SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
Download to read offline
1
หลักเกณฑ์และวิธีการสอบสวน ตามกฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วย
การสอบสวนพิจารณา พ.ศ. 2550
นายธีรนันต์ ไกรนิธิสม
กรรมการวินิจฉัยอุทธรณ์
กรุงเทพมหานคร
2
กรอบคาบรรยาย
 หลักการสาคัญ
 หลักกฎหมายปกครอง
 คุณสมบัติของผู้ดาเนินการทางวินัย (กรรมการสอบสวนที่ดี)
 วัตถุประสงค์ของการสอบสวน
 สาระสาคัญของกฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2550
- บททั่วไป (ข้อ 1)
- หมวด 1 การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ข้อ 2-6)
3
กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา พ.ศ.2550
แบ่งเป็นหมวดหมู่ได้ 8 หมวด
หมวด 1 การแต่งตั้งกรรมการสอบสวน (ข้อ 2 – ข้อ 6)
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ของผู้ถูกกล่าวหา และพยาน (ข้อ 7- ข้อ 13)
หมวด 3 อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน (ข้อ 14-ข้อ 19)
หมวด 4 วิธีการสอบสวน (ข้อ 20-ข้อ 37)
4
กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา
พ.ศ.2550 (ต่อ)
หมวด 5 การทารายงานการสอบสวน (ข้อ 38 – ข้อ 39)
หมวด 6 การพิจารณาสั่งสานวนการสอบสวน (ข้อ 40 - ข้อ 42)
หมวด 7 การสอบสวนที่มิชอบและข้อบกพร่อง (ข้อ 43-ข้อ 46)
หมวด 8 การนับระยะเวลา (ข้อ 47)
จุดอ่อนของคนไทย ๑๐ ประการ (วิกรม กรมดิษฐ์)
๑. คนไทยรู้จักหน้าที่ของตนเอง โดยเฉพาะหน้าที่ต่อสังคม
๒. การศึกษายังไม่ทันสมัย เก่งแต่ภาษาตัวเอง ขี้อาย ไม่มั่นใจตัวเอง
๓. มองอนาคตไม่เป็น ทางานไปวันๆ
๔.ไม่จริงจังในความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ทางานแบบผักชีโรยหน้า
5
6
จุดอ่อนของคนไทย (ต่อ)
๕. การกระจายความเจริญไม่เต็มที่
๖. การบังคับใช้กฎหมายไม่เข้มแข็ง ดาเนินการไม่ต่อเนื่อง
๗. อิจฉาตาร้อน เป็นศรีธนญชัย ไม่เป็นสภาพบุรุษ
๘. NGO ค้านทุกเรื่อง
๙. ยังไม่พร้อมในเวทีโลก ขาดทีมเวิร์ค ขาดทักษะ
๑๐. เลี้ยงลูกไม่เป็น เด็กขาดความอดทน ไม่มีภูมิต้านทาน
ลักษณะของวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
๑. ใช้เฉพาะกับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
๒.ไม่มีอายุความ
๓. ยอมความไม่ได้
๔. ไกล่เกลี่ยไม่ได้
๕. รับสารภาพไม่เป็นเหตุลดหย่อนโทษ
๖. กรณีมีมูลว่ากระทาผิดวินัยต้องตั้งกรรมการสอบสวน
๗. สงสัย/ไม่มีหลักฐานจึงจะสืบสวน
๘. ความผิดปรากฏชัดแจ้งไม่ต้องตั้งกรรมการสอบสวนก็ได้
7
๙. วินัยร้ายแรงสามารถสั่งพักราชการหรือให้ออกจากราชการไว้ก่อนได้
๑๐. มีมูลว่ากระทาผิดวินัยร้ายแรงแม้ออกจากราชการไปแล้ว ก็ตั้งกรรมการ
สอบสวนได้
๑๑. ตั้งกรรมการสอบสวนแล้ว แม้จะพ้นหรือออกราชการก็ต้องสอบสวนต่อไป
๑๒. ออกจากราชการไปแล้ว ถ้าผลสอบสวนปรากฏว่าผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ก็มีคาสั่งปลดออกหรือ ไล่ออกได้
๑๓. อ้างว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้
๑๔. ไม่เจตนาก็อาจเป็นความผิดวินัยได้
๑๕. หลักฐานไม่เพียงพอที่จะลงโทษว่ากระทาผิดวินัยก็ให้ออก กรณีมีมลทิน
หรือมัวหมองได้ 8
ลักษณะของวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ต่อ)
ลักษณะของวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ต่อ)
๑๖. ถ้าถูกลงโทษไล่ออกจากราชการไม่มีสิทธิได้รับบาเหน็จบานาญ
๑๗. กระทาผิดวินัยแล้วอาจเป็นความผิดทางอาญาและเป็นความผิดทางแพ่งในเรื่อง
เดียวกันด้วยก็ได้
๑๘. ชดใช้ด้วยเงินไม่ได้
๑๙. ให้การเท็จ เป็นพยานเท็จ เป็นความผิดวินัย/และเป็นความผิดทางอาญามีโทษติดคุกได้
๒๐. มาตรฐานโทษทางวินัยของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสูงกว่าข้าราชการ
ประเภทอื่น
๒๑. ผู้บังคับบัญชาช่วยเหลือหรือกลั่นแกล้งผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย การกระทาของ
ผู้บังคับบัญชาก็เป็นความผิดวินัยด้วย
๒๒. กรณี ปปช. ชี้มูลความผิดแล้ว ไม่ต้องสอบสวนอีก
9
ลักษณะของวินัยข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (ต่อ)
๒๓. ต้องสอบสวนตามกฎสอบสวน การสอบสวนที่ผิดพลาดต้องยกเลิกและทาใหม่
และต้องรับผิดทางละเมิดด้วย
๒๔. กรณีกระทาผิดวินัย ผู้บังคับบัญชาไม่ดาเนินการหรือละเลย ผบ. ผิดวินัยด้วย
๒๕. การถอนคาร้องทุกข์/ร้องเรียนไม่เป็นเหตุให้คณะกรรมการสอบสวนยุติการ
สอบสวน
๒๖. การดาเนินการทางวินัยและทางอาญาแยกจากกัน และแยกจากการดาเนินการของ
ปปช.
๒๗. วินัยเชิงลบขจัดคนชั่ว รักษาคนดี วินัยเชิงบวก สร้างความเจริญยั่งยืน
๒๘. วินัยเสมือนน้า น้านิ่งย่อมเน่า จึงต้องมีการทบทวนและพัฒนาวินัย
10
11
1. เป็นกระบวนการเฉพาะในการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา (ข้อ 1)
2. ผู้ถูกกล่าวหาอยู่ในฐานะประธานแห่งสิทธิ
3. ใช้ระบบไต่สวน ดาเนินการเพื่อให้ได้ความจริงและความยุติธรรม
4. ต้องดาเนินการโดยรวดเร็ว ต่อเนื่อง และเป็นธรรม
5. เป็นกระบวนการกึ่งยุติธรรมภายในฝ่ายปกครอง
6. ยึดหลักกระจายอานาจ โดยมีองค์คณะในแต่ละระดับ ทาหน้าที่กลั่นกรอง
7. มีกระบวนการทบทวนแก้ไขการสอบสวนที่มิชอบและบกพร่อง/
การอุทธรณ์
8. มีกระบวนการในการตรวจสอบ กากับ ดูแล
9. ใช้หลักการของกฎหมายมหาชน
หลักการสาคัญ
12
ระบบกล่าวหา
(Accusatorial System)
ระบบไต่สวน
(Inquisitorial System)
1. ศาลทาหน้าที่เป็นคนกลาง รับฟังข้อเท็จจริง
จากคู่กรณี แล้วชั่งน้าหนัก
2. เป็นหน้าที่โจทก์และจาเลยมีหน้าที่นาพยาน
หลักฐานมาแสดงต่อศาล
3. ศาลต้องดาเนินกระบวนพิจารณาต่อหน้าจาเลย
4. ศาลพิพากษายกฟ้องเพราะข้อเท็จจริง
ไม่เพียงพอได้
5. เคร่งครัดในกระบวนพิจารณา
1. ศาลทาหน้าที่เป็นผู้แสวงหาข้อเท็จจริง
ให้มากที่สุด
2. บังคับให้ศาลต้องแสวงหาข้อเท็จจริงเอง
จนสิ้นกระแสความ
3. ศาลพิจารณาลับหลังจาเลยได้
4. พิพากษาให้ยกคาฟ้อง เพราะมีข้อเท็จจริง
ไม่เพียงพอไม่ได้
5. การดาเนินการเรียบง่าย มีความยืดหยุ่น
ในกระบวนพิจารณา เพื่อประโยชน์
แห่งความยุติธรรม
เปรียบเทียบระบบกล่าวหาและระบบไต่สวน
13
ระบบกล่าวหา
(Accusatorial System)
ระบบไต่สวน
(Inquisitorial System)
6. คู่กรณีมีฐานะเท่าเทียมกัน
7. แยกอานาจสอบสวน (ตารวจ) อานาจสั่งฟ้อง
(อัยการ) และอานาจพิจารณา (ศาล) ออกจากกัน
8. ผู้ฟ้องคดีต้องรักษาสิทธิของตนเอง
9. สถานะของผู้ถูกกล่าวหาเป็นประธาน
แห่งสิทธิ์หรือเป็น “ประธานในคดี”
10. จะต้องฟังข้อเท็จจริงโดยปราศจากข้อสงสัย
จึงจะลงโทษ/ยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้
จาเลย
6. คู่กรณีมีฐานไม่เท่าเทียมกัน รัฐมีอานาจ
เหนือกว่า
7. รวบอานาจสอบสวนและอานาจพิจารณา
ไว้ที่ศาล
8. มีกระบวนการคุ้มครองสิทธิเพราะความไม่รู้
ของคู่กรณี
9. สถานะของผู้ถูกกล่าวหาเป็น “กรรมในคดี”
10. ยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้จาเลยไม่ได้
ต้องแสวงหาข้อเท็จจริงจนเพียงพอ
เปรียบเทียบระบบกล่าวหาและระบบไต่สวน (ต่อ)
14
หลักกฎหมายสมัยใหม่
1. หลักไม่มีกฎหมายไม่มีอานาจ (หลักต้องมีกฎหมายให้อานาจ)
2. หลักการการกระทาทางปกครองต้องไม่ขัดต่อกฎหมาย
(หลักการกระทาทางปกครองต้องชอบด้วยกฎหมาย)
3. หลักแห่งความเสมอภาค (หลักการห้ามเลือกปฏิบัติ
ตามอาเภอใจ)
4. หลักแห่งความได้สัดส่วน (หลักความสมควรแก่เหตุ)
หลักแห่งความเหมาะสม
หลักแห่งความจาเป็น
หลักแห่งความได้สัดส่วน
15
หลักกฎหมายสมัยใหม่ (ต่อ)
5. หลักความเป็นกลาง
6. หลักฟังความอีกฝ่าย
7. หลักการบังคับบัญชา
8. หลักความเป็นอิสระขององค์กรที่รองรับการกระจายอานาจ
9. หลักความไม่มีผลย้อนหลังของนิติกรรมทางปกครอง
(หลักการกระทาทางปกครองต้องไม่มีผลย้อนหลัง)
10. หลักการคุ้มครองประโยชน์สาธารณะ
(หลักการบริการสาธารณะต้องมีความต่อเนื่อง)
16
หลักกฎหมายสมัยใหม่ (ต่อ)
11. หลักการกระทาทางปกครองต้องมีความชัดเจน
และคาดหมายได้
12. หลักการคุ้มครองความเชื่อถือและไว้วางใจ
13. หลักความยุติธรรม
17
คุณสมบัติของผู้ดาเนินการทางวินัย (กรรมการสอบสวน) ที่ดี
1. มีความรู้อย่างกว้างขวาง
2. มีคุณธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งความซื่อสัตย์สุจริต
3. มีเชาวน์ไหวพริบ
4. มีบุคลิกภาพที่ดี สุภาพ
5. มีความเพียร พยายาม/อดทน
6. รู้จักเชื่อมโยงเหตุการณ์
7. มีอุดมการณ์ ความกล้าหาญทางจริยธรรม
8. มีความสามารถในการสังเกต อ่านกิริยาท่าทางของผู้ถูกซักถาม
18
วัตถุประสงค์ของการสอบสวน
1. เพื่อให้ผู้ถูกกล่าวหาได้มีโอกาสต่อสู้ ชี้แจง
2. รวบรวมพยานหลักฐานทุกอย่างเท่าที่จาเป็น
3. ตรวจสอบข้อเท็จจริงและพยานหลักฐาน
4. พิสูจน์ความผิดหรือความบริสุทธิของผู้ถูกกล่าวหา
5. ให้ได้ความจริงและความยุติธรรมให้แก่ทุกฝ่าย (ข้อ 1)
การดาเนินการทางวินัยต้องมีการสอบสวน
1. ต้องมีการตั้งคณะกรรมการสอบสวน
2. ต้องมีการกล่าวหาและแจ้งข้อกล่าวหา
3. ต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงและนาสืบแก้ข้อกล่าวหา
19
กฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยการสอบสวนพิจารณา
พ.ศ.2550
(มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 12 กันยายน 2550)
20
บททั่วไป
ข้อ 1
การดาเนินการทางวินัยแก่ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
1. ต้องเป็นกรณีซึ่งมีมูลอันควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินัย
2. ต้องดาเนินการเพื่อให้ได้ความจริง
3. ต้องเป็นไปเพื่อความยุติธรรม
21
หมวด 1 การแต่งตั้งกรรมการสอบสวน (ข้อ 2-ข้อ6)
ข้อ 2
การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยจะกระทาได้เมื่อ
1. เป็นกรณีมีมูล คือ มีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยู่แล้ว
ว่ามีข้าราชการครูกระทาผิดวินัย
2. กรณีมีการกล่าวหาโดยปรากฏตัวผู้กล่าวหา / กรณีเป็นที่สงสัย
แต่ยังไม่มีพยานหลักฐาน และได้สืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องต้น
และผู้บังคับบัญชาเห็นว่าเป็นกรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่า
กระทาผิดวินัย
22
กรณีที่ต้องแต่งตั้งกรรมการสอบสวน
1. มีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษากระทาผิดวินัย ทั้งวินัยไม่ร้ายแรงและวินัย
อย่างร้ายแรง (ผู้บังคับบัญชาแต่งตั้งกรรมการสอบสวน)
2. กรณีผู้มีอานาจตามมาตรา 53 ไม่ปฏิบัติตามมาตรา 98
วรรคสอง ผู้บังคับบัญชาของผู้มีอานาจตามมาตรา 53
ระดับเหนือขึ้นไปมีอานาจดาเนินการ
23
กรณีที่ต้องแต่งตั้งกรรมการสอบสวน (ต่อ)
3. มีกรณีถูกกล่าวหาว่ากระทาหรือละเว้นกระทาการใด ๆ
ที่เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง และได้มีการกล่าวหา
เป็นหนังสือต่อผู้บังคับบัญชา/ผู้มีหน้าที่สืบสวนสอบสวน/
ผู้มีหน้าที่ตรวจสอบตามกฎหมายหรือระเบียบ
แม้ออกจากราชการไปแล้ว
4. การให้ออกจากราชการ ตามมาตรา 110
5. การให้ออกจากราชการ กรณีหย่อนความสามารถในอันที่จะ
ปฏิบัติหน้าที่ราชการ บกพร่องในหน้าที่ราชการ หรือประพฤติตน
ไม่เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ราชการ ตามมาตรา 111
24
กรณีที่อาจไม่แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนก็ได้ (ข้อยกเว้นตามมาตรา 98 วรรคเจ็ด
และกฎ ก.ค.ศ.ว่าด้วยความผิดปรากฏชัดแจ้ง พ.ศ. 2549)
ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง
วินัยอย่างร้ายแรงวินัยไม่ร้ายแรง
- ต้องคาพิพากษาถึงที่สุดว่ากระทาผิด
- รับ - สารภาพเป็นหนังสือ
- ได้รับโทษจาคุก
- ละทิ้งหน้าที่เกินกว่า 15 วันฯ
โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
- รับสารภาพเป็นหนังสือ
25
1. นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีเจ้าสังกัด
2. ผู้มีอานาจสั่งบรรจุตามมาตรา 53
- รัฐมนตรีเจ้าสังกัด
- หัวหน้าส่วนราชการ/อธิบดี (กรณีผู้ถูกกล่าวหามิได้สังกัดเขตพื้นที่การศึกษา)
- เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
- ผู้อานวยการสถานศึกษา
3. ผู้บังคับบัญชาของผู้มีอานาจตามมาตรา 53
4. ผู้บังคับบัญชาที่ได้รับรายงาน ใช้อานาจตามมาตรา 104 (1)
5. ก.ค.ศ. ใช้อานาจตามมาตรา 105
ผู้มีอานาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
26
1. กรณีผู้ถูกกล่าวหาสังกัดหน่วยงานการศึกษาหรือเขตพื้นที่
การศึกษาเดียวกัน
ผู้มีอานาจตามมาตรา 53 ผู้หนึ่งผู้ใดที่เป็นผู้บังคับบัญชา
ที่มีระดับสูงกว่าผู้มีอานาจตามมาตรา 53 ของผู้ถูกกล่าวหารายอื่น
เป็นผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทั้งหมด
2. กรณีผู้ถูกกล่าวหาสังกัดต่างหน่วยงานการศึกษาหรือต่างเขตพื้นที่
การศึกษา
ให้ผู้มีอานาจตามมาตรา 53 ของผู้ถูกกล่าวหาแต่ละรายประสาน
การดาเนินการร่วมกันในการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
กรณีข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากระทาผิดวินัยร่วมกัน
27
1. กรณีมีความเห็นแย้งกันระหว่างผู้มีอานาจตามมาตรา53
ในเขตพื้นที่การศึกษาเดียวกัน ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด
2. กรณีมีความเห็นแย้งกันระหว่างผู้มีอานาจตามมาตรา53
ต่างเขตพื้นที่การศึกษา ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐานเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด
3. กรณีความเห็นแย้งกันระหว่างผู้มีอานาจตามมาตรา 53
ต่างส่วนราชการ ให้รัฐมนตรีเป็นผู้วินิจฉัยชี้ขาด
กรณีที่มีปัญหาหรือความเห็นขัดแย้งในการแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนต่างหน่วยงานการศึกษาหรือต่างเขตพื้นที่การศึกษา
28
กระบวนการก่อนการดาเนินการทางวินัย (ม.95)
กรณีที่ผู้บังคับบัญชาต้องดาเนินการทางวินัยทันที
1. มีมูลอันควรกล่าวหาว่าข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
กระทาผิดวินัย
2. มีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยู่แล้ว
กรณีที่ผู้บังคับบัญชาต้องรีบดาเนินการสืบสวนหรือพิจารณาเบื้องต้น
1. ปรากฏตัวผู้กล่าวหาแต่ยังไม่มีพยานหลักฐาน
2. กรณีเป็นผู้สงสัยว่าข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดกระทาผิด
วินัยแต่ยังไม่มีพยานหลักฐาน
29
หมายถึง การแสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐาน
ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้ปฏิบัติไปตามอานาจหน้าที่เพื่อที่จะรักษา
ความสงบเรียบร้อยและเพื่อจะทราบรายละเอียดแห่งความผิด
หมายถึง การรวบรวมพยานหลักฐานและ
การดาเนินการทั้งหลายอื่น ซึ่งเจ้าหน้าที่ได้กระทาไป
เกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหาเพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริงหรือ
พิสูจน์ความผิด และเพื่อจะเอาตัวผู้กระทาผิดมาลงโทษ
การสืบสวน สอบสวน
30
1. ร้องเรียนโดยตรง
2. ร้องเรียนทางไปรษณีย์/Web
3. บัตรสนเท่ห์
4. ตรวจพบเอง
5. สื่อมวลชน
6. ส.ต.ง.หรือเจ้าหน้าที่อื่น
เช่น ตารวจ รายงาน
7. ผู้กระทาผิดรายงาน
8. ปปช. (สานวนฐานความผิด)
ผ.บ.สืบสวน
ข้อเท็จจริง
กรณี
มีมูล
ก่อนดาเนินการทางวินัย
ไม่ร้ายแรง
ตั้งคณะกรรมการ
สอบสวน
ร้ายแรง
การดาเนินการทางวินัย
31
หลักเกณฑ์การรับฟังบัตรสนเท่ห์
+ ต้องระบุพยานหลักฐานชัดเจน
+ ให้ผู้บังคับบัญชาสืบสวนเป็นทางลับ
+ บันทึกการดาเนินการสืบสวนไว้เป็นหลักฐาน
32
องค์ประกอบของคณะกรรมการสอบสวน (ข้อ 3)
1. ประธานกรรมการ
2. กรรมการอย่างน้อย 2 คน
3. กรรมการหนึ่งคนเป็นเลขานุการ
4. ผู้ช่วยเลขานุการ (กรณีจาเป็น)
คุณสมบัติของคณะกรรมการสอบสวน (กรณีตั้งคณะกรรมการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง)
1. เป็นข้าราชการฝ่ายพลเรือน/ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
2. ประธานฯ ต้องดารงตาแหน่งไม่ต่ากว่าผู้ถูกกล่าวหา กรณีผู้ถูกล่าวหา
เป็นข้าราชการครูฯ ที่มีทั้งตาแหน่งและวิทยฐานะ ประธานฯ ต้องดารงตาแหน่งและวิทยฐานะ
ไม่ต่ากว่าหรือเทียบได้ ไม่ต่ากว่าผู้ถูกกล่าวหา
3. ต้องมีกรรมการคนหนึ่งเป็นนิติกร/ผู้ได้รับปริญญาทางกฎหมาย/ผู้ผ่านการฝึกอบรมฯ
ผู้มีประสบการณ์ฯ
4. เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม เช่น มีความซื่อสัตย์ สุจริต ความยุติธรรม
33
องค์ประกอบของคาสั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน (ข้อ 4)
1. ชื่อ ตาแหน่ง หรือตาแหน่งและวิทยฐานะของ
ผู้ถูกกล่าวหา
2. เรื่องที่กล่าวหา
3. ชื่อ ตาแหน่ง หรือตาแหน่งและวิทยฐานะของผู้ได้รับ
แต่งตั้งเป็นคณะกรรมการสอบสวน/ผู้ช่วยเลขานุการ
(ถ้ามี)
4. รายละเอียดตามที่กาหนดในแบบ สว.1
34
การแจ้งคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ข้อ 5)
ผู้ถูกกล่าวหา คณะกรรมการสอบสวน
- ส่งสาเนาคาสั่งภายใน 3 วัน
นับแต่มีคาสั่ง
- ส่งหลักฐานการรับทราบคาสั่ง
- เอกสารหลักฐานเกี่ยวกับ
เรื่องที่กล่าวหา
- ประธานฯ ลงลายมือชื่อรับทราบ
- แจ้งผู้ถูกกล่าวหาภายใน 3 วัน
นับแต่มีคาสั่ง
- ให้ลงลายมือชื่อและวันที่รับทราบคาสั่ง
- มอบสาเนาคาสั่ง
- ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับ
- พ้น 15 วัน ถือว่ารับทราบ
35
การเปลี่ยน เพิ่ม หรือลดจานวนกรรมการสอบสวน (ข้อ 6)
มีเหตุอันสมควรหรือ
จาเป็นต้องเปลี่ยน/เพิ่ม /
ลด จานวนกรรมการ
ผู้มีอานาจสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน
มีคาสั่ง -
เปลี่ยนตัวกรรมการฯ
-เพิ่มตัวกรรมการฯ
-ลดจานวนกรรมการฯ
- ต้องแสดงเหตุแห่งการสั่ง
- นาข้อ 5 เรื่องหน้าที่ผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการฯ มาใช้โดยอนุโลม
- ไม่กระทบถึงการสอบสวนที่ดาเนินการไปแล้ว
36
หมวด 2 สิทธิและหน้าที่ของผู้ถูกกล่าวหาและพยาน
(ข้อ 7- ข้อ 13)
ข้อ 7
ในระหว่างการสอบสวนจะนาเหตุแห่ง
การถูกสอบสวนมาเป็นข้ออ้างในการดาเนินการ
ให้กระทบต่อสิทธิของผู้ถูกสอบสวนไม่ได้
ข้อยกเว้น
ถูกสั่งพักราชการหรือให้ออกจากราชการไว้ก่อน
37
เหตุคัดค้านกรรมการสอบสวน/ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ข้อ 8)
1. รู้เห็นเหตุการณ์ในขณะกระทาการในเรื่องที่กล่าวหา
2. มีประโยชน์ได้เสียในเรื่องที่สอบสวน
3. มีสาเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
4. เป็นผู้กล่าวหา คู่หมั้น คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน
เป็นพี่น้องร่วมบิดามารดา หรือร่วมบิดาหรือมารดา
เป็นลูกพี่ลูกน้องนับได้เพียงภายในสามชั้น เป็นญาติ
เกี่ยวพันทางแต่งงานนับได้เพียงสองชั้นของผู้กล่าวหา
5. เป็นเจ้าหนี้ ลูกหนี้ ของผู้กล่าวหา
6. มีเหตุอื่นซึ่งน่าเชื่ออย่างยิ่งว่าจะทาให้การสอบสวน
เสียความเป็นธรรมหรือไม่เป็นกลาง
38
การคัดค้านกรรมการสอบสวน/(ข้อ 8 วรรคสอง)
ผู้คัดค้าน
(ผู้ถูกกล่าวหา)
-ทาเป็นหนังสือยื่นโดยตรง/ไปรษณีย์
-แสดงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย
-ยื่นภายใน 7 วัน
-ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
-แจ้งประธานฯ ทราบ
พร้อมสาเนาหนังสือคัดค้าน
-รวมไว้ในสานวน
แจ้งผู้ถูกคัดค้าน หยุดการสอบสวน -พิจารณาคาคัดค้าน -
สั่งการภายใน 15 วัน
รับฟังได้
สั่งให้พ้นจากการเป็นกรรมการสอบสวน
สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวนขึ้นใหม่แทน
ไม่กระทบถึงสิ่งที่ดาเนินการไปแล้ว
-สั่งยกคาคัดค้าน(เป็นที่สุด)
-แจ้งผู้ถูกคัดค้าน
-ส่งเรื่องให้ประธานฯ
-ผู้ถูกคัดค้านพ้นจากกรรมการ
-ประธานฯ รายงานผู้สั่งแต่งตั้งฯ
- ตั้งกรรมการใหม่แทน
รับฟังไม่ได้ ไม่สั่งการภายใน 15 วัน
39
การคัดค้านผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน/(ข้อ 9)
ผู้คัดค้าน
(ผู้ถูกกล่าวหา)
- ทาเป็นหนังสือ
- แสดงข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย
- ยื่นภายใน 7 วัน
- ผู้บังคับบัญชาเหนือ ผู้สั่งแต่งตั้ง
กรรมการสอบสวนขึ้นไปหนึ่งชั้น
-พิจารณาคาคัดค้าน
-สั่งการภายใน 15 วัน
รับฟังได้
-สั่งให้พ้นจากผู้มีอานาจพิจารณาฯ
-ผบ.ชั้นเหนือขึ้นไป/ผู้ที่รับมอบหมาย
มีอานาจพิจารณาแทน
- สั่งยกคาคัดค้าน(เป็นที่สุด)
- แจ้งผู้ถูกคัดค้าน
- ส่งเรื่องให้ประธานฯ
-ผู้ถูกคัดค้านพ้นจากผู้มีอานาจพิจารณา
-ประธานฯ รายงานผู้สั่งแต่งตั้งฯ
-ผบ.ชั้นเหนือขึ้นไปมีอานาจพิจารณาแทน
รับฟังไม่ได้ ไม่สั่งการภายใน 15 วัน
40
ข้อ 10
สิทธิของผู้ถูกกล่าวหา
 มีสิทธิที่จะได้รับโอกาสทราบข้อเท็จจริงอย่าง
เพียงพอ
 มีสิทธิที่จะได้รับโอกาสในการโต้แย้งและ
แสดงพยานหลักฐานของตนต่อคณะกรรมการสอบสวน
 มีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จาเป็นต้องรู้เพื่อการโต้แย้ง
ชี้แจง หรือป้องกันสิทธิของตน
41
ข้อยกเว้น
(1) ทาให้ระยะเวลาที่กฎหมาย หรือ
กฎ ก.ค.ศ. กาหนด ต้องล่าช้าออกไป
(2) กรณีที่ปรากฏโดยสภาพเห็นได้ชัดว่า
การให้โอกาสดังกล่าวไม่อาจกระทาได้
42
ข้อ 11
สิทธิผู้ถูกกล่าวหา
ในการถูกสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง ผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิ
นาทนายความหรือที่ปรึกษาเข้ามาร่วมรับฟังการสอบสวน แต่
- ให้ถ้อยคาหรือตอบคาถามแทนผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้
- เสนอแนะหรือ ให้ความเห็นแก่กรรมการสอบสวนไม่ได้
43
ข้อ 12
อานาจหน้าที่กรรมการสอบสวน
1. กรรมการสอบสวนมีอานาจเรียกบุคคลใดมาเป็นพยาน
2. มีหนังสือแจ้งให้บุคคลนั้นมาชี้แจงหรือให้ถ้อยคา
ตามวันเวลาและสถานที่ ที่คณะกรรมการฯ กาหนด
44
ข้อ 13
การคุ้มครองพยาน
กรณีอ้างเจ้าหน้าที่ของรัฐเป็นพยาน ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่
1. อานวยความสะดวก
2. ให้ความคุ้มครองพยานจากการถูกกลั่นแกล้งหรือการปฏิบัติ
ที่ไม่เป็นธรรม
3. ประสานงานกับสานักงานอัยการสูงสุดเพื่อเป็นทนายแก้ต่าง
กรณีถูกฟ้องในคดีแพ่งหรือคดีอาญา
45
หมวด 3 อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน (ข้อ 14-19)
ข้อ 14อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสอบสวน
1. สอบสวนตามกฎ ก.ค.ศ. นี้
2. แสวงหาความจริงในเรื่องที่กล่าวหา
3. เริ่มสอบสวนและดาเนินกระบวนการพิจารณาอย่างรวดเร็ว
และเป็นธรรม
4. ใช้ดุลพินิจอย่างอิสระ เป็นกลาง ปราศจากอคติอย่างใด ๆ
5. รวมรวมประวัติและความประพฤติของผู้ที่ถูกกล่าวหา
รวมทั้งข้อเท็จจริง
6. จัดทาบันทึกประจาวันที่มีการสอบสวนไว้ทุกครั้ง
46
ข้อ 15
อานาจหน้าที่กรรมการสอบสวนในการรวบรวมพยานหลักฐาน
เท่าที่จาเป็น โดยให้รวมถึง
1. แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง
2. รับฟังพยานหลักฐาน/คาชี้แจง/ความเห็นของผู้ถูกกล่าวหา
พยานบุคคล พยานผู้เชี่ยวชาญ เว้นแต่การกล่าวอ้างที่ไม่จาเป็น
/ฟุ่มเฟือย/หรือเพื่อประวิงเวลา
3. ขอข้อเท็จจริง/ความเห็นจากคู่กรณี พยานบุคคล พยาน
ผู้เชี่ยวชาญ ทั้งที่เป็นคุณและประโยชน์แก่ผู้ถูกกล่าวหา
4. ขอให้ผู้ครอบครองเอกสารส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5. ออกไปตรวจสถานที่
47
ข้อ 16
การประชุมกรรมการสอบสวนครั้งแรก
เมื่อประธานกรรมการได้รับเรื่องคาสั่ง
แต่งตั้งกรรมการสอบสวนแล้ว ให้ประธานฯ
ดาเนินการประชุมคณะกรรมการสอบสวน
เพื่อวางแนวทางการสอบสวน
48
ข้อ 17
การประชุมคณะกรรมการสอบสวน
1. องค์ประชุม ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
เว้นแต่กรณีประชุมตามข้อ 24 เพื่อแจ้ง สว.3 และข้อ 38 ประชุม
มีมติพิจารณาโทษ ต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า 3 คน
และไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง
2. ประธานกรรมการฯ ต้องร่วมประชุมด้วย
3. การนัดประชุม ต้องแจ้งกรรมการทุกคนล่วงหน้าไม่น้อยกว่า
3 วัน
4. ต้องมีรายงานการประชุมเป็นหนังสือ
49
ข้อ 18
หน้าที่กรรมการสอบสวนมีหน้าที่ต้องแจ้งสิทธิผู้ถูกกล่าวหา
1. แจ้งสิทธิผู้ถูกกล่าวหาก่อนสอบปากคา ดังนี้
ข้อ 8 การคัดค้านกรรมการสอบสวน
ข้อ 9 การคัดค้านผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
ข้อ 10 มีสิทธิในโอกาสทราบข้อเท็จจริง และโอกาสได้โต้แย้ง
ข้อ 11 นาทนายความหรือที่ปรึกษาเข้าร่วมฟังการสอบสวนได้
2. แนะนาผู้ถูกกล่าวหาหรือพยานที่ยื่นคาขอหรือคาชี้แจง
บกพร่องหรือผิดหลง เนื่องจากความไม่รู้หรือเลินเล่อ
50
ข้อ 19
กรณีกรรมการเห็นว่าตนมีเหตุอาจถูกคัดค้าน
กรณีที่ผู้ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ
สอบสวนเห็นว่า ตนมีเหตุอันอาจถูกคัดค้าน
ให้ผู้นั้นรายงานผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนเพื่อพิจารณา
51
ข้อ 20 ระยะเวลาการสอบสวน
ลาดับที่ การดาเนินการ ภายในระยะเวลา (วัน)
1
2
3
4
5
6
7
ดาเนินการประชุมตามข้อ 16 แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา
รวบรวมพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กล่าวหา
แจ้งข้อกล่าวหาและสรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา
รวบรวมพยานหลักฐานที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้าง
ประชุมพิจารณาลงมติ และทารายงานการสอบสวน
ดาเนินการไม่แล้วเสร็จภายใน 180 วัน ประธานฯ รายงานผู้สั่งแต่งตั้ง
ขอขยายระยะเวลา
ดาเนินการไม่แล้วเสร็จภายใน 240 วัน ประธานฯ รายงาน อ.ก.ค.ศ.
เขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง หรือ ก.ค.ศ. เพื่อมีมติเร่งรัด
15
60
15
60
30
ขอขยายได้ไม่เกิน 60 วัน
ดาเนินการตามระยะเวลา
เร่งรัดที่องค์คณะกาหนด
หมวด 4 วิธีการสอบสวน (ข้อ 20-ข้อ 37)
วินัยอย่างร้ายแรง
52
ข้อ 21
วิธีการและระยะเวลาสอบสวนวินัยไม่ร้ายแรง
1. นาขั้นตอนการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรงมาใช้
โดยอนุโลม
2. ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 90 วัน
3. ดาเนินการไม่แล้วเสร็จในเวลาที่กาหนด ประธานฯ
รายงานผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนขอขยายระยะเวลา
ตามความจาเป็น แต่ไม่เกิน 30 วัน
53
ข้อ 22
การรวบรวมพยานหลักฐานของกรรมการสอบสวน
1. เอกสาร/วัตถุที่ใช้อ้างเป็นพยานต้องบันทึกไว้ในสานวนว่า ได้มาอย่างไร
จากผู้ใด และเมื่อใด
2. พยานเอกสารให้ใช้ต้นฉบับ ถ้าไม่มีให้ใช้สาเนาที่เจ้าหน้าที่รับรอง
3. ต้นฉบับสูญหาย ถูกทาลายหรือหาไม่ได้ ใช้สาเนาหรือพยานบุคคลมาสืบก็ได้
4. ในการอ้างพยานหลักฐาน ให้กรรมการอ่านหรือส่งต้นฉบับ หรือ
ส่งพยานหลักฐานให้ผู้ถูกกล่าวหาตรวจดู
5. ถ้าผู้ถูกกล่าวหาต้องการสาเนา ให้คณะกรรมการฯ ส่งสาเนาให้ผู้ถูกกล่าวหา
ตามที่เห็นสมควร
6. ขอให้พยานผู้เชี่ยวชาญ ให้ความเห็นด้วยวาจาหรือทาเป็นหนังสือได้
54
ข้อ 23
วิธีการสอบสวน
1. เมื่อดาเนินการตามข้อ 16 แล้ว ให้เรียกผู้ถูกกล่าวหามาแจ้งและอธิบายข้อกล่าวหา
(แบบ สว.2)
2. แจ้งสิทธิและหน้าที่ของผู้ถูกกล่าวหา ตามข้อ 18 วรรคหนึ่ง และข้อ 24
3. การแจ้ง สว.2 ทาเป็นสองฉบับ ฉบับที่มอบผู้ถูกกล่าวหาให้ผู้ถูกกล่าวหาลงลายมือชื่อ
วัน เดือน ปีไว้ อีกฉบับเก็บไว้ในสานวน
4. ถามผู้ถูกกล่าวหาว่า กระทาการตามที่ถูกกล่าวหาหรือไม่ อย่างไร
5. กรณีผู้ถูกกล่าวหารับสารภาพ ให้แจ้งว่าผิดวินัยกรณีใดและให้บันทึกคาสารภาพ
พร้อมทั้งเหตุผลและสาเหตุแห่งการกระทาไว้
6. กรณีรับสารภาพ กรรมการสอบสวนไม่สอบสวนต่อก็ได้ แต่ถ้าเห็นสมควรก็สอบสวนต่อได้
7. กรณีผู้ถูกกล่าวหาไม่รับสารภาพ หรือรับสารภาพบางส่วน ให้สอบสวนต่อตามข้อ 24
8. กรณีผู้ถูกกล่าวหาไม่มาหรือมาแต่ไม่ยอมลงลายมือชื่อ ให้ส่ง สว.2 ทางไปรษณีย์
55
ข้อ 24
วิธีการสอบสวน (ต่อ)
9. ให้คณะกรรมการสอบสวนประชุมพิจารณาพยานหลักฐาน และถ้าเห็นว่า
ยังฟังไม่ได้ว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิด ก็ให้ยุติเรื่อง
10. กรณีเห็นว่าผู้ถูกกล่าวหากระทาผิดกรณีใด มาตราใด ให้เรียกผู้ถูกกล่าวหา
มาแจ้งข้อกล่าวหาและพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา (แบบ สว.3)
11. การแจ้ง สว.3 ให้ทาเป็น 2 ฉบับ มอบให้ผู้ถูกกล่าวหา 1 ฉบับ โดยให้ลงลายมือชื่อ
รับทราบไว้ และเก็บไว้ในสานวน 1 ฉบับ
12. ถามผู้ถูกกล่าวหาว่า จะยื่นคาชี้แจงแก้ข้อกล่าวหาเป็นหนังสือหรือไม่ หากต้องการ
ให้ยื่นภายใน 15 วัน
13. กรณีผู้ถูกกล่าวหาไม่มา หรือมาแต่ไม่ยอมลงลายมือชื่อรับทราบข้อกล่าวหา
ให้ส่ง สว.3 ทางไปรษณีย์
14. กรณีผู้ถูกกล่าวหาไม่ประสงค์ยื่นคาชี้แจงเป็นหนังสือ ให้เรียกผู้ถูกกล่าวหา
มาให้ถ้อยคาและนาสืบแก้ข้อกล่าวหาโดยเร็ว
56
ข้อ 25
การสอบสวนเพิ่มเติม
1. ก่อนเสนอสานวนการสอบสวน ถ้าคณะกรรมการ
สอบสวนเห็นว่าจาเป็นต้องรวบรวมพยานหลักฐานเพิ่มเติม
ก็ให้ดาเนินการได้
2. ต้องสรุปพยานหลักฐานที่ได้เพิ่มเติมมาให้ผู้ถูกกล่าวหา
ทราบและต้องให้โอกาสให้ผู้ถูกกล่าวหาให้ถ้อยคาหรือนาสืบ
แก้ข้อกล่าวหาเฉพาะพยานหลักฐานที่เพิ่มเติมนั้น
57
ข้อ 26
สิทธิของผู้ถูกกล่าวหาในการให้ถ้อยคาหรือนาสืบเพิ่มเติม
1. ผู้ถูกกล่าวหายื่นคาชี้แจง/ให้ถ้อยคาไว้แล้ว มีสิทธิ
ยื่นคาชี้แจงเพิ่มเติม/ให้ถ้อยคา/นาสืบแก้ข้อกล่าวหาเพิ่มเติมได้
2. กรณีอยู่ระหว่างการพิจารณาของผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการ
สอบสวน หรือผู้บังคับบัญชาคนใหม่ ผู้ถูกกล่าวหามีสิทธิ
ยื่นคาชี้แจงต่อบุคคลดังกล่าวได้
58
ข้อ 27
การสอบปากคา
การสอบปากคาผู้ถูกกล่าวหา/พยาน
ต้องมีกรรมการสอบสวนไม่น้อยกว่า
กึ่งหนึ่งของกรรมการสอบสวนทั้งหมด
59
ข้อ 28
การดาเนินการก่อนเริ่มสอบปากคาพยาน/ผู้เสียหาย
1. ก่อนเริ่มสอบปากคาพยาน คณะกรรมการสอบสวนต้องแจ้งพยานว่า
ตนมีฐานะเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา การให้ถ้อยคาเป็นเท็จ
อาจเป็นความผิดตามกฎหมาย
2. การสอบปากคาผู้เสียหาย/พยานซึ่งเป็นเด็ก ต้องสอบในสถานที่เหมาะสม
มีข้าราชการครูที่เป็นกลางและเชื่อถือได้ และมีบุคคลที่เด็กร้องขอหรือไว้วางใจ
เข้าร่วมสอบด้วย หากผู้เสียหาย/พยาน ตั้งข้อรังเกียจต้องเปลี่ยนตัว
3. กรณีผู้เสียหาย/พยาน เป็นคนหูหนวก เป็นใบ้ หรือพิการทางกาย
หรือไม่เข้าใจภาษาไทย ต้องจัดล่ามที่เป็นกลางและเชื่อถือได้ให้
60
ข้อ 29
ข้อห้ามในการสอบปากคา ผู้ถูกกล่าวหา/พยาน
ในการสอบปากคาผู้ถูกกล่าวหา/พยาน ห้ามกรรมการ
สอบสวนกระทาการ หรือจัดให้กระทาการใด ๆ ดังต่อไปนี้
1. ให้คามั่นสัญญา ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือกระทา
โดยมิชอบเพื่อจูงใจให้บุคคลนั้นให้ถ้อยคาอย่างใด ๆ หรือ
2. กระทาให้ท้อใจ หรือใช้กลอุบายอื่น ๆ เพื่อป้องกันมิให้
บุคคลใดให้ถ้อยคาหรือไม่ให้ถ้อยคา ซึ่งอยากจะให้ด้วยความเต็มใจ
ในเรื่องที่กล่าวหา
61
ข้อ 30
การสอบปากคา ผู้ถูกกล่าวหา/พยาน
ในการสอบปากคาผู้ถูกกล่าวหาและพยานให้กรรมการสอบสวน
1. เรียกผู้ซึ่งจะถูกสอบปากคาเข้ามาคราวละ 1 คน
2. ห้ามบุคคลอื่นอยู่ในที่สอบสวน เว้นแต่ทนายความ/ที่ปรึกษา/บุคคลตามข้อ 28/
/บุคคลที่คณะกรรมการฯ อนุญาต
3. บันทึกถ้อยคาไว้ตามแบบ สว.4 (แบบบันทึกถ้อยคาผู้ถูกกล่าวหา)หรือ สว.5
(แบบบันทึกถ้อยคาพยาน)
4. ถ้าจะต้องแก้ไขให้ใช้วิธีขีดฆ่า และกรรมการลงลายมือชื่อกากับ
5. กรณีผู้ให้ถ้อยคา/ผู้ร่วมฟัง ไม่ยอมลงลายมือชื่อ ให้บันทึกเหตุนั้นไว้และ
ให้กรรมการทุกคนลงลายมือชื่อรับรอง
6. กรณีพยานมา/มาแต่ไม่ให้ถ้อยคา/เรียกพยานไม่ได้ในเวลาอันสมควร
จะไม่สอบพยานนั้นก็ได้ แต่ต้องบันทึกเหตุนั้นไว้ในบันทึกประจาวัน (การตัดพยาน)
62
ข้อ 31
เหตุงดการสอบปากคาพยานบุคคลหรือพยานหลักฐานอื่น
การสอบสวนพยานหลักฐานใด จะทาให้การสอบสวนล่าช้า
โดยไม่จาเป็น/มิใช่พยานหลักฐานสาคัญ จะงดสอบสวน
พยานหลักฐานนั้นก็ได้ แต่ต้องบันทึกเหตุนั้นไว้ในบันทึก
ประจาวัน
63
ข้อ 32
การขอให้สอบสวนหรือรวบรวมพยานหลักฐานต่างท้องที่
ในการสอบสวน/รวบรวมพยานหลักฐานซึ่งอยู่ต่างท้องที่
1. ประธานรายงานผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
2. ผู้สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวนมอบหมายหัวหน้าส่วนราชการ
/ผู้บริหารสถานศึกษา/ผู้บริหารหน่วยงานการศึกษาในท้องที่นั้น
สอบสวน/รวบรวมพยานหลักฐานแทนได้ โดยกาหนดประเด็นหรือ
ข้อสาคัญที่จะต้องสอบสวนไปให้
3. ผู้ได้รับมอบหมายตามข้อ 2 เลือกข้าราชการครูและบุคลากร
ทางการศึกษา หรือข้าราชการฝ่ายพลเรือน อย่างน้อยอีก 2 คน
ร่วมเป็นคณะทาการสอบสวน
64
คณะกรรมการฯเห็นว่า
กรณีมีมูลว่าผู้ถูกกล่าวหา
กระทาผิดวินัยอย่าง
ร้ายแรง/ไม่ร้ายแรง
หย่อนความสามารถ
บกพร่องในหน้าที่ราชการ
ประพฤติตนไม่เหมาะสม
กับตาแหน่งหน้าที่ นอกจากที่
ระบุไว้ในคาสั่งแต่งตั้ง
ประธานฯ
รายงาน
ผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการ
สอบสวน
สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนในมูลกรณีที่พบใหม่
โดยแต่งตั้งคณะเดิม หรือ
แต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนใหม่ก็ได้
ผู้สั่งฯ เห็นว่า
กรณีมีมูล
ตามที่รายงาน
(ข้อ 33)
กรณีคณะกรรมการสอบสวนพบว่าเป็นการกระทาผิดในเรื่องอื่น
65
คณะกรรมการสอบสวน
เห็นว่า การสอบสวน
พาดพิงถึงผู้อื่น และเห็นว่า
ผู้นั้นมีส่วนร่วม กระทาการ
ในเรื่องที่สอบสวน
ประธานฯ
รายงาน
ผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการ
สอบสวน
ผู้สั่งฯ เห็นว่า
เป็นกรณีมีมูล
ตามที่รายงาน
 สั่งแต่งตั้งจากคณะกรรมการสอบสวน
โดยแต่งตั้งคณะเดิม หรือแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนใหม่ก็ได้
ใช้พยานหลักฐานที่ได้จากการ
สอบสวนมาประกอบการพิจารณาได้
(ข้อ 34)
กรณีพบว่าการสอบสวนพาดพิงไปถึงผู้อื่น
66
ผู้บังคับบัญชาสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน
ตามมาตรา 111 กรณี 
หย่อนความสามารถ 
บกพร่องในหน้าที่ราชการ
ประพฤติตนไม่
เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่
นาสานวนของ
คณะกรรมการ
สอบสวน
ตามมาตรา 111
มาใช้ได้
ผู้สั่งฯ เห็นว่า
กรณีมีมูลว่า
เป็นการกระทา
ผิดวินัยอย่าง
ร้ายแรง
ผู้สั่งฯ สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการ
สอบสวนวินัย
อย่างร้ายแรง
ตามมาตรา 98
(ข้อ 35)
กรณีตั้งกรรมการสอบสวนตามมาตรา 111
แล้วพบว่ามีมูลความผิดวินัยร้ายแรง
67
การสอบสวนกรณีมีคาพิพากษาถึงที่สุดเกี่ยวกับเรื่องที่กล่าวหา (ข้อ 36)
มีคาพิพากษาถึงที่สุดว่าผู้ถูกกล่าวหากระผิด/ต้องรับผิด
ข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามคาพิพากษาได้ความประจักษ์ชัด
ให้ถือเอาคาพิพากษาเป็นพยานฯ สนับสนุนข้อกล่าวหา
โดยไม่ต้องสอบสวนพยานหลักฐานอื่น
แจ้งให้ผู้ถูกกล่าวหาทราบ / แจ้งข้อกล่าวหาพร้อมสรุป
พยานหลักฐานตามคาพิพากษา
นาข้อ 24 มาใช้โดยอนุโลม
68
กรณีผู้ถูกกล่าวหา โอน / ย้าย ระหว่างถูกสอบสวน (ข้อ 37)
ผู้ถูกกล่าวหาไปอยู่นอกบังคับบัญชาของผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวนสอบสวนต่อจนเสร็จ
ทารายงานการสอบสวนแล้วเสนอสานวนการสอบสวน
ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
ผู้สั่งฯ ตรวจสอบความถูกต้อง
ส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาคนใหม่
ผู้บังคับบัญชาใหม่ตรวจสอบความถูกต้อง
69
หมวด 5
การทารายงานการสอบสวน
(ข้อ 38-ข้อ 39)
70
กรรมการเห็นว่า
ผู้ถูกกล่าวหามิได้กระทาผิด
การกระทาของผู้ถูกกล่าวหา
ไม่เป็นความผิด
กรรมการฯ เห็นว่า ผิดวินัย
ร้ายแรงแต่ไม่ได้ความแน่ชัด
พอจะฟังลงโทษ เห็นว่า เป็น
กรณีมีมลทินมัวหมองตาม
มาตรา 112
กรรมการฯเห็นว่า
ผู้ถูกกล่าวหา
กระทาผิดวินัย
กรรมการฯ เห็นว่า
หย่อนความสามารถ
บกพร่องต่อหน้าที่
ประพฤติตน
ไม่เหมาะสม
การประชุมพิจารณาลงมติ
องค์ประชุม
มติ
การดาเนินการ
สาระการลงมติ
ไม่น้อยกว่า 3 คน และไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการสอบสวนทั้งหมด
ให้ถือเสียงข้างมาก
ชั่งน้าหนักพยานหลักฐาน ทั้งข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย ข้อพิจารณา ข้อเสนอในการใช้ดุลพินิจในการลงมติ
ประธานกรรมการถามกรรมการสอบสวน
ให้มีความเห็นยุติเรื่อง
ให้ระบุด้วยว่าผิดวินัย
กรณีใด มาตราใด ควร
ได้รับโทษสถานใด
ให้มีความเห็นไปตามนั้น
(ข้อ 38)
71
การทารายงานการสอบสวน (ข้อ 39 วรรคหนึ่ง)
จัดทารายงานการสอบสวน (แบบ สว.6) เสนอผู้สั่งแต่งตั้งฯ
แนบความเห็นแย้งด้วย (ถ้ามี)
สาระสาคัญของรายงานการสอบสวน (ข้อ 39 วรรคสอง)
- สรุปข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสาคัญ และพยานหลักฐานมีอย่างใดบ้าง
- วินิจฉัยเปรียบเทียบพยานหลักฐานสนับสนุน/พยานหลักฐานหักล้างข้อกล่าวหา
- ความเห็นของคณะกรรมการ
ไม่ผิด ยุติเรื่อง
ผิด กรณีใด, มาตราใด, โทษสถานใด
หย่อนความสามารถ ฯลฯ
- รวบรวมประวัติ/ความประพฤติของผู้กล่าวหา
- จัดทาสารบัญเอกสาร
72
หมวด 6
การพิจารณาสั่งสานวนการสอบสวน
(ข้อ 40-ข้อ 42)
73
การพิจารณาสั่งการของผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน (ข้อ 40)
สานวน ผู้สั่งแต่งตั้ง
ตรวจสอบความถูกต้อง
ตามข้อ 43 - ข้อ 46
พิจารณา
-ไม่ได้กระทาผิด หรือ
- ไม่มีเหตุออกจากราชการ ตามมาตรา 112
ยุติเรื่อง
ผิดวินัยไม่ร้ายแรง
สั่งลงโทษ
เป็นกรณีตามมาตรา 111
ผิดวินัยร้ายแรงหรือ
มีมลทินมัวหมอง
ส่งเรื่องเข้า
ก.ค.ศ./
อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่ฯ
ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง
สั่งตั้งกรรมการสอบสวนตามมาตรา 111
74
การสอบสวนเพิ่มเติม (ข้อ 41)
•ผู้สั่งแต่งตั้งฯ
•ผู้มีอานาจ ตาม ม.98,
•104 (1) อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่
•ก.ค.ศ.
เห็นควรสอบสวน
เพิ่มเติม
กาหนดประเด็นและ
ส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ส่งพยานหลักฐานและ
จัดทาความเห็นเฉพาะ
ที่ได้จากการสอบสวน
คณะกรรมการ
สอบสวน
ดาเนินการ
สอบสวนเพิ่มเติม
ตามประเด็ฯ
75
หลักการพิจารณาพยานหลักฐาน (ข้อ 42)
1. ต้องพิจารณาจากพยานหลักฐานในสานวนการสอบสวน
2. ต้องเป็นพยานหลักฐานที่ได้สรุปให้ผู้ถูกกล่าวหา
ทราบแล้วเท่านั้น
3. จะรับฟังพยานหลักฐานนอกสานวนไม่ได้
76
หมวด 7
การสอบสวนที่มิชอบและบกพร่อง
(ข้อ 43-ข้อ 46)
77
การสอบสวนที่มิชอบและบกพร่อง
กรณีกระทาการใดเกี่ยวกับ
การสอบสวนโดย
 ไม่มีอานาจ
นอกเหนืออานาจ
 ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย
ไม่ถูกต้องตามรูปแบบ
ขั้นตอนในสาระสาคัญ
การสอบสวน
ทั้งหมด
เสียไป
 ผู้มีอานาจสั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน
 ผู้มีอานาจตามมาตรา 98
 ผู้มีอานาจตามมาตรา 104 (1) มี
คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวนใหม่
กรณีที่การสอบสวนเสียไปทั้งหมด
กรณีแต่งตั้ง
คณะกรรมการ
สอบสวนไม่ถูกต้อง
ตามข้อ 3
(ข้อ 43)
78
1. คณะกรรมการสอบสวนมาประชุม
ไม่ครบตามที่กฎหมายกาหนด (ในข้อ 17)
2. การสอบปากคาบุคคลดาเนินการไม่ถูกต้อง
ตามที่กาหนด (ในข้อ 11, 27, 28 วรรคสอง, 29
วรรคสอง, 30 วรรคหนึ่ง, 32)
3. คณะกรรมการสอบสวนไม่เรียก
ผู้ถูกกล่าวหามารับทราบข้อกล่าวหาและ
สรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา
4. ไม่ส่งบันทึกแจ้งข้อกล่าวหาและ
สรุปพยานหลักฐานที่สนับสนุนข้อกล่าวหา
ทางไปรษณีย์ลงทะเบียนตอบรับไปให้
ผู้ถูกกล่าวหา
5. ไม่มีหนังสือขอให้ผู้ถูกกล่าวหาชี้แจงหรือ
นัดมาให้ถ้อยคาหรือนาสืบแก้ข้อกล่าวหา
(ตามข้อ 24)
6. กรณีที่ปรากฏว่าการสอบสวนตอนใด
นอกจากที่ปรากฏในกฎ ก.ค.ศ.และ
เป็นสาระสาคัญอันอาจทาให้เสียความ
เป็นธรรม
ผู้มีอานาจ
ตามมาตรา 98
ผู้มีอานาจตาม
มาตรา 104(1)
ก.ค.ศ.
อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่
การศึกษา อ.ก.ค.ศ .
ที่ ก.ค.ศ.ตั้ง
ตามแต่กรณี
มีคาสั่งให้
คณะกรรมการ
สอบสวน
ดาเนินการ
ตามกรณีดังกล่าวให้
ถูกต้องโดยเร็ว
เงื่อนไข
1. ต้องให้โอกาสผู้ถูกกล่าวหาชี้แจง
ให้ถ้อยคา นาสืบแก้ข้อกล่าวหาตามข้อ 24
2. กรณีผู้มีอานาจได้สั่งลงโทษผู้ถูก
กล่าวหา ไปตามบทมาตรา/กรณีความผิด
แตกต่างไปจากที่คณะกรรมการสอบสวน
แจ้งให้ ผู้ถูกกล่าวหาทราบ และคณะ
กรรมการฯ/ ผู้ถูกกล่าวหาไม่ได้หลงต่อสู้
โดยมิได้ทาให้เสียความเป็นธรรม ให้ถือว่า
การสอบสวนนั้นใช้ได้
3. ถ้าการสอบสวนขั้นตอนนั้นมิใช่
สาระสาคัญอันจะทาให้เสียความเป็น
ธรรม ผู้มีอานาจฯ จะสั่งแก้ไข/ดาเนินการ
ให้ถูกต้องหรือไม่ก็ได้
กรณีที่การสอบสวนเสียไปเฉพาะกรณี (ข้อ 44)
79
กรณีกรรมการสอบสวนไม่แจ้ง สว.2 สว.3 (ข้อ 45)
1. หากคณะกรรมการสอบสวนไม่แจ้ง สว.2 สว.3 หรือ
มีหนังสือนัดหมายผู้ถูกกล่าวหา ให้ผู้มีอานาจตาม ม.98 ม.104 (1)
อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา หรือ อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ. ตั้ง หรือ ก.ค.ศ.
แล้วแต่กรณี สั่งให้คณะกรรมการสอบสวนแก้ไขดาเนินการให้ถูกต้อง
โดยเร็ว
2. กรณีที่การสอบสวนแตกต่างจากข้อกล่าวหา แต่ผู้ถูกกล่าวหา
ไม่หลงต่อสู้ ให้ถือว่าใช้ได้
80
กรณีการสอบสวนตอนใดไม่ถูกต้อง (ข้อ 46)
1. กรณีที่การสอบสวนตอนใดไม่ถูกต้องตามกฎ ก.ค.ศ. นี้
ให้ผู้มีอานาจฯ สั่งให้คณะกรรมการสอบสวนแก้ไขหรือดาเนินการ
ให้ถูกต้องโดยเร็ว
2. กรณีการสอบสวนนั้นไม่ใช่สาระสาคัญ และไม่ทาให้
เสียความเที่ยงธรรม จะสั่งให้แก้ไขหรือไม่ก็ได้
81
การนับระยะเวลา (ข้อ 47)
1. เวลาเริ่มต้นให้นับวันถัดจากวันแรกแห่งเวลานั้น
เป็นวันเริ่มนับระยะเวลา
2. กรณีขยายเวลาให้นับต่อจากวันสุดท้ายแห่งระยะเวลาเดิม
เป็นวันเริ่มระยะเวลาที่ขยายออกไป
3. กรณีระยะเวลาสิ้นสุดวันสุดท้ายตรงกับวันหยุดราชการ
ให้นับวันเปิดทาการใหม่เป็นวันสุดท้ายแห่งระยะเวลา
หมวด 8 การนับระยะเวลา
(ข้อ 47)
82
บทเฉพาะกาล (ข้อ 48)
1. การดาเนินการก่อนกฎ ก.ค.ศ. นี้ใช้บังคับ
ให้ดาเนินการตามหลักเกณฑ์เดิมต่อไปจนแล้วเสร็จ
2. การพิจารณาสั่งการให้ดาเนินการ
ตามกฎ ก.ค.ศ. นี้
83
การขอขยายเวลา
กรณีคณะกรรมการสอบสวนไม่สามารถดาเนินการแล้วเสร็จภายในกาหนดในแต่ละขั้นตอน และไม่อาจ
ดาเนินการแล้วเสร็จภายในกาหนด
การสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง ภายใน 180 วัน
การสอบสวนวินัยไม่ร้ายแรง
กรณีการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง
ภายใน 90 วัน
ภายใน 180 วัน
คณะกรรมการสอบสวน
รายงานผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน
สั่งขยายระยะเวลา ตาม
ความจาเป็นครั้งละไม่เกิน 60
วัน
กรณีการสอบสวนวินัยอย่างร้ายแรง
ประธานกรรมการฯ
รายงานเหตุผู้สั่งแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบสวน
ไม่แล้วเสร็จภายใน 240 วัน
รายงาน อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่
การศึกษา อ.ก.ค.ศ.ที่ ก.ค.ศ.ตั้ง
ก.ค.ศ. แล้วแต่กรณี
อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา อ.ก.ค.ศ. ที่ ก.ค.ศ.ตั้ง
ก.ค.ศ. มีมติเร่งรัดภายในระยะเวลาที่องค์คณะ
กาหนดตามเหตุผลและความจาเป็น
84
การนับเวลา (ข้อ 47)
เวลาเริ่มต้น
วันถัดจากวันแรก
วันสุดท้าย
ขยายเวลานับต่อจากวันสุดท้าย
เวลาสุดท้าย
85
กระบวนการสอบสวนพิจารณา
ผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวน
แจ้งคณะกรรมการสอบสวน
ประธานดาเนินการประชุมวางแนว
ทางการสอบสวน
แจ้งผู้ถูกกล่าวหา
คัดค้านคณะกรรมการสอบสวน
ผู้ถูกกล่าวหา แจ้งและอธิบายข้อกล่าวหาว่ากระทาการ
ใด เมื่อใด อย่างไร
รับสารภาพ ไม่รับสารภาพ รวมรวมพยานหลักฐาน ที่เกี่ยวกับข้อ
กล่าวหา
ประชุมพิจารณาหลักฐานว่า ผู้ถูก
กล่าวหาได้กระทาการใดและเป็น
ความผิดกรณีใด ตามมาตราใด หรือ
หย่อนความสามารถ มาตรา........
แจ้งข้อกล่าวหาว่ากระทาตามที่ถูก
กล่าวหาเป็นความผิดกรณีใด ตามมาตรา
ใด/หรือหย่อนความสามารถ มาตรา
111
ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปหนึ่งชั้นของผู้
สั่งแต่งตั้งกรรมการสอบสวน
คัดค้านผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบสวน
ข้อ 9 ว.4
ข้อ 8 ข้อ 9
ข้อ 23 ว.3
ข้อ 23
ข้อ 16
ข้อ 5 (2)ข้อ 5 (1)
ข้อ 23 ว.6
ข้อ 23 ว.5
ข้อ 23 ว.4
ข้อ 23 ว.4
24
ข้อ 24 ว.1
86
บันทึกคารับสารภาพ
แจ้ง สว.3 โดยระบุข้อกล่าวหาว่าเป็นความผิดวินัย
กรณีใด ตามมาตราใด/หรือ หย่อน
ความสามารถ ตามมาตรา... และ
พยานหลักฐานเท่าที่มี และ การกระทาที่
สนับสนุนข้อกล่าวหา
คณะกรรมการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐาน
ของผู้ถูกกล่าวหา
คณะกรรมการสอบสวนประชุมพิจารณาว่ากระทา
ผิดวินัยหรือไม่/หย่อนความสามารถหรือไม่/มีมลทิน
มัวหมองหรือไม่
ข้อ 23 ว.4 ข้อ 23 ว.3
ข้อ 23 ว.4
ข้อ 20 (4)
ข้อ 38
87
กระบวนการสอบสวนพิจารณา (ต่อ)
คณะกรรมการสอบสวนประชุมพิจารณาว่ากระทาผิดวินัยหรือไม่/
หย่อนความสามารถหรือไม่/มลทินหรือมัวหมองหรือไม่
ทารายงานการสอบสวน
- กระทาผิดวินัยหรือไม่ อย่างไร ถ้าผิด เป็นความผิดวินัยกรณีใด
ตามมาตราใด ควรได้รับโทษสถานใด หรือ
- หย่อนความสามารถในอันที่จะปฏิบัติหน้าที่ราชการฯ
ตามมาตรา 11 หรือ
- มีมลทินหรือมัวหมองฯ มาตรา 1, 2
ข้อ 39
ผู้สั่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนตรวจสอบความถูกต้องของสานวน ข้อ 43
ข้อ 44
ข้อ 45
ข้อ 46
สั่งยุติเรื่อง
กระทาผิดไม่ร้ายแรงสั่งการตามที่เห็นสมควร
กระทาผิดวินัยอย่างร้ายแรง/หย่อนความสามารถฯ
มาตรา 111/มลทินหรือมัวหมองฯ มาตรา 112
ส่งเรื่องให้ อ.ก.พ. เขตพื้นที่การศึกษา
สอบสวนเพิ่มเติมโดยกาหนดประเด็นพร้อมทั้งส่งเอกสารที่เกี่ยวข้องตามความจาเป็น
ข้อ 40 (1)
ข้อ 40 (1)
ข้อ 40 (2) (3)
ข้อ 41
88
คุณสมบัติของผู้ดาเนินการทางวินัย
1. รอบรู้
2. มีคุณธรรม
3. มีความกล้าหาญ
การดาเนินการทางวินัย
ดาเนินการอย่างมีอุเบกขา
เคร่งครัด เสมอหน้าและยุติธรรม
มุ่งแก้ไข ใช้แก้แค้นแบบกรรมสนองกรรม
และไม่กระทา ด้วยโทสะหรืออคติ

More Related Content

What's hot

กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้montira
 
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติมwasanyen
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อแนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...ประพันธ์ เวารัมย์
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคมnang_phy29
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อแนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 เตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปพระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 เตรียมสอบปลัดอำเภอ สรุปพระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 เตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปพระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 เตรียมสอบปลัดอำเภอ ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (20)

กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้กฎหมายที่ควรรู้
กฎหมายที่ควรรู้
 
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 
แนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับแนวข้อสอบความลับ
แนวข้อสอบความลับ
 
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อแนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป  154 ข้อ
แนวข้อสอบเตรียมสอบเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป 154 ข้อ
 
ตารางค่าขนย้าย
ตารางค่าขนย้ายตารางค่าขนย้าย
ตารางค่าขนย้าย
 
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ นักวิชาการคอมพิวเตอร์และตำแหน่งอื่นๆที่ต้องมีความร...
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ ตำแหน่งนิติกร
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ ตำแหน่งนิติกรแนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ ตำแหน่งนิติกร
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ ตำแหน่งนิติกร
 
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
แนวข้อสอบ เรื่อง พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
 
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อแนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
แนวข้อสอบ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526ฯ ชุดพิเศษ 150 ข้อ
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
 
สรุปพระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 เตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปพระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 เตรียมสอบปลัดอำเภอ สรุปพระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 เตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปพระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ.2534 เตรียมสอบปลัดอำเภอ
 
แนวข้อสอบบุคคลกร
แนวข้อสอบบุคคลกรแนวข้อสอบบุคคลกร
แนวข้อสอบบุคคลกร
 
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
สรุป พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้อ...
 
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยข้อบังคับการประชุมสภาท้องถิ่น พ.ศ. 2547
 

Similar to กฎสอบสวนฯ พ.ศ.2550 update 20 06 - 54 ท่านธีรนันท์

Similar to กฎสอบสวนฯ พ.ศ.2550 update 20 06 - 54 ท่านธีรนันท์ (7)

เทคนิคการสืบสวนสอบสวน (ท่านคงพิสิฎฐ์)
เทคนิคการสืบสวนสอบสวน (ท่านคงพิสิฎฐ์)เทคนิคการสืบสวนสอบสวน (ท่านคงพิสิฎฐ์)
เทคนิคการสืบสวนสอบสวน (ท่านคงพิสิฎฐ์)
 
วินัยครู
วินัยครูวินัยครู
วินัยครู
 
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
แนวข้อสอบตั๋วปี ครั้งที่ 1 ปี 54
 
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง  ฉบับเผยแพร่
แผนการสอน วิชา 678376 การว่าความและศาลจำลอง ฉบับเผยแพร่
 
เนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไรเนติบัณฑิตคืออะไร
เนติบัณฑิตคืออะไร
 
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 

More from นายจักราวุธ คำทวี

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)นายจักราวุธ คำทวี
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙นายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.นายจักราวุธ คำทวี
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบนายจักราวุธ คำทวี
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕นายจักราวุธ คำทวี
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายนายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีนายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษานายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑นายจักราวุธ คำทวี
 

More from นายจักราวุธ คำทวี (20)

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 

กฎสอบสวนฯ พ.ศ.2550 update 20 06 - 54 ท่านธีรนันท์