจารยใหญ ระดับ ๗
    โดยผูฟองคดีไมไดสมัครใจนั้น ผลของคําสั่งทําใหผูฟองคดีตองยายจากตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียน
    ซึ่งเปนตําแหนงที่มีเงินประจําตําแหนงไปดํารงตําแหนงรักษาการอาจารยใหญซึ่งเปนตําแหนงที่ไมมี
    เงินประจําตําแหนง ซึ่งขัดตอประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่อง มาตรฐานทั่วไป
    เกี่ยวกับหลักเกณฑและเงื่อนไขการคัดเลือก การบรรจุ แตงตั้ง การยาย การโอน การเลื่อนระดับ และ
    การเลื่อนขั้นเงินเดือน ขอ ๒๒ การยายพนักงานเทศบาลตําแหนงใดไปแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในสาย
    งานที่ต่ํากวาตําแหนงสายงานเดิมหรือระดับต่ํากวาเดิมหรือยายพนักงางานเทศบาลในตําแหนงสาย
    งานผูบริหารและผูบริหารสถานศึกษาไปแตงตั้งใหดํารงตําแหนงสายผูปฏิบัติงานใหกระทําไดตอเมื่อ
    พนักงานเทศบาลผูนั้นสมัครใจและไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานเทศบาล ยอมทําให
    ผู ฟ อ งคดี ไ ด รั บ ความเสี ย หาย จึ ง เป น การกระทํ า ละเมิ ดจากการปฏิ บัติ ห น า ที่ เทศบาลในฐานะ
    หนวยงานของรัฐในสังกัดจึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายใหแกผูฟองคดี
4. กรณีกระทําไมถูกตองตามรูปแบบ ขั้นตอน
  เปนกรณีที่กฎหมายกําหนดรูปแบบ ขั้นตอนไวใหในกรณีที่เจาหนาที่หรือหนวยงาน
  ของรัฐจะทําการออกกฎ คําสั่งทางปกครอง หรือปฏิบัติการทางปกครองในเรื่องใดเรื่อง
  หนึ่ง จําตองทําตามรูปแบบ ขั้นตอนที่กฎหมายกําหนด มิฉะนั้นแลวจะเปนการไมชอบ
  ดวยรูปแบบ หรือมิชอบดวยขั้นตอน ซึ่งแยกพิจารณาออกได 2 กรณี คือ ผิดรูปแบบ
  และผิดขั้นตอน
 1.   รูปแบบตามที่กฎหมายกําหนด (ม.34-37 วิ.ปกครอง กรณีคําสั่งทางปกครอง, เหตุผลประกอบ
      คําสั่งฯ,หากเปนหนังสือ ตองมีรายการครบ ฯลฯ)
 2.   ขั้นตอนตามที่กฎหมายกําหนด (ม.29-30 วิ.ปกครอง ใหแจงขอมูล ใหสิทธิ์โตแยง ,หรือกรณีที่
      กฎหมายใหคณะกรรมการพิจารณา ใหองคกรพิจารณากอน เพื่อขอคําปรึกษาหารือ หรือขอ
      ความเห็น)
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๒๑๒/๒๕๔๘ การที่นายอําเภอซึ่งเปนผูกํากับดูแล
 องค การบริห ารสวนตําบลจะใชอํานาจตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ
 บริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ วินิจฉัยใหสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลสิ้นสุด
 สมาชิ กภาพนั้น จะตอ งใหโ อกาสแกสมาชิกสภา ดังกลาวไดทราบขอ เท็จ จริงอยาง
 เพียงพอ และมีโอกาสโตแยงแสดงพยานหลักฐานของตน รวมทั้งตองวินิจฉัยโดยมี
 ขอเท็จจริงสนับสนุนอยางเพียงพอ ไมเชนนั้นยอมเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย
 คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๓๐/๒๕๕๐ กรณีที่นายกเทศมนตรีออกคําสั่งไม
  เลื่อนขั้นเงินเดือนใหแกผูฟองคดีตามความเห็นของปลัดเทศบาล โดยมิไดแจงผลการ
  ประเมิ น ใหผู ฟอ งคดีท ราบกอ นออกคํา สั่งดังกลาวตามมาตรา ๗๒ วรรคสาม แห ง
  พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกอบหนังสือสํานักงาน
  ก.พ. และหนังสือสํานักงาน ก.ท. จึงเปนกรณีที่ปฏิบัติไมถูกตองตามขั้นตอนและวิธีการ
  ที่กฎหมายกําหนด                                                               62
คําพิพากษาศาลปกครองพิษณุโลกที่ ๑๕๑/๒๕๕๐
 ผูฟองคดีเปนประธานกรรมการกําหนดราคากลางใชวัสดุและราคาที่ผูประมาณราคากอสรางจัดทําไวมา
  กําหนดเปนราคากลางโดยไมไดตรวจสอบหรือคํานวณปริมาณวัสดุโดยการถอดแบบ ราคาคากอสรางที่ทํา
  ไวผิดพลาด ราคากลางจึงผิดพลาดไปดวย เปนความผิดฐานไมเอาใจใสระมัดระวังรักษาผลประโยชนของ
  ทางราชการ และตรวจรับงานทั้งที่ไมครบแบบรูปรายการ บกพรองตอหนาที่ไมตรวจรับงานใหเปนไปตาม
  แบบแปลนและรายละเอียดในสัญญา อันเปนความผิดฐานไมเอาใจใสรักษาผลประโยชนของทางราชการ
  ทั้งสองกรณีเปนความผิดวินัยไมรายแรง เห็นควรตัดเงินเดือน 5% 3 เดือน แตคณะกรรมการสอบสวน
  ทางวินัยมิไดเรียกผูฟองคดีมาพบเพื่อแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนขอกลาวหา และ
  ไมจัดทําบันทึกตามแบบ สว. 3 จึงเปนการกระทําที่ไมเปนไปตามหลักเกณฑตามประกาศ ก.ทจ.
 การสอบปากคําผูถูกกลาวหาและพยานตองมีกรรมการสอบสวนไมนอยกวากึ่งหนึ่งจึงจะสอบสวนได การที่
  นําเอกสารรายงานการสอบสวนกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยมูลกรณีเดียวกันของ ทน.เชียงใหม อีก
  ทั้งผูถูกกลาวหาทั้ง 6 คน ไมใชพยานบุคคลในสํานวนการสอบสวนของผูฟองคดี และผูสอบปากคําก็ไมใช
  กรรมการสอบสวนในสํ านวนสอบสวนผู ฟอ งคดี จึ ง ไม อ าจถือ ว าข อ เท็ จ จริ ง ในรายงานการสอบสวน
  ดังกลาวเปนคําใหการพยานที่จะนํามาประกอบการสอบสวนลงโทษผูฟองคดีได
5. กรณีกระทําโดยไมถูกตองวิธีการอันเปนสาระสําคัญ
       โดยทั่วไป เจาหนาที่ของรัฐจะดําเนินการทางปกครองตามวิธีการตางๆ ซึ่งมี
รายละเอี ย ดและลั ก ษณะวิ ธี ก ารที่ ห ลากหลายแตกต า งกั น ตามสภาพของงานให
บรรลุผ ลตามวั ต ถุป ระสงค และเพื่ อให บ รรลุ ผลอย างมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บางครั้ ง
เจาหนาที่ของรัฐจะตองปรับวิธีการตาง ๆ ใหเหมาะสมกับสถานการณที่เปลี่ยนไป
ดวย โดยบางกรณีอาจใชวิธีการหนึ่ง แตอาจใชวิธีการอีกอยางหนึ่งในกรณีเดียวกัน
ดวยเหตุที่ฝายนิตบัญญัตเห็นวา การกระทําทางปกครองในกรณีใดๆ กรณีหนึ่งจําตอง
                 ิ      ิ
ใชวิธีการเดียวเทานั้นเพราะอาจเกิดผลกระทบตอประโยชนสาธารณะมากกวาที่จะ
ไดรับประโยชนจากการกระทําโดยวิธีอื่นใด จึงไดกําหนดวิธีการทางปกครองวิธีเดียว
เทานั้นที่เปนสาระสําคัญแหงการกระทํา หากเจาหนาที่ของรัฐไมปฏิบัติตามวิธีการ
ดังกลาว ถือวาเปนการกระทําไมชอบดวยกฎหมาย                                           64
 คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่         อ.๑๙๐/๒๕๔๙ ประธานสภามีหนาที่
  แจงใหสมาชิกสภาฯที่ถูกยื่นญัตติใหพนจากสมาชิกภาพไดทราบญัตติ
  กอนการประชุมสภาฯ เพื่อเตรียมหลักฐานชี้แจงแกขอกลาวหาตาม
  ระยะเวลาที่ กํ า หนดไว ใ นข อ บั ง คั บ กระทรวงมหาดไทยว า ด ว ยการ
  ประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๘ ซึ่งตองดําเนินการ
  ใหเปนไปตามหลักเกณฑของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงาน
  สารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ เมื่อไมปรากฏวาสมาชิกสภาฯ ที่ถูกยื่นญัตติ
  ไดรับการแจงญัตติตามที่กฎหมายกําหนด การที่สภาฯ มีมติใหสมาชิก
  สภาฯ ดังกลาวพนจากสมาชิกภาพ จึงเปนการออกคําสั่งโดยไมถูกตอง
  ตามรูปแบบ ขั้นตอน หรือวิธีการอันเปนสาระสําคัญที่กฎหมายกําหนด
  ไวสําหรับการกระทํานั้น                                            65
6.กระทําโดยไมสุจริต
(การใชอํานาจเพื่อประโยชนสวนตัว)
เจาหนาที่ของรัฐใชกฎหมายที่ใหอํานาจไวสําหรับการกระทํานั้น มาปรับใช
อํานาจบิดเบือนใหสอดคลองกับขอเท็จจริงการกระทําโดยมีเจตนา หรือ
วัตถุประสงคนอกเหนือไปจากวัตถุประสงคที่กฎหมายใหอํานาจไว เพื่อ
แสวงหาประโยชน ส ว นตั ว หรื อ ของผู อื่ น ไม ไ ด ก ระทํ า การเพื่ อ คุ ม ครอง
ประโยชน ส าธารณะ โดยหลั ก จะพิ จ ารณาจากมู ล เหตุ (motif) ของ
เจาหนาที่ผูกระทําทางปกครองนั้น ๆ วา ไดดําเนินการทางปกครองไปเพื่อ
บรรลุเจตนารมณของกฎหมายนั้นหรือไม โดยใชเหตุผลสวนตัวแอบแฝง                          66
หรือโดยกลั่นแกลงผูรับคําสั่งทางปกครองหรือไม
• คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. ๙๐/๒๕๔๗ ผูฟองคดีเปนขาราชการในสังกัดอบจ. ตําแหนง
  เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ๖ สวนอํานวยการ มีหนาที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานบริหารทั่วไป
  หรืองานเลขานุการที่ยากมาก โดยตองประยุกตใชความรูและประสบการณกับงานที่ปฏิบัติเพื่อ
  กําหนดและปรับเปลี่ยนแผนงานเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด โดยไมตองมี
  การกํากับตรวจสอบแนะนํา โดยสามารถวางแผนการปฏิบัติงานเองและตัดสินใจแกไขปรับเปลี่ยน
  แผนหรือแกไขปญหาในงานที่รับผิดชอบโดยอิสระ แตอบจ. ไดมีคําสั่งใหผูฟองคดีไปปฏิบัติงาน
  ประจํา ณ ทาเทียบเรือรัษฎา ซึ่งเปนทาเทียบเรือที่ใหเอกชนเชาดําเนินการ โดยมีหนาที่รับผิดชอบ
  ดูแลการใชทาเทียบเรือรัษฎาใหเปนไปโดยความเรียบรอยและประสานงานระหวางผูเชาทาเทียบ
  เรือรัษฎากับอบจ. และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินการทาเทียบเรือรัษฎา ในขณะที่
  อบจ. ไดมีคําสั่งใหผูฟองคดีไปปฏิบัติงานประจํา ณ ทาเทียบเรือ สวนอํานวยการของอบจ. มี
  กรอบอัตรากําลังขาราชการจํานวน ๙ อัตรา และมีขาราชการตามกรอบอัตรากําลังจริงจํานวน ๖
  อัตรา ผูฟองคดีเห็นวาการออกคําสั่งดังกลาวเปนการกลั่นแกลงจนไดรับความเดือดรอนเปนการ
  กระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย
                                                                                                   67
7.กรณีความเสมอภาค)โดยเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม
 (ขัดตอหลัก
             กระทํา
  การกระทําของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐที่มีลักษณะเปนการเลือก
 ปฏิ บั ติ ที่ ไ ม เ ป น ธรรมนั้ น ถื อ เป น การกระทํ า ที่ ขั ด ตอ หลั ก ความเสมอภาคอั น เป น หลั ก
 รัฐธรรมนูญทั่วไป
  หลักความเสมอภาคเปนหลักกฎหมายที่รองรับสิทธิของราษฎรที่จะไดรับการปฏิบัติ
 จากรัฐอยางเทาเทียมกัน ซึ่งมีความหมายวาองคกรตางๆ ของรัฐรวมทั้งฝายปกครองตอง
 ปฏิบัติตอบุคคลที่เหมือนกันในสาระสําคัญอยางเดียวกัน และปฏิบัติตอบุคคลที่แตกตางกัน
 ในสาระสําคัญแตกตางกันออกไปตามลักษณะเฉพาะของแตละคน
  การปฏิบัติตอบุคคลที่เหมือนกันในสาระสําคัญแตกตางกันก็ดี การปฏิบัติตอบุคคลที68                        ่
 แตกตางกันในสาระสําคัญอยางเดียวกันก็ดี ยอมขัดตอหลักความเสมอภาค
ขอคยกเวหมายที่ชอบธรรม กลาวคือ มีความมุงหมายเพื่อ
มี วามมุ ง
             น
 รั ก ษาหรื อ ก อ ให เ กิ ด ประโยชน ส าธารณะตามที่ ก ฎหมายที่ ใ ห
 อํานาจไว เพื่อจะใหความคุมครอง หรือจะใหเกิดขึ้น
เปนมาตรการที่สามารถดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคที่ชอบ
 ธรรมนั้นไดจริงในทางปฏิบัติ
เปนมาตรการที่จําเปนแกการดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคที่           69

 ชอบธรรมนั้น
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.
แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.

More Related Content

Viewers also liked

Social media @ Onlined
Social media @ OnlinedSocial media @ Onlined
Social media @ OnlinedMihai Stanciu
 
Hybrid format resume workshop
Hybrid format resume workshopHybrid format resume workshop
Hybrid format resume workshopJesseButler
 
52374047 teknik-kaedah-dan-strategi-dalam-p-p-pj
52374047 teknik-kaedah-dan-strategi-dalam-p-p-pj52374047 teknik-kaedah-dan-strategi-dalam-p-p-pj
52374047 teknik-kaedah-dan-strategi-dalam-p-p-pjeida Idahyunizah
 
Педагогический сюрприз.
Педагогический сюрприз.Педагогический сюрприз.
Педагогический сюрприз.Svetlana1973
 
Big ppg panduan dan jadual pelaksanaan ppg10jan2012
Big ppg panduan dan jadual pelaksanaan ppg10jan2012Big ppg panduan dan jadual pelaksanaan ppg10jan2012
Big ppg panduan dan jadual pelaksanaan ppg10jan2012eida Idahyunizah
 
Tatap muka 2 hidup yg sukses
Tatap muka 2  hidup yg suksesTatap muka 2  hidup yg sukses
Tatap muka 2 hidup yg suksesstephaniejessey
 
Bab i etika tanggung jwb bisnis oleh stephanie tepp S1 akuntansi A UNJ 2016
Bab i etika tanggung jwb bisnis oleh stephanie tepp S1 akuntansi A UNJ 2016Bab i etika tanggung jwb bisnis oleh stephanie tepp S1 akuntansi A UNJ 2016
Bab i etika tanggung jwb bisnis oleh stephanie tepp S1 akuntansi A UNJ 2016stephaniejessey
 
Pertemuan ii mankiw krugman
Pertemuan ii mankiw krugmanPertemuan ii mankiw krugman
Pertemuan ii mankiw krugmanstephaniejessey
 
Bab 9 ppt memotivasi karyawan - stephanie akuntansi A UNJ 2016
Bab 9 ppt memotivasi karyawan -  stephanie akuntansi A UNJ 2016Bab 9 ppt memotivasi karyawan -  stephanie akuntansi A UNJ 2016
Bab 9 ppt memotivasi karyawan - stephanie akuntansi A UNJ 2016stephaniejessey
 
Kekuatan impian Stephanie Akuntansi A UNJ 2016
Kekuatan impian Stephanie Akuntansi A UNJ 2016Kekuatan impian Stephanie Akuntansi A UNJ 2016
Kekuatan impian Stephanie Akuntansi A UNJ 2016stephaniejessey
 
Tatap muka 4 tujuan hidup orang kristen
Tatap muka 4 tujuan hidup orang kristenTatap muka 4 tujuan hidup orang kristen
Tatap muka 4 tujuan hidup orang kristenstephaniejessey
 
Como crear una blog en blogger marcony
Como crear una blog en blogger marconyComo crear una blog en blogger marcony
Como crear una blog en blogger marconymarcopapa
 

Viewers also liked (15)

Social media @ Onlined
Social media @ OnlinedSocial media @ Onlined
Social media @ Onlined
 
Hybrid format resume workshop
Hybrid format resume workshopHybrid format resume workshop
Hybrid format resume workshop
 
Sexy
SexySexy
Sexy
 
52374047 teknik-kaedah-dan-strategi-dalam-p-p-pj
52374047 teknik-kaedah-dan-strategi-dalam-p-p-pj52374047 teknik-kaedah-dan-strategi-dalam-p-p-pj
52374047 teknik-kaedah-dan-strategi-dalam-p-p-pj
 
Content is king
Content is kingContent is king
Content is king
 
Педагогический сюрприз.
Педагогический сюрприз.Педагогический сюрприз.
Педагогический сюрприз.
 
Toopeeornottopee
ToopeeornottopeeToopeeornottopee
Toopeeornottopee
 
Big ppg panduan dan jadual pelaksanaan ppg10jan2012
Big ppg panduan dan jadual pelaksanaan ppg10jan2012Big ppg panduan dan jadual pelaksanaan ppg10jan2012
Big ppg panduan dan jadual pelaksanaan ppg10jan2012
 
Tatap muka 2 hidup yg sukses
Tatap muka 2  hidup yg suksesTatap muka 2  hidup yg sukses
Tatap muka 2 hidup yg sukses
 
Bab i etika tanggung jwb bisnis oleh stephanie tepp S1 akuntansi A UNJ 2016
Bab i etika tanggung jwb bisnis oleh stephanie tepp S1 akuntansi A UNJ 2016Bab i etika tanggung jwb bisnis oleh stephanie tepp S1 akuntansi A UNJ 2016
Bab i etika tanggung jwb bisnis oleh stephanie tepp S1 akuntansi A UNJ 2016
 
Pertemuan ii mankiw krugman
Pertemuan ii mankiw krugmanPertemuan ii mankiw krugman
Pertemuan ii mankiw krugman
 
Bab 9 ppt memotivasi karyawan - stephanie akuntansi A UNJ 2016
Bab 9 ppt memotivasi karyawan -  stephanie akuntansi A UNJ 2016Bab 9 ppt memotivasi karyawan -  stephanie akuntansi A UNJ 2016
Bab 9 ppt memotivasi karyawan - stephanie akuntansi A UNJ 2016
 
Kekuatan impian Stephanie Akuntansi A UNJ 2016
Kekuatan impian Stephanie Akuntansi A UNJ 2016Kekuatan impian Stephanie Akuntansi A UNJ 2016
Kekuatan impian Stephanie Akuntansi A UNJ 2016
 
Tatap muka 4 tujuan hidup orang kristen
Tatap muka 4 tujuan hidup orang kristenTatap muka 4 tujuan hidup orang kristen
Tatap muka 4 tujuan hidup orang kristen
 
Como crear una blog en blogger marcony
Como crear una blog en blogger marconyComo crear una blog en blogger marcony
Como crear una blog en blogger marcony
 

Similar to แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.

สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะmarena06008
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540Sarod Paichayonrittha
 
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (รวมแก้ไขล่าสุดจนถึงปี พ.ศ. 2551)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (รวมแก้ไขล่าสุดจนถึงปี พ.ศ. 2551)ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (รวมแก้ไขล่าสุดจนถึงปี พ.ศ. 2551)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (รวมแก้ไขล่าสุดจนถึงปี พ.ศ. 2551)LawPlus Ltd.
 
สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551pthaiwong
 
ระเบียบ ข้อบังคับ นิติบุคลหมู่บ้านปาริชาต 345
ระเบียบ ข้อบังคับ นิติบุคลหมู่บ้านปาริชาต 345ระเบียบ ข้อบังคับ นิติบุคลหมู่บ้านปาริชาต 345
ระเบียบ ข้อบังคับ นิติบุคลหมู่บ้านปาริชาต 345STOU e-Library
 
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีคู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีนายจักราวุธ คำทวี
 
9789740329954
97897403299549789740329954
9789740329954CUPress
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้WeIvy View
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ปรียนันท์ ล้อเสริมวัฒนา
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...teeclub
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Thailaw3 48
Thailaw3 48Thailaw3 48
Thailaw3 48skwtngps
 

Similar to แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท. (20)

สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 
สมรรถนะ
สมรรถนะสมรรถนะ
สมรรถนะ
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
โบนัส
โบนัสโบนัส
โบนัส
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
 
วินัยครู
วินัยครูวินัยครู
วินัยครู
 
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (รวมแก้ไขล่าสุดจนถึงปี พ.ศ. 2551)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (รวมแก้ไขล่าสุดจนถึงปี พ.ศ. 2551)ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (รวมแก้ไขล่าสุดจนถึงปี พ.ศ. 2551)
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (รวมแก้ไขล่าสุดจนถึงปี พ.ศ. 2551)
 
สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551สาระสำคัญ พรบ.2551
สาระสำคัญ พรบ.2551
 
ระเบียบ ข้อบังคับ นิติบุคลหมู่บ้านปาริชาต 345
ระเบียบ ข้อบังคับ นิติบุคลหมู่บ้านปาริชาต 345ระเบียบ ข้อบังคับ นิติบุคลหมู่บ้านปาริชาต 345
ระเบียบ ข้อบังคับ นิติบุคลหมู่บ้านปาริชาต 345
 
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวีคู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
คู่มือการดำเนินการสอบสวน อ.จักราวุธ คำทวี
 
9789740329954
97897403299549789740329954
9789740329954
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
 
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
๒.พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
จักราวุธ พ.ร.บ.พลเรือน 2551
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
 
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
ร่างพระราชบัญญัติกองทุนคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการบริการสาธารณสุข พ.ศ. ......
 
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง...
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (May 13, 2019)
 
Thailaw3 48
Thailaw3 48Thailaw3 48
Thailaw3 48
 

แนวทางแก้ไขปัญหาความรับผิดของ อปท.

  • 1.
  • 2. รัฐธรรมนูญแห่ง • แนวนโยบายแหงรัฐ ่ ราชอาณาจักร ไทย ่ • การปกครองสวนท ้องถน ิ่ พ.ร.บ.ระเบียบบริ หาร • ปั จจัยพืนฐานหลัก ๓ ประการ ้ • ระเบยบบรหารราชการ ี ิ ราชการแผ่นดน ิ • การกํากบดแลของผู ้วาฯ ั ู ่ พ.ร.บ.วธีปฏิบัตราชการทาง ิ ิ • หลักการและเหตผล ุ ปกครอง • การพจารณาทางปกครอง ิ พ.ร.บ. จัดตังศาลปกครอง ้ • การกระทําไมชอบด ้วยกฎหมาย ่ ่ ้ • การละเว ้น ลาชา ในการปฏบัตฯ ิ ิ และวธีพจารณาคดีปกครอง ิ ิ • ความรับผิดละเมิด ฯ
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. กฎหมายว่าด้วย กฎหมายว่าด้วย กฎหมายว่าด้วยการ การจัดตัง ปรับปรุ ง ้ การกาหนด ํ บริหารผู้ปฏิบตงาน ั ิ และกาหนดอานาจ ํ ํ หน้ าที่ของหน่ วยงาน วิธีปฏิบตงาน ั ิ Personnel Organization Administrative Administration
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13. ตรวจสอบ การปฏิบัติหน้ าที่ ปฏิบัติหน้ าที่ไม่ ถูกต้ อง ไม่ ชอบด้ วยกฎหมาย ทุจริต ทําให้ เกิด เข้ าเหตุความผิดวินัย ผู้บริหารท้ องถินถูกสั่ง ่ กลันแกล้ งให้ เสี ยหาย ่ ความเสียหาย พ้ นจากตําแหน่ ง
  • 14.
  • 15. เตรียมการ ดําเนินการ เพื่อจัดใหมี
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21. มาตรา ๕ ในพระราชบัญญัตนี้ ิ ฯลฯ………………………………… ฯลฯ “คําสั่ งทางปกครอง” หมายความว่ า (๑) การใช้อํานาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้น ระหว่างบุคคลในอนทจะก่อเปลยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของ ั ี่ ี่ สิ ทธิหรือหน้ าทีของบุคคล ไม่ ว่าจะเป็ นการถาวรหรือชั่วคราว เช่ น การสั่ งการ การอนุญาต การ ่ อนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการ ออกกฎ (๒) การอืนทีกาหนดในกฎกระทรวง ่ ่ํ
  • 22.
  • 23. พิจารณาบุคคล การเตรียมการและ การออกคําสั่ง การทบทวนคําสั่ง การบังคับการใหเปนไป ที่เขาสูกระบวนการ ดําเนินการ ทางปกครอง ทางปกครอง ตามคําสั่งทางปกครอง แบบของคําสั่งทางปกครอง ฝายคูกรณี ฝายรัฐ การแจงหรือการประกาศ สั่งใหชําระเงิน คําสั่งทางปกครอง หลักการพิจารณา หลักการพิจารณาโดย ทบทวน โดย การขอใหพิจารณา อุทธรณ จนท. ใหม ตองมีประสิทธิภาพ เปดเผย
  • 24. เจ้ าหน้ าทีผู้ ่ ดํารงตําแหน่ ง หรือ คณะกรรมการ
  • 25. มาตรา ๑๓ คณะกรรมการข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอํานาจหน้าที่กําหนดหลักเกณฑ์และดําเนินการ เกียวกับการบริหารงานบุคคลในองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดนั้น ในเรื่องดังต่ อไปนี้ ่ (๑) กําหนดคุณสมบัติและลักษณะต้ องห้ ามทีมีความจําเป็ นเฉพาะสํ าหรับข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดนั้น ่ (๒) กําหนดจํานวนและอัตราตําแหน่ง อัตราเงินเดือนและวิธีการจ่ายเงินเดือน และประโยชน์ตอบแทนอื่น สําหรับ ข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัด (๓) กําหนดหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขในการคัดเลือก การบรรจุ และแต่ งตั้ง การย้ าย การโอน การรั บโอน การเลื่อน ระดับ การเลือนขั้นเงินเดือน การสอบสวน การลงโทษทางวินัย การให้ ออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้ องทุกข์ ่ (๔) กําหนดระเบียบเกี่ยวกับการบริหารและการปฏิบติงานของข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัด ั และชี้แจง ส่ งเสริ มและพัฒนาความรู้ แก่ ข้าราชการองค์ การบริ หารส่ วน จังหวัด การดําเนินการตาม (๑) ถึง (๕) ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการกลางข้ าราชการองค์ การบริ หารส่ วน จังหวัด
  • 26. มาตรา ๑๕ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ ที่คณะกรรมการข้ าราชการองค์ การ บริหารส่ วนจังหวัดกําหนด แต่สําหรับการออกคําสั่ งแต่งต้ังและการให้ ข้าราชการ องค์ การบริหารส่ วนจังหวัดพ้ นจากตําแหน่ ง ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดก่ อน อานาจในการดําเนินการเกี่ยวกบการบริหารงานบุคคลตามวรรคหนึ่ง นายกองค์การ ํ ั บริหารส่วนจังหวัดอาจมอบหมายให้ผ้ ูบังคับบัญชาข้าราชการในตําแหน่งใดขององค์การ บริหารส่วนจังหวดแห่งน้ันเป็นผู้ใช้อานาจแทนนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดได้ ท้ังนี้ ั ํ ตามหลักเกณฑ์ ทคณะกรรมการข้ าราชการองค์ การบริหารส่ วนจังหวัดกําหนด ี่
  • 27. มาตรา ๒๓ เทศบาลที่ อ ยู ใ นเขตจั ง หวั ด หนึ่ ง ให มี ค ณะกรรมการพนั ก งานเทศบาลร ว มกั น คณะหนึ่ ง ทํ า หน า ที่ บริหารงานบุคคลสําหรับเทศบาลทุกแหงที่อยูในเขตจังหวัดนั้น ประกอบดวย (๑) ผูวาราชการจังหวัดเปนประธาน มาตรา ๒๕ องคการบริหารสวนตําบลที่อยูในเขตจังหวัดหนึ่ง ใหมีคณะกรรมการพนักงานสวนตําบลรวมกันคณะ หนึ่ง ทําหนาที่บริหารงานบุคคลสําหรับองคการบริหารสวนตําบลทุกแหงที่อยูในเขตจังหวัดนั้น ประกอบดวย มาตรา ๑๐ การประชุมของคณะกรรมการขาราชการองคการบริหารสวนจังหวัดตองมีกรรมการมาประชุมไมนอย กวากึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเปนองคประชุม
  • 28. มาตรา ๖๔ นายกองคการบริหารสวนตําบลพนจากตําแหนงเมื่อ (๑).... (๔) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๕๘/๑ (๕) กระทําการฝาฝนมาตรา ๖๔/๒ (๖) ผูวาราชการจังหวัดสั่งใหพนจากตําแหนงตามมาตรา ๘๗/๑ วรรคหา หรือ มาตรา ๙๒ (๗) ถูกจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก (๘) ราษฎรผูมีสิทธิเลือกตั้งในเขตองคการบริหารสวนตําบลมีจํานวนไมนอยกวาสามในสี่ของ จํานวนผูมีสิทธิเลือกตั้งที่มาลงคะแนนเสียงเห็นวานายกองคการบริหารสวนตําบลไมสมควรดํารงตําแหนง ตอไปตามกฎหมายวาดวยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาทองถิ่นหรือผูบริหารทองถิ่น เมื่อมีขอสงสัยเกี่ยวกับความเปนนายกองคการบริหารสวนตําบลสิ้นสุดลงตาม(๔) หรือ (๕) ให นายอําเภอสอบสวนและวินิจฉัยโดยเร็ว คําวินิจฉัยของนายอําเภอใหเปนที่สุด
  • 29. มาตรา ๘๗/๑ ในกรณี ที่ ส ภาองค์ ก ารบริ ห ารส่ วนตํ า บลไม่ รั บ หลั ก การแห่ ง ร่ างข้ อ บั ญ ญั ติ งบประมาณรายจ่ ายประจําปี ................ ให้ นายอําเภอส่ งร่ างข้ อบัญญัติให้ นายกฯ โดยเร็ ว แล้ วให้ นายกฯ เสนอร่ างข้ อบัญญัติดังกล่ าวต่ อ สภาฯ ภายในเจ็ดวัน หากนายกฯไม่ เสนอร่ างข้ อบัญญัติน้ันต่ อสภาฯภายในเวลาที่กําหนด ให้ นายอําเภอ รายงานต่ อผู้ว่าฯ เพือสั่ งให้ นายกฯ พ้ นจากตําแหน่ ง ่ มาตรา ๙๒ หากปรากฏว่ า นายกฯ รองนายกฯ ประธานสภาฯ หรือรองประธานสภาฯกระทําการ ฝ่ าฝื นต่ อความสงบเรียบร้ อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน หรือละเลยไม่ ปฏิบัติตามหรื อปฏิบัติการไม่ ชอบด้ วยอํานาจหน้ าที่ ให้ นายอําเภอดําเนินการสอบสวนโดยเร็ว ในกรณีทผลการสอบสวนปรากฏว่ า นายกฯ รองนายกฯ ประธานสภาฯ หรือรองประธานสภาฯ มี ี่ พฤติการณ์ ตามวรรคหนึ่งจริ ง ให้ นายอําเภอเสนอให้ ผ้ ูว่าราชการจังหวัดสั่ งให้ บุคคลดังกล่ าวพ้ นจาก ตําแหน่ง ท้ังนี้ ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจดําเนินการสอบสวนเพิ่มเติมด้วยก็ได้ คําสั่งของผ้ ูว่าราชการ จังหวัดให้ เป็ นทีสุด ่
  • 30. มาตรา 12 ในกรณีทเี่ จ้าหน้าที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนที่หน่วยงานของรัฐได้ ใช้ใ ห้ แ ก่ผู้ เ สีย หายตามมาตรา 8 หรื อในกรณีที่เ จ้ าหน้ าที่ต้อ งใช้ ค่า สิน ไหมทดแทน เนื่องจากเจ้าหน้าที่ผ้ ูน้ันได้กระทําละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐตามมาตรา 10 ประกอบ กับมาตรา 8 เรียกให้เจ้าหน้าที่ผู้น้ัน ชําระเงินดังกล่าวภายในเวลาที่กาหนดํ มาตรา 13 ให้คณะรัฐมนตรีจัดให้มีระเบียบเพื่อให้เจ้าหน้าที่ซึ่งต้องรับผิดตาม มาตรา 8 และมาตรา 10 สามารถผ่อนชําระเงินที่จะต้องรับผดน้ันได้โดยคํานึงถึงรายได้ ิ ฐานะ ครอบครัวและความรับผิดชอบ และพฤติการณ์ แห่ งกรณีประกอบด้ วย
  • 31. ข้อ 8 เมื่อเกิดความเสี ยหายแก่ หน่ วยงานของรัฐแห่ งใด และหัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐแห่ งนั้นมีเหตุอัน ควรเชื่ อว่ าเกิดจากการกระทําของเจ้ าหน้ าที่ของหน่ วยงานของรั ฐแห่ งนั้น ให้ หัวหน้ าหน่ วยงานของรัฐดังกล่ าว แต่ง ต้ังคณะกรรมการสอบข้อ เท็จจริ งความรั บผิดทางละเมิดขึ้นคณะหนึ่ง โดยไม่ชั กช้า เพื่อพิจารณาเสนอ ความเห็นเกียวกับผู้ต้องรับผิดและจํานวนค่ าสิ นไหมทดแทนทีผู้น้ ันต้ องชดใช้ ่ ่ ข้ อ 12 ถ้ า ผู้ มี อํ า นาจแต่ ง ต้ั ง คณะกรรมการตามข้ อ 8 ข้ อ 10 หรื อ ข้ อ 11 ไม่ ดํ า เนิ น การแต่ ง ต้ั ง คณะกรรมการภายในเวลาอันควร หรื อแต่ งตั้งกรรมการโดยไม่ เหมาะสม ซึ่งเป็ นผู้บังคับบัญชา หรื อกํากับดูแล หรื อควบคุมการปฏิบัติงานของบุคคลดังกล่ าวมีอํานาจ แต่ งตั้งคณะกรรมการ หรือเปลียนแปลงกรรมการแทนผู้มอานาจแต่ งตั้งนั้นได้ ตามทีเ่ ห็นสมควร ่ ีํ ข้อ 30 ในหมวดนี้ หน่ วยงานของรั ฐ หมายความว่ า กระทรวง ทบวง กรม หรื อ ส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ อ อย่ างอื่นและมีฐานะเป็ นกรม และราชการส่ วนภู มิภาค แต่ ไม่ รวมถึงราชการส่ วนท้ องถิ่น รั ฐวิสาหกิจ หรื อ หน่ วยงานอืนของรัฐ ่
  • 32. คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๘๑/๒๕๕๐ การที่เจ้าพนักงานที่ดินแจ้งรับรอง ราคาประเมินที่ดินที่เทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานีประสงค์จะจัดซื้อในราคาสูงกว่าความเป็น จริง ซึ่งเทศบาลเมืองสุ ราษฎร์ ธานีอนเป็ นหน่ วยงานของรัฐที่เสี ยหาย ย่ อมเป็ นผู้มีอานาจออก ั ํ คาสั่งเรียกให้เจ้าพนักงานที่ดินชําระค่าสินไหมทดแทน การที่ผู้ว่าราชการจังหวัดมีคําสั่งเรียก ํ ให้เจ้าพนักงานทดนชําระค่าสินไหมทดแทนแก่เทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานีในมูลกรณีดังกล่าว ี่ ิ จึงเป็ นการออกคําสั่ งโดยไม่ มอานาจ ีํ คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๒๘๘/๒๕๔๙ การออกคําสั่งเรียกให้เจ้าหน้าที่ของ รัฐผู้กระทําละเมิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่หน่วยงานของรัฐ หน่วยงานของรัฐต้อง ออกคําสั่งภายในกําหนดอายุความการใช้สิทธิเรียกร้องการออกคําสั่งเมื่อพ้นกําหนดอายุ ความการใช้ สิทธิเรียกร้ องย่ อมเป็ นการออกคําสั่ งโดยไม่ มีอานาจ ํ
  • 33. มาตรา 13 เจ้ าหน้ าทีดงต่ อไปนีจะทําการพิจารณาทางปกครองไม่ ได้ ่ ั ้ (1) เป็ นคู่กรณีเอง (2) เป็ นคู่หมันหรือคู่สมรสของคู่กรณี ่ (3) เป็ นญาติของคู่กรณี คือ เป็ นบุพการีหรือผู้สืบสั นดานไม่ ว่าชั้นใด ๆ หรือเป็ นพีน้องหรือลูกพีลูกน้ อง ่ ่ นับได้ เพียงภายในสามชั้น หรือเป็ นญาติเกียวพันทางแต่ งงานนับได้ เพียงสองชั้น ่ (4) เป็ นหรือเคยเป็ นผู้แทนโดยชอบธรรมหรือผู้พทกษ์ หรือผู้แทนหรือตัวแทนของคู่กรณี ิ ั (5) เป็นเจ้าหนีหรือลูกหนี้ หรือเป็ นนายจ้ างของคู่กรณี ้ (6) กรณีอนตามทีกาหนดในกฎกระทรวง ื่ ่ํ มาตรา ๑๖ ในกรณีมเี หตุอนใดนอกจากทีบญญัติไว้ ในมาตรา ๑๓ เกียวกับเจ้ าหน้ าทีหรือกรรมการใน ื่ ่ ั ่ ่ คณะกรรมการทีมอานาจพิจารณาทางปกครอง ซึ่งมีสภาพร้ ายแรงอันอาจทําให้ การพิจารณาทางปกครองไม่ ่ ีํ เป็ นกลาง เจ้ าหน้ าทีหรือกรรมการผู้น้ันจะทําการพิจารณาทางปกครองในเรื่องนั้นไม่ ได้ ่
  • 34. - ประธาน ปปช. แจ้ง นายกฯ ว่า การกระทําของผู้ฟ้องคดีขณะเป็นปลัด ทต.บ้านค่าย เป็นความผิดทางวินัยอย่างร้ายแรงฐานทุจริตต่อหน้าที่ราชการและฐานประพฤติชั่วอย่าง ร้ ายแรงตามาตรา ๘๒ วรรสาม มาตรา ๙๘ วรรคสองฯ ให้ นายกฯพิจารณาโทษทางวินัยตาม มาตรา ๙๒ วรรคหนึ่งฯ - นายกฯ เสนอเรื่ อ งต่ อ กทจ.ให้ ล งโทษปลดผู้ ฟ้ องคดี อ อกจากราชการ กทจ.มี ม ติ เห็นชอบ นายกฯ จึงออกคําสั่ งปลดผู้ฟ้องคดีออกจากราชการผู้ฟ้องคดียื่นอุทธรณ์ กทจ. มีมติ ยกอุทธรณ์เพราะเห็นว่า ไม่ได้อุทธรณ์ดุลพินิจในการสั่งลงโทษของ กทจ. ว่าไม่เหมาะสม อย่ างไร แต่ อุทธรณ์ การวินิจฉัยข้ อเท็จจริงของ ปปช. ซึ่งขัดมาตรา ๙๖ พรบ.ปปช.ฯ - จึงนําคดีมาฟ้ องศาลขอให้ เพิกถอนคําสั่ งลงโทษ
  • 35. - ประเดนย่อย ๑ การไต่ สวนของอนุกรรมการไต่ สวนฯ ชอบด้ วยกฎหมายหรือไม่ ็ - ทีอ้างว่ า การแต่ งตั้ง พสส. คดีที่นาย ม. กล่ าวโทษผู้ฟองคดีเป็ นอนุกรรมการไต่ สวน ่ ้ ไม่ชอบด้วยมาตรา ๔๖ (๑)(๒)(๔) [รู้ เห็นเหตุการณ์เกี่ยวกับเรื่องที่กล่าวหามาก่อน มี ส่ วนได้ เสี ยในเรื่ องที่กล่ าวหา และเป็ นผู้กล่ าวหา] และทั้งสองก็ไม่ ได้ รายงานประธาน ปปช. ตามมาตรา ๔๖ [กรณีอนุกรรมการฯ มีลักษณะดังกล่าว ให้ผู้น้ันแจ้งต่อประธาน ปปช.โดยเร็ว ระหว่ างนั้นห้ ามยุ่งเกียวกับการดําเนินการของอนุกรรมการ] จึงไม่อาจรับ ่ ฟังรายงานและความเห็นของ คกก.ปปช. มาพจารณาโทษทางวินัยผู้ฟองคดีได้ เห็นว่า ิ ้ ผู้ฟองคดีได้ รับแจ้ งคําสั่ งแต่ งตั้งอนุ กก. และให้แจ้งคัดค้านภายใน ๗ วันต่อประธาน ้ ปปช. ถ้ าไม่ ยนคัดค้ านถือว่ าไม่ ประสงค์ คดค้ าน ื่ ั - อย่ างไรกตาม ปัญหาคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่เป็นปัญหาความสงบฯ ศาลหยบยกขึน ็ ิ ้ พิจารณาได้
  • 36. การตระเตรียม ดําเนินการจัดทําคําสั่งทางปกครอง ประสิทธิภาพ เปดเผย สืบสวน 1.ทราบขอเท็จจริงอยาง เพียงพอ สอบสวน 2.ใหสิทธิโตแยง ไตสวน ตรวจสอบเอกสารได 36
  • 37. มาตรา ๒๙ เจ้ าหน้ าทีต้องพิจารณาพยานหลักฐานที่ตนเห็นว่ า จําเป็ นแก่ การพิสูจน์ ข้อเท็จจริง ใน ่ การนี้ ให้ รวมถึงการดําเนินการดังต่ อไปนี้ (๑) แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่ างทีเ่ กียวข้ อง ่ (๒) รับฟังพยานหลักฐาน คําชี้แจง หรื อความเห็นของคู่กรณี หรื อของพยานบุคคลหรื อพยาน ผู้เชี่ ยวชาญที่คู่กรณีกล่ าวอ้ าง เว้ นแต่ เจ้ าหน้ าที่เห็นว่ าเป็ นการกล่ าวอ้ างที่ไม่ จําเป็ นฟุ่ มเฟื อยหรื อเพื่อประวิง เวลา (๓) ขอข้ อเท็จจริงหรือความเห็นจากคู่กรณี พยานบุคคล หรือพยานผู้เชี่ยวชาญ (๔) ขอให้ ผู้ครอบครองเอกสารส่ งเอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ (๕) ออกไปตรวจสถานที่ คู่กรณีต้องให้ ความร่ วมมือกับเจ้ าหน้ าที่ในการพิสูจน์ ข้อเท็จจริง และมีหน้ าที่แจ้ งพยานหลักฐานที่ ตนทราบแก่ เจ้ าหน้ าที่ พยานหรือพยานผู้เชี่ยวชาญที่เจ้ าหน้ าที่เรียกมาให้ ถ้อยคําหรือทําความเห็นมีสิทธิได้ รับค่ าป่ วยการ ตามหลักเกณฑ์ และวิธีการทีกาหนดในกฎกระทรวง ่ํ 37
  • 38. มาตรา ๓๐ ในกรณีที่คําสั่งทางปกครองอาจกระทบถึงสิทธิของคูกรณี เจาหนาที่ ตองใหคูกรณีมีโอกาสที่จะไดทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอ และมีโอกาสไดโตแยงและ แสดงพยานหลักฐานของตน ความในวรรคหนึ่ ง มิ ใ ห นํ า มาใช บั ง คั บ ในกรณี ดั ง ต อ ไปนี้ เว น แต เ จ า หน า ที่ จ ะ เห็นสมควรปฏิบัติเปนอยางอื่น (๑) เมื่อมีความจําเปนรีบดวนหากปลอยใหเนิ่นชาไปจะกอใหเกิดความเสียหาย อยางรายแรงแกผูหนึ่งผูใดหรือจะกระทบตอประโยชนสาธารณะ (๒) เมื่อจะมีผลทําใหระยะเวลาที่กฎหมายหรือกฎกําหนดไวในการทําคําสั่งทาง ปกครองตองลาชาออกไป (๓) เมื่อเปนขอเท็จจริงที่คูกรณีนั้นเองไดใหไวในคําขอ คําใหการหรือคําแถลง (๔) เมื่อโดยสภาพเห็นไดชัดในตัววาการใหโอกาสดังกลาวไมอาจกระทําได (๕) เมื่อเปนมาตรการบังคับทางปกครอง (6) 38 กรณีอื่นตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
  • 40. คําพิพากษาศาลปกครองคดีไมตองใหโอกาสชี้แจงขอเท็จจริง คําพิพากษาศาลปกครองขอนแกนที่ ๑๔๒/๒๕๔๘ นายกองคการบริหารสวนตําบลมีคําสั่งถอด ถอนรองนายกฯ ใหพนจากตําแหนงตามมาตรา ๕๙ (๓) แหง พรบ.สภาตําบลและองคการบริหารสวน ตําบล การที่ผูไดการแตงตั้งเปนรองนายกฯ จะอยูปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงรองนายกฯ ในระยะเวลาเทาใด หรือจะถูกถอดถอนเมื่อใด จึงเปนอํานาจของนายกฯ เมื่อนายกฯ เห็นวา การปฏิบัติหนาที่ของรองนายกฯ ไมบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายที่นายกฯ ไดใหไวกับประชาชน นายกฯ จึงไดออกคําสั่งถอดถอนรอง นายกฯ จึงเปนการใชอํานาจที่กฎหมายกําหนดไว แตโดยที่คําสั่งถอดถอนรองนายกฯ เปนคําสั่งทางปกครอง ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิของรองนายกฯ ต อ งเป น ไปตาม มาตรา ๓๐ วรรคแรก ที่ บั ญญั ติ ใ ห เ จ า หน า ที่ ค วรให คู ก รณี มี โ อกาสที่ จ ะได รั บ ทราบ ขอเท็จจริงอยางเพียงพอ และมีโอกาสแสดงพยานหลักฐานของตน แตความในวรรคแรกไดรับการยกเวน มิตองนํามาใชบังคับ หากเปนกรณีที่กําหนดไวตามวรรคสอง รวม ๖ ประการ โดยมีกรณีที่ (๖) เปนกรณี ที่กําหนดไวในกฎกระทรวง การใหพนจากตําแหนง จึงเปนคําสั่งที่ไดรับการยกเวนที่ไมตองแจงใหคูกรณี ไดมีโอกาสทราบขอเท็จจริงและโตแยงหรือแสดงพยานหลักฐานกอน (และคําพิพากษาศาลปกครองสงขลา ที่ ๒๐๕/๒๕๕๑ วินิจฉัยทํานองเดียวกัน) 40
  • 41. • คําพิพากษาศาลปกครองสงขลาที่ ๒๐๕/๒๕๕๑ นายกเทศมนตรีมีคําส่ ังให้พ้นจากตําแหน่งตาม มาตรา 48 โสฬส วรรคหนึ่ ง (2) แห่ ง พระราชบัญญั ติเทศบาล พ.ศ.2496 นั น กฎหมายมิไ ด้ ้ กําหนดหลั กเกณฑ์ หรื อเงื่อนไขว่ า นายกเทศมนตรี จะมีคําสั่ง ให้ ร องนายกเทศมนตรี พ้ นจาก ตําแหน่ งในกรณีใดบ้ าง จึงเป็ นกรณีท่ ีกฎหมายมีเจตนารมณ์ ท่ ีจะให้ อํานาจนายกเทศมนตรี ใช้ ดุ ล พินิ จ ในการออกคําสั่ งให้ ร องนายกเทศมนตรี พ้น จากตํา แหน่ ง ตามความเหมาะสม ทัง นี ้ ้ เพ่ ือให้การบริหารงานของเทศบาลรวมทังของนายกเทศมนตรีบรรลุผลตามนโยบายท่ ีได้แถลงไว้ต่อสภา ้ เทศบาล ดังนัน เมื่อใดก็ตามที่นายกเทศมนตรี เห็นว่ า ไม่ จาเป็ นที่จะต้ องมีรองนายกเทศมนตรี ้ ํ ต่อไป หรือรองนายกเทศมนตรีท่ ีแต่งตังไว้ไม่เหมาะสมหรือไม่อาจปฏิบัติงานร่วมกันต่อไปได้ ้ นายกเทศมนตรี ย่ อ มมี อํา นาจสั่ ง ให้ ร องนายกเทศมนตรี พ้ น จากตํ า แหน่ ง ได้ ดั ง นั น การที่ ้ นายกเทศมนตรี ออกคําสั่งที่ 234/2547 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2547 ให้ผ้ ูฟองคดีพ้นจากตําแหน่ง ้ รองนายกเทศมนตรี จึงเป็นการกระทาท่ ีชอบด้วยกฎหมายแล้ว (และคําพิพากษาศาลปกครอง ํ ขอนแก่ นที่ 142/2548 วินิจฉัยทํานองเดียวกัน) 41
  • 42. ให้ตรวจดเอกสาร มาตรา 31 32 ู • คู ก รณีมี สิ ท ธิ ข อตรวจดู เ อกสารที่ จํ า เป นตอ งรู เ พื่อ การ โตแยงหรือชี้แจงหรือปองกันสิทธิของตนได แตถายังไมได ทําคําสั่งทางปกครองในเรื่องนั้น คูกรณีไมมีสิทธิขอตรวจดู เอกสารอันเปนตนรางคําวินิจฉัย • เจ า หน า ที่ อ าจไม อ นุ ญ าตให ต รวจดู เ อกสารหรื อ พยานหลักฐานได ถาเปนกรณีที่ตองรักษาไวเปนความลับ 42
  • 43. การออกคําสังทางปกครอง ่ แบบของคําสัง ่ การแจ้งคาสงทางปกครอง ํ ั่ รปแบบคาสง ู ํ ั่ การให้เหตผล ุ คําสังทางปกครอง ่ เงื่อนไขการแจ้ง มีผลเมื่อได้แจ้ง แจ้งอย่างไร แจ้งแก่ใคร แจ้งอะไร วาจา หนังสือ รปแบบอื่น ู เจาะจงตัว ผูรบคําสัง ้ ั ่ สาระสําคัญ ปิดประกาศ ผแทน ู้ ของคําสัง ่ ระบุรายการต่าง ๆ ประกาศ นสพ. 43 FAX
  • 44. มาตรา ๓๗ คาสงทางปกครองท่ทาเป็นหนังสอและการยนยนคาสง่ั ทางปกครองเป็นหนังสอตองจด ํ ั่ ีํ ื ื ั ํ ื ้ ั ใหมีเหตผลไวดวย และเหตผลน้นอย่างนอยตองประกอบดวย ้ ุ ้้ ุ ั ้ ้ ้ ก ร ณี ป ล ด (๑) ข้อเท็จจริงอันเป็ นสาระสําคัญ รองนายก (๒) ขอกฎหมายท่อา้ งอง ้ ี ิ (๓) ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุ นในการใช้ดลพินิจ ุ นายกรัฐมนตรีหรือผูซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายอาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากําหนดให้คาสัง่ ้ ํ ทางปกครองกรณีหน่ึ งกรณีใดตองระบเุ หตผลไวในคาสง่ั น้นเองหรอในเอกสารแนบทายคาสง่ั น้นกได ้ ้ ุ ้ ํ ั ื ้ ํ ั ็ บทบญญตตามวรรคหน่ึ งไม่ใชบงคบกบกรณีดงต่อไปน้ ี ั ัิ ้ั ั ั ั (๑) เป็นกรณีท่มีผลตรงตามคาขอและไม่กระทบสทธและหนาท่ของบคคลอน ี ํ ิ ิ ้ ี ุ ่ื (๒) เหตผลน้นเป็นท่รูกนอยู่แลวโดยไม่จาตองระบอก ุ ั ี้ั ้ ํ ้ ุี (๓) เป็นกรณีท่ตองรกษาไวเ้ ป็นความลบตามมาตรา ๓๒ ี ้ ั ั (๔) เป็นการออกคาสงทางปกครองดวยวาจาหรอเป็นกรณีเรงด่วน แต่ตองใหเ้ หตผลเป็นลายลกษณ์ ํ ั่ ้ ื ่ ้ ุ ั 44 อกษรในเวลาอนควรหากผูอยู่ในบงคบของคาสง่ั น้นรองขอ ั ั ้ ั ั ํ ั ้
  • 45. รูปแบบของคําสังทางปกครองที่ เป็ นหนังสือ ่ 1. วัน เดือน ปี ที่ออกคําสัง ่ 2. ชื่อ/ตาแหน่ง/ลายมือชื่อเจ้าหน้ าทีผออกคําสัง ํ ู้ ่ 3. เหตุผล โดย - ต้องมีข้อเทจจริง ็ - ข้อกฎหมาย. - ข้อพิจารณา 45 - ข้อสนับสนุนในการใช้ดลพินิจ ุ
  • 46. คาพพากษาศาลปกครองคดีไม่แจงเหตผลในการออกคาสง่ั ํ ิ ้ ุ ํ • คาพพากษาศาลปกครองขอนแก่นท่ี ๓๒๑/๒๕๕๒ แม้ตามบทบัญญัติของพระราชบัญญัติเทศบาลจะ ํ ิ ้ กําหนดให้การแต่งตังและถอดถอนรองนายกเทศมนตรีเป็ นอํานาจและดุลยพินิจของผูถูกฟ้ องคดีท่ี 1 ้ ้ ้ ั ้ และการได้มาซึ่งผูดํารงตําแหน่ งผูถูกฟ้ องคดีท่ี 1 ในปัจจุบนมาจากการเลือกตังโดยตรงของประชาชน แต่โดยการใชอานาจของผูถกฟ้องคดีท่ี 1 ตามกฎหมายที่มีผลกระทบต่อสิทธิหน้าที่ของประชาชนหรือผู ้ ้ํ ู้ ท่ีอยู่ภายใตอานาจ จึงย่อมตองอยู่ภายใตหลกการของการกระทําทางปกครองตองชอบดวยกฎหมาย ้ํ ้ ้ ั ้ ้ ้ ้ั การท่ีกฎหมายกําหนดใหการแต่งตงและถอดถอนรองนายกเทศมนตรีเป็นอานาจและดุลยพินิจของ ํ นายกเทศมนตรี(ผูถูกฟ้ องคดีท่ี 1) จึงมีความหมายแต่เพียงให้อานาจนายกเทศมนตรีในลักษณะเป็ น ้ ํ ้ อํานาจดุลยพินิจที่จะเลือกและตัดสินใจในการแต่งตังและถอดถอนรองนายกได้ดวยตนเอง แต่ตอง ้ ้ ้ ้ ้ั ดําเนินการใหถูกตองตามรูปแบบขนตอนหรือภายในขอบเขตของกฎหมาย หาไดหมายความว่าเป็น ้ การให้อานาจแก่นายกเทศมนตรีในการออกคําสัง่ ให้รองนายกเทศมนตรีพนจากตําแหน่ งได้โดยอิสระ ํ ้ ตามอําเภอใจ โดยไร้ขอบเขตหรือโดยปราศจากหลักเกณฑ์แต่อย่างใด คําสัง่ ของผูถูกฟ้ องคดีท่ี 1 จึง ้ 46 เป็นคาสงทางปกครองท่ไม่ชอบดวยกฎหมาย ํ ั่ ี ้
  • 47. 4. ชั้นทบทวนคําสั่งทางปกครอง การทบทวนโดยเจาหนาที่ การอุทธรณ การขอใหพิจารณาใหม การเพิกถอนคําสั่ง คูกรณีตองอุทธรณเปน การอุทธรณไมเปนการ 1. มีพยานหลักฐานใหม หนังสือภายใน 15 วัน ทุเลาการบังคับ 2. คูกรณีที่แทจริงไมไดเขามาใน นับแตไดรับแจง ตามคําสั่ง กระบวนการ 3. จนท. ไมมีอํานาจทําคําสั่ง 4. ขอเท็จจริงหรือกฎหมายเปลี่ยนแปลง 47
  • 48. มาตรา ๔๔ ภายใตบังคับมาตรา ๔๘ ในกรณีที่คําสั่งทางปกครองใด ไมไดออกโดยรัฐมนตรี และไมมีกฎหมายกําหนดขั้นตอนอุทธรณภายในฝาย ปกครองไวเปนการเฉพาะ ใหคูกรณีอุทธรณคําสั่งทางปกครองนั้นโดยยื่นตอ เจาหนาที่ผูทําคําสั่งทางปกครองภายในสิบหาวัน นับแตวันที่ตนไดรับแจงคําสั่ง ดังกลาว คําอุทธรณตองทําเปนหนังสือโดยระบุขอโตแยงและขอเท็จจริงหรือขอ กฎหมายที่อางอิง ประกอบดวย การอุทธรณไมเปนเหตุใหทุเลาการบังคับตามคําสั่งทางปกครอง เวนแตจะมีการสั่งใหทุเลาการบังคับตามมาตรา ๕๖ วรรคหนึ่ง 48
  • 49. กฎหมายวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง 1. ต้ องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการที่กฎหมายเฉพาะนั้นกําหนดไว้ เป็ นหลัก แต่ มีมาตรฐาน ไม่ ตํ่ากว่ า กม.วิ.ปกครองฯ และวิธีปฏิบัติราชการให้ เป็ นตาม กม.วิ.ปกครองฯ (มาตรา ๓ และ มาตรา ๕) 2. เตรียมการและดําเนินการโดยเจ้ าหน้ าที่ผู้มีอานาจ (มาตรา ๑๒) ํ 3. ซึ่งไม่มส่วนได้เสีย (มาตรา ๑๓ - ๑๖) ี 4. คู่กรณีต้องมีความสามารถ (ม.๒๑ – ๒๒) 5. ต้ องแจ้ งสิ ทธิหน้ าทีในกระบวนการพิจารณาทางปกครอง (มาตรา ๒๗) ่ 6. ต้ องพิจารณาพยานหลักฐานทีเ่ กียวข้ องทุกอย่ าง (มาตรา ๒๙) ่ 49
  • 50. กฎหมายวิธีปฏิบตราชการทางปกครอง ั ิ 8. ต้ องให้ ผู้ถูกออกคําสั่ งได้ ทราบข้ อเท็จจริ งอย่ างเพียงพอและมีโอกาสได้ โต้ แย้ งและแสดงพยานหลักฐาน ของตน (มาตรา ๓๐) 9. ได้ ตรวจดูเอกสารของเจ้ าหน้ าที่ (มาตรา 31,32) 10. คําสั่ งทางปกครองเป็ นหนังสื อ จะต้ องสรุ ปข้ อเท็จจริงและเหตุผล และอ้ างตัวบทกฎหมายรับรองอํานาจใน การออกคําสั่ ง (มาตรา ๓๗) 11. หากออกคําสั่ งแล้ วไปกระทบสิ ทธิของผู้ใด ผู้ที่ถูกกระทบสิ ทธิจากการออกคําสั่ งสามารถอุทธรณ์ คําสั่ งทาง ปกครองนั้นได้ (มาตรา ๔๔) 12. รวมทั้งหากมีข้อเท็จจริงเกิดขึนใหม่ ทจะทําให้ การพิจารณามีคาสั่ งของเจ้ าหน้ าที่เปลี่ยนไป ก็สามารถขอให้ ้ ี่ ํ มีการพิจารณาใหม่ ได้ (มาตรา ๕๔) 13. หากออกคําสั่ งทางปกครองไปแล้ ว แต่ ผู้รับคําสั่ งฝ่ าฝื น เจ้ าหน้ าที่อาจนํามาตรการบังคับทางปกครองมา ใช้ กบผู้ฝ่าฝื นได้ อก (มาตรา ๕๘) ั ี 50
  • 51. • อํานาจ เจ้ าหน้ าที่ • ความเปนกลาง • ประสิทธิภาพ ไตสวน วิธีการ • เปดเผย ใหโอกาสคูกรณี • ใหแจงขอมูล ใหสิทธิ์โตแยง ขันตอน ้ • ผานการใหความเหนชอบ  ็ • สรุปขอเท็จจริง รู ปแบบ • อางขอกฎหมาย • ขอสนับสนนในการใชดลพนจ ุ ุ ิ ิ 51
  • 52. การดําเนินการเพื่อออกคําสั่งทางปกครอง แตงตั้งคณะกรรมการสอบสวน รวบรวมหลักฐานฝายกลาวหา แจงขอเท็จจริงที่เปนเหตุผลในการออกคําสั่ง ใหโอกาสชี้แจงแสดงพยานหลักฐาน การพิจารณาความผิด การพิจารณาโทษ คณะกรรมการเสนอความเห็นไปยังผูแตงตั้ง ขอความเห็นชอบตามขั้นตอน ออกคําสั่งทางปกครอง 52
  • 53. คาถาม ํ 1. เป็นการใชอานาจ ้ํ 1. สตง.ช้ ีมูล ตามกฎหมายใด 2. ปปช.ช้ ีมูล 2. กระทบต่อสิทธิหน้าที่ อย่างไร 3. เป็นคาสง่ั ํ ทางปกครองหรอไม่ อย่างไร ื 53
  • 54. ศาลปกครองมีอานาจพิจารณาพิพากษาหรอมีคาสงในเรองดงต่อไปนี้ ํ ื ํ ั่ ื่ ั คดีพิพาทเกี่ยวกับการที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐกระทําการ โดยไมชอบดวยกฎหมาย ไมวาจะเปน การออกกฎ คําสั่ง หรือการกระทําอื่นใด เนื่องจาก กระทําโดยไมมีอํานาจ หรือนอกเหนืออํานาจหนาที่ หรือไมถูกตอง ตามกฎหมาย หรื อโดยไม ถู กต องตามรู ปแบบขั้ นตอน หรื อวิ ธี การอั นเป น สาระสําคัญที่กําหนดไวสําหรับการกระทํานั้น หรือโดยไมสุจริต หรือมีลักษณะ เปนการเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม หรือมีลักษณะเปนการสรางขั้นตอนโดยไม จําเปน หรือสรางภาระใหเกิดกับประชาชนเกินสมควร หรือเปนการใชดุลพินิจ โดยมิชอบ
  • 55. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ มาตรา ๒๘๒ การกํากับดูแลองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองทําเทาที่จําเปนและมี หลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่ชัดเจนสอดคลองและเหมาะสมกับรูปแบบขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ โดยตองเปนไปเพื่อการคุมครองประโยชนของประชาชนในทองถิ่น หรือประโยชนของประเทศเปนสวนรวม และจะกระทบถึงสาระสําคัญแหงหลักการปกครองตนเองตาม เจตนารมณของประชาชนในทองถิ่น หรือนอกเหนือจากที่กฎหมายบัญญัติไวมิได ในการกํากับดูแลตามวรรคหนึ่ง ใหมีการกําหนดมาตรฐานกลางเพื่อเปนแนวทางใหองคกร ปกครองสวนทองถิ่นเลือกไปปฏิบัติไดเอง โดยคํานึงถึงความเหมาะสมและความแตกตางในระดับของ การพัฒนาและประสิทธิภาพในการบริหารขององคกรปกครองสวนทอ งถิ่นในแตละรูปแบบโดยไม กระทบตอความสามารถในการตัดสินใจดําเนินงานตามความตองการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 55 รวมทั้งจัดใหมีกลไกการตรวจสอบการดําเนินงานโดยประชาชนเปนหลัก
  • 56. เหตุที่ทําใหการกระทําทางปกครองไมชอบดวยกฎหมาย 1. โดยไมมีอํานาจ 2. นอกเหนืออํานาจหนาที่ 3. โดยไมถูกตองตามกฎหมาย 4. โดยไมถูกตองตามรูปแบบขั้นตอน 5. โดยไมถูกตองตามวิธีการอันเปนสาระสําคัญ 6. โดยไมสุจริต 7. โดยเลือกปฏิบัติไมเปนธรรม 8. โดยสรางขั้นตอนโดยไมจําเปน 9. โดยมีลักษณะเปนการสรางภาระใหเกิดกับประชาชนเกินสมควร 56 10. โดยใชดุลพินิจไมชอบ
  • 57. 1.กรณีกระทําโดยไมมีอํานาจ หนวยงานของรัฐหรือเจาหนาที่ของรัฐจะดําเนินการใดๆ ที่กระทบตอสิทธิ เสรีภาพ หรือ ประโยชนโดยชอบธรรมของประชาชนได ตอเมื่อมีกฎหมายบัญญัติใหอํานาจไวชัดแจง การกระทําที่ไมมีอํานาจคือ 1. ไมมีกฎหมายใหอํานาจไว 2. กระทําโดยเจาหนาที่ไมมีอํานาจตามกฎหมายในเรื่องนั้น 3. เจาหนาที่ ไมไดรับมอบอํานาจ 4. กฎหมายนั้นไมไดระบุใหมอบอํานาจ 5. การมอบอํานาจไมชอบดวยกฎหมาย 6. ออกคําสั่งฯ เมื่อพนระยะเวลา (คําสั่งตามมาตรา 12) 57 หน้าท่ ี 39
  • 58. 2.กรณีกระทํานอกอํานาจหนาที่ เป น กรณี ที่ ห น ว ยงานทางปกครองหรื อ เจ า หน า ที่ ข องรั ฐ มี อํ า นาจกระทํ า ได ต าม กฎหมายอยูแลว และมีอํานาจหนาที่ที่จะดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง เพียงแตได กระทําเกินกวาที่กฎหมายใหอํานาจอํานาจหนาที่ที่ตนมีอยู คดี ห มายเลขแดงที่ อ. ๒๔๗/๒๕๕๒ เครื่ อ งอุ ป กรณ เ ด็ ก เล น ที่ ผู ถู ก ฟ อ งคดี ติ ด ตั้ ง ใน สวนสาธารณะประกอบไปดวยบันไดลื่น จํานวน ๔ ตัว อุโมงคสไลเดอร จํานวน ๔ ตัว สะพานเชื่อมระหวางบันไดลื่น จํานวน ๒ ชุด โดยอุปกรณทั้งหมดเชื่อมติดตอกัน โดย สภาพจึงเปนเครื่องอุปกรณเด็กเลนที่มีขนาดใหญที่กอใหเกิดเสียงดังรบกวนความเปนอยู ของผูฟองคดีที่จะไดอยูดวยความสงบ อีกทั้งมีความสูงอันทําใหผูฟองคดีเสียความเปนสวน ตัวการดําเนินการของผูถูกฟองคดี จึงเปนการใชอํานาจนอกเหนืออํานาจหนาที่ตามที่ 58 กฎหมายกําหนดอันเปนการไมชอบดวยกฎหมาย
  • 59. 3.กรณีกระทําโดยไมถูกตองตามกฎหมาย กรณีที่หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐจะพิจารณาวินิจฉัยเพื่อมี คําสั่งหรือดําเนินการในเรื่องหนึ่งเรื่องใดตามอํานาจหนาที่ที่กฎหมายบัญญัติ ไว อันมีผลกระทบตอสิทธิของบุคคล หนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ ของรั ฐ จะต อ งพิ จ ารณาองค ป ระกอบของข อ เท็ จ จริ ง และข อ กฎหมายที่ เกี่ยวของใหครบถวนวาสอดคลองตองกันกอนออกคําสั่งหรือดําเนินการใน เรื่องนั้นๆ การกระทําโดยไมถูกตองตามกฎหมายเปนกรณีที่หนวยงานทาง ปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐออกกฎ หรือคําสั่งทางปกครอง หรือกระทําการ ใดๆ ที่มีขอเท็จจริงขัดหรือแยงกับตัวบทกฎหมายแมบท หรือกฎหมายลําดับ รอง หรือขัดรัฐธรรมนูญก็ได  เนื้อหาของคําสังฯขัดหรือแยงตอกฎหมาย ่ 59  ออกกฎหรือคําสังฯ ไมเปนไปตามเงื่อนไขทีกฎหมายกําหนด ่ ่
  • 60. คําพิพากษาศาลปกครองสูง สุดที่ อ.๓๑๐/๒๕๕๐ การยายผูฟอ งคดีซึ่ง เปนพนักงานเทศบาลจาก ตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียน ระดับ ๘ ไปดํารงตําแหนงรักษาการในตําแหนงอาจารยใหญ ระดับ ๗ โดยผูฟองคดีไมไดสมัครใจนั้น ผลของคําสั่งทําใหผูฟองคดีตองยายจากตําแหนงผูอํานวยการโรงเรียน ซึ่งเปนตําแหนงที่มีเงินประจําตําแหนงไปดํารงตําแหนงรักษาการอาจารยใหญซึ่งเปนตําแหนงที่ไมมี เงินประจําตําแหนง ซึ่งขัดตอประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่อง มาตรฐานทั่วไป เกี่ยวกับหลักเกณฑและเงื่อนไขการคัดเลือก การบรรจุ แตงตั้ง การยาย การโอน การเลื่อนระดับ และ การเลื่อนขั้นเงินเดือน ขอ ๒๒ การยายพนักงานเทศบาลตําแหนงใดไปแตงตั้งใหดํารงตําแหนงในสาย งานที่ต่ํากวาตําแหนงสายงานเดิมหรือระดับต่ํากวาเดิมหรือยายพนักงางานเทศบาลในตําแหนงสาย งานผูบริหารและผูบริหารสถานศึกษาไปแตงตั้งใหดํารงตําแหนงสายผูปฏิบัติงานใหกระทําไดตอเมื่อ พนักงานเทศบาลผูนั้นสมัครใจและไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการพนักงานเทศบาล ยอมทําให ผู ฟ อ งคดี ไ ด รั บ ความเสี ย หาย จึ ง เป น การกระทํ า ละเมิ ดจากการปฏิ บัติ ห น า ที่ เทศบาลในฐานะ หนวยงานของรัฐในสังกัดจึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายใหแกผูฟองคดี
  • 61. 4. กรณีกระทําไมถูกตองตามรูปแบบ ขั้นตอน เปนกรณีที่กฎหมายกําหนดรูปแบบ ขั้นตอนไวใหในกรณีที่เจาหนาที่หรือหนวยงาน ของรัฐจะทําการออกกฎ คําสั่งทางปกครอง หรือปฏิบัติการทางปกครองในเรื่องใดเรื่อง หนึ่ง จําตองทําตามรูปแบบ ขั้นตอนที่กฎหมายกําหนด มิฉะนั้นแลวจะเปนการไมชอบ ดวยรูปแบบ หรือมิชอบดวยขั้นตอน ซึ่งแยกพิจารณาออกได 2 กรณี คือ ผิดรูปแบบ และผิดขั้นตอน 1. รูปแบบตามที่กฎหมายกําหนด (ม.34-37 วิ.ปกครอง กรณีคําสั่งทางปกครอง, เหตุผลประกอบ คําสั่งฯ,หากเปนหนังสือ ตองมีรายการครบ ฯลฯ) 2. ขั้นตอนตามที่กฎหมายกําหนด (ม.29-30 วิ.ปกครอง ใหแจงขอมูล ใหสิทธิ์โตแยง ,หรือกรณีที่ กฎหมายใหคณะกรรมการพิจารณา ใหองคกรพิจารณากอน เพื่อขอคําปรึกษาหารือ หรือขอ ความเห็น)
  • 62. คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๒๑๒/๒๕๔๘ การที่นายอําเภอซึ่งเปนผูกํากับดูแล องค การบริห ารสวนตําบลจะใชอํานาจตามพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ บริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ วินิจฉัยใหสมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบลสิ้นสุด สมาชิ กภาพนั้น จะตอ งใหโ อกาสแกสมาชิกสภา ดังกลาวไดทราบขอ เท็จ จริงอยาง เพียงพอ และมีโอกาสโตแยงแสดงพยานหลักฐานของตน รวมทั้งตองวินิจฉัยโดยมี ขอเท็จจริงสนับสนุนอยางเพียงพอ ไมเชนนั้นยอมเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย  คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๓๐/๒๕๕๐ กรณีที่นายกเทศมนตรีออกคําสั่งไม เลื่อนขั้นเงินเดือนใหแกผูฟองคดีตามความเห็นของปลัดเทศบาล โดยมิไดแจงผลการ ประเมิ น ใหผู ฟอ งคดีท ราบกอ นออกคํา สั่งดังกลาวตามมาตรา ๗๒ วรรคสาม แห ง พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๓๕ ประกอบหนังสือสํานักงาน ก.พ. และหนังสือสํานักงาน ก.ท. จึงเปนกรณีที่ปฏิบัติไมถูกตองตามขั้นตอนและวิธีการ ที่กฎหมายกําหนด 62
  • 63. คําพิพากษาศาลปกครองพิษณุโลกที่ ๑๕๑/๒๕๕๐  ผูฟองคดีเปนประธานกรรมการกําหนดราคากลางใชวัสดุและราคาที่ผูประมาณราคากอสรางจัดทําไวมา กําหนดเปนราคากลางโดยไมไดตรวจสอบหรือคํานวณปริมาณวัสดุโดยการถอดแบบ ราคาคากอสรางที่ทํา ไวผิดพลาด ราคากลางจึงผิดพลาดไปดวย เปนความผิดฐานไมเอาใจใสระมัดระวังรักษาผลประโยชนของ ทางราชการ และตรวจรับงานทั้งที่ไมครบแบบรูปรายการ บกพรองตอหนาที่ไมตรวจรับงานใหเปนไปตาม แบบแปลนและรายละเอียดในสัญญา อันเปนความผิดฐานไมเอาใจใสรักษาผลประโยชนของทางราชการ ทั้งสองกรณีเปนความผิดวินัยไมรายแรง เห็นควรตัดเงินเดือน 5% 3 เดือน แตคณะกรรมการสอบสวน ทางวินัยมิไดเรียกผูฟองคดีมาพบเพื่อแจงขอกลาวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนขอกลาวหา และ ไมจัดทําบันทึกตามแบบ สว. 3 จึงเปนการกระทําที่ไมเปนไปตามหลักเกณฑตามประกาศ ก.ทจ.  การสอบปากคําผูถูกกลาวหาและพยานตองมีกรรมการสอบสวนไมนอยกวากึ่งหนึ่งจึงจะสอบสวนได การที่ นําเอกสารรายงานการสอบสวนกรณีถูกกลาวหาวากระทําผิดวินัยมูลกรณีเดียวกันของ ทน.เชียงใหม อีก ทั้งผูถูกกลาวหาทั้ง 6 คน ไมใชพยานบุคคลในสํานวนการสอบสวนของผูฟองคดี และผูสอบปากคําก็ไมใช กรรมการสอบสวนในสํ านวนสอบสวนผู ฟอ งคดี จึ ง ไม อ าจถือ ว าข อ เท็ จ จริ ง ในรายงานการสอบสวน ดังกลาวเปนคําใหการพยานที่จะนํามาประกอบการสอบสวนลงโทษผูฟองคดีได
  • 64. 5. กรณีกระทําโดยไมถูกตองวิธีการอันเปนสาระสําคัญ โดยทั่วไป เจาหนาที่ของรัฐจะดําเนินการทางปกครองตามวิธีการตางๆ ซึ่งมี รายละเอี ย ดและลั ก ษณะวิ ธี ก ารที่ ห ลากหลายแตกต า งกั น ตามสภาพของงานให บรรลุผ ลตามวั ต ถุป ระสงค และเพื่ อให บ รรลุ ผลอย างมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บางครั้ ง เจาหนาที่ของรัฐจะตองปรับวิธีการตาง ๆ ใหเหมาะสมกับสถานการณที่เปลี่ยนไป ดวย โดยบางกรณีอาจใชวิธีการหนึ่ง แตอาจใชวิธีการอีกอยางหนึ่งในกรณีเดียวกัน ดวยเหตุที่ฝายนิตบัญญัตเห็นวา การกระทําทางปกครองในกรณีใดๆ กรณีหนึ่งจําตอง  ิ ิ ใชวิธีการเดียวเทานั้นเพราะอาจเกิดผลกระทบตอประโยชนสาธารณะมากกวาที่จะ ไดรับประโยชนจากการกระทําโดยวิธีอื่นใด จึงไดกําหนดวิธีการทางปกครองวิธีเดียว เทานั้นที่เปนสาระสําคัญแหงการกระทํา หากเจาหนาที่ของรัฐไมปฏิบัติตามวิธีการ ดังกลาว ถือวาเปนการกระทําไมชอบดวยกฎหมาย 64
  • 65.  คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๙๐/๒๕๔๙ ประธานสภามีหนาที่ แจงใหสมาชิกสภาฯที่ถูกยื่นญัตติใหพนจากสมาชิกภาพไดทราบญัตติ กอนการประชุมสภาฯ เพื่อเตรียมหลักฐานชี้แจงแกขอกลาวหาตาม ระยะเวลาที่ กํ า หนดไว ใ นข อ บั ง คั บ กระทรวงมหาดไทยว า ด ว ยการ ประชุมสภาองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๘ ซึ่งตองดําเนินการ ใหเปนไปตามหลักเกณฑของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยงาน สารบรรณ พ.ศ. ๒๕๒๖ เมื่อไมปรากฏวาสมาชิกสภาฯ ที่ถูกยื่นญัตติ ไดรับการแจงญัตติตามที่กฎหมายกําหนด การที่สภาฯ มีมติใหสมาชิก สภาฯ ดังกลาวพนจากสมาชิกภาพ จึงเปนการออกคําสั่งโดยไมถูกตอง ตามรูปแบบ ขั้นตอน หรือวิธีการอันเปนสาระสําคัญที่กฎหมายกําหนด ไวสําหรับการกระทํานั้น 65
  • 66. 6.กระทําโดยไมสุจริต (การใชอํานาจเพื่อประโยชนสวนตัว) เจาหนาที่ของรัฐใชกฎหมายที่ใหอํานาจไวสําหรับการกระทํานั้น มาปรับใช อํานาจบิดเบือนใหสอดคลองกับขอเท็จจริงการกระทําโดยมีเจตนา หรือ วัตถุประสงคนอกเหนือไปจากวัตถุประสงคที่กฎหมายใหอํานาจไว เพื่อ แสวงหาประโยชน ส ว นตั ว หรื อ ของผู อื่ น ไม ไ ด ก ระทํ า การเพื่ อ คุ ม ครอง ประโยชน ส าธารณะ โดยหลั ก จะพิ จ ารณาจากมู ล เหตุ (motif) ของ เจาหนาที่ผูกระทําทางปกครองนั้น ๆ วา ไดดําเนินการทางปกครองไปเพื่อ บรรลุเจตนารมณของกฎหมายนั้นหรือไม โดยใชเหตุผลสวนตัวแอบแฝง 66 หรือโดยกลั่นแกลงผูรับคําสั่งทางปกครองหรือไม
  • 67. • คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. ๙๐/๒๕๔๗ ผูฟองคดีเปนขาราชการในสังกัดอบจ. ตําแหนง เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป ๖ สวนอํานวยการ มีหนาที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับงานบริหารทั่วไป หรืองานเลขานุการที่ยากมาก โดยตองประยุกตใชความรูและประสบการณกับงานที่ปฏิบัติเพื่อ กําหนดและปรับเปลี่ยนแผนงานเพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด โดยไมตองมี การกํากับตรวจสอบแนะนํา โดยสามารถวางแผนการปฏิบัติงานเองและตัดสินใจแกไขปรับเปลี่ยน แผนหรือแกไขปญหาในงานที่รับผิดชอบโดยอิสระ แตอบจ. ไดมีคําสั่งใหผูฟองคดีไปปฏิบัติงาน ประจํา ณ ทาเทียบเรือรัษฎา ซึ่งเปนทาเทียบเรือที่ใหเอกชนเชาดําเนินการ โดยมีหนาที่รับผิดชอบ ดูแลการใชทาเทียบเรือรัษฎาใหเปนไปโดยความเรียบรอยและประสานงานระหวางผูเชาทาเทียบ เรือรัษฎากับอบจ. และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินการทาเทียบเรือรัษฎา ในขณะที่ อบจ. ไดมีคําสั่งใหผูฟองคดีไปปฏิบัติงานประจํา ณ ทาเทียบเรือ สวนอํานวยการของอบจ. มี กรอบอัตรากําลังขาราชการจํานวน ๙ อัตรา และมีขาราชการตามกรอบอัตรากําลังจริงจํานวน ๖ อัตรา ผูฟองคดีเห็นวาการออกคําสั่งดังกลาวเปนการกลั่นแกลงจนไดรับความเดือดรอนเปนการ กระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย 67
  • 68. 7.กรณีความเสมอภาค)โดยเลือกปฏิบัติที่ไมเปนธรรม (ขัดตอหลัก กระทํา  การกระทําของหนวยงานทางปกครองหรือเจาหนาที่ของรัฐที่มีลักษณะเปนการเลือก ปฏิ บั ติ ที่ ไ ม เ ป น ธรรมนั้ น ถื อ เป น การกระทํ า ที่ ขั ด ตอ หลั ก ความเสมอภาคอั น เป น หลั ก รัฐธรรมนูญทั่วไป  หลักความเสมอภาคเปนหลักกฎหมายที่รองรับสิทธิของราษฎรที่จะไดรับการปฏิบัติ จากรัฐอยางเทาเทียมกัน ซึ่งมีความหมายวาองคกรตางๆ ของรัฐรวมทั้งฝายปกครองตอง ปฏิบัติตอบุคคลที่เหมือนกันในสาระสําคัญอยางเดียวกัน และปฏิบัติตอบุคคลที่แตกตางกัน ในสาระสําคัญแตกตางกันออกไปตามลักษณะเฉพาะของแตละคน  การปฏิบัติตอบุคคลที่เหมือนกันในสาระสําคัญแตกตางกันก็ดี การปฏิบัติตอบุคคลที68 ่ แตกตางกันในสาระสําคัญอยางเดียวกันก็ดี ยอมขัดตอหลักความเสมอภาค
  • 69. ขอคยกเวหมายที่ชอบธรรม กลาวคือ มีความมุงหมายเพื่อ มี วามมุ ง น รั ก ษาหรื อ ก อ ให เ กิ ด ประโยชน ส าธารณะตามที่ ก ฎหมายที่ ใ ห อํานาจไว เพื่อจะใหความคุมครอง หรือจะใหเกิดขึ้น เปนมาตรการที่สามารถดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคที่ชอบ ธรรมนั้นไดจริงในทางปฏิบัติ เปนมาตรการที่จําเปนแกการดําเนินการใหบรรลุวัตถุประสงคที่ 69 ชอบธรรมนั้น