SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
รศ.สมพร อิศวิลานนท์
นักวิชาการอาวุโส สถาบันคลังสมองของชาติ
เวทีสัมมนาทางวิชาการ”เทคโนโลยีการผลิตข ้าวแห่งอนาคต” จัดโดย
สมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ร่วมกับ อิมแพค เมืองทองธานี
ณ Hall 1-2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ
วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน 2558 เวลา 9.00-12.00 น
สถาบันคลังสมองของชาติ
สถานการณ์ข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
จุดอ่อนและความท้าทาย
E-mail:somporn@knit.or.th
หัวข้อการนาเสนอ
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาด
การค้าข้าวโลก
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
3. ข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
เวทีสัมมนาทางวิชาการ”เทคโนโลยีการผลิตข้าวแห่งอนาคต” จัดโดยสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ร่วมกับ
อิมแพค เมืองทองธานี ณ Hall 1-2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยใน
ตลาดการค้าข้าวโลก
สถาบันคลังสมองของชาติ
เวทีสัมมนาทางวิชาการ”เทคโนโลยีการผลิตข้าวแห่งอนาคต” จัดโดยสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ร่วมกับ
อิมแพค เมืองทองธานี ณ Hall 1-2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ
ตลาดการค้าข้าวโลกมีการขยายตัวของอุปทานส่งออก
ที่มา : Grain : World Markets and Trade, USDA, March 2015
 การค ้าข ้าวโลกมีจานวน 43.22 ล ้านตันหรือประมาณ 9.06% ของ
ผลผลิตข ้าวโลก(477 ล ้านตัน) ในขณะที่มีจานวนสต็อกในปี 2557 มี
ประมาณ 106.46 ล ้านตันทาให ้อุปทานข ้าวโลกมีมากกว่าอุปสงค์อยู่มาก
และกดดันราคาในทิศทางขาลง
0
100
200
300
400
500
600
700
0
100
200
300
400
500
600
2003/04 2004/05 2005/06 2006/07 2007/08 2008/09 2009/10 2010/11 2011/12 2012/13 2013/14
ราคาหน่วย:Us$pertons
อุปทานและอุปสงค์(หน่วย:ล้านตัน)
Production TY Exports Domestic Consumption
Ending Stocks US Southern long grain milled Thailand 5% Parboiled
Vietnam 5% Brokens
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ภูมิภาคที่มีส่วนเกินของข้าวมากได้แก่อาเซียนและ
เอเซียใต้
ที่มา : 1/ World Food Statistic and Kyushu University, Faculty of Agriculture; 2/ Grain : World Markets and Trade ,
January 2013
ภูมิภาค จานวนประชากร
(ล้านคน)1/
ปริมาณการ
บริโภค
(ล้านตัน)2/
ปริมาณการ
ผลิต
(ล้านตัน)2/
การผลิตเกิน
การบริโภค
(ล้านตัน)
เอเชีย 3,755.87 409.71 428.56 +18.85
ร้อยละ 85.81 89.83
-เอเซียตะวันออก 1550.67 162.66 157.59 -5.07
-เอเซียใต้ 1610.60 144.01 154.29 +10.28
-เอเซียตะวันออกเฉียงใต้ 594.60 103.04 116.68 +13.64
ตะวันออกกลาง 276.90 9.16 2.45 -6.70
อเมริกา 891.10 22.99 23.67 +0.68
สหภาพยุโรป 520.20 3.25 1.97 -1.28
โซเวียตยูเนี่ยนเดิม 284.80 1.53 1.21 -0.32
แอฟริกา 989.50 30.14 17.95 -12.19
อื่นๆ 84.60 0.68 1.27 +0.59
รวม 6,838.20 477.46 477.08 -0.38
ปริมาณการบริโภค และการผลิตข้าวในรูปข้าวสารของโลก ปี 2556/57
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ที่มา: USDA อ ้างใน “Southeast Asia’s Rice Surplus” by K. Baldwin; N. Childs; J. Dyck and J. Hansen, USDA, December 2012
การเป็ นผู้ส่งออกสุทธิของอาเซียนมีแนวโน้มขยายตัว
กดดันต่อการเพิ่มปริมาณข้าวในตลาดการค้าข้าวโลก
การผลิตข ้าวของอเซียน 116.68 ล ้านตัน ส่วนการบริโภค 103.04 ล ้าน
ตันและมีส่วนเกิน 13.64 ล ้านตัน การเพิ่มขึ้นขอุปทานจากเมียนมาร์ และ
กัมพูชา และนโยบายพึ่งพิงตนเองของ อินโดนิเชีย และฟิลิปปินส์ ทาให ้
เกิดการหดตัวของการนาเข ้าและมีข ้าวส่วนเกินเพิ่มขึ้น
นาเข้าปี 2557 ของ ASEAN รวม
4.42 ล้านตัน ต่ากว่าปี 2554 ซึ่ง
นาเข้า 6.50 ล้านตัน ลดลง 2.08
ล้านตัน
ปี 2557 ส่งออกของASEANรวม
16.10 ล้านตัน ต่ากว่าปี 2554 ซึ่ง
ส่งออก 19.25 ล้านตันลดลง 3.15
ล้านตัน
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
คู่แข่งขันข้าวไทยในทุกระดับตลาดการค้าข้าวโลกมีมาก
ขึ้น
ตลาดข ้าวระดับพรีเมี่ยม
ตลาดข ้าวพรีเมี่ยม ได ้แก่ตลาดข ้าวหอมมีการแข่งขันที่มากกว่าเดิมเพราะ
เวียดนามได ้พัฒนาการผลิตข ้าวคุณภาพพรีเมียมและสามารถส่งอกข ้าวหอมมะลิ
ในระดับราคาที่ต่ากว่าไทยอย่างมาก ในขณะกัมพูชามีการส่งออกข ้าวหอมมากขึ้น
อีกทั้งจีนและสหรัฐฯ ต่างก็ได ้มีการพัฒนาการผลิตข ้าวหอมด ้วยเช่นกัน
ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25% เป็นตลาดข ้าวที่มีการแข่งขันสูง เวียดนาม
อินเดีย และรวมถึงประเทศที่จะเข ้ามาแข่งขันใหม่ในตลาดได ้แก่เขมรและพม่า
รวมถึงข ้าวจากกลุ่มประเทศในละตินอเมริกา ข ้าวในกลุ่มนี้ของไทยกาลังแข่งขัน
ไม่ได ้และถูกแทนที่โดยคู่แข่งขันที่มีต ้นทุนที่ต่ากว่า
ตลาดข ้าวสารเจ ้า 5% และ 25%
ตลาดข ้าวนึ่ง
ตลาดข ้าวนึ่งเป็นตลาดในแอฟริกาและตะวันออกกลางซึ่งเดิมอินเดียเป็นผู้ส่งออก
ข ้าวนึ่งไปในตลาดแอฟริการายใหญ่ แต่จากปี 2551 เป็นต ้นมาที่อินเดียหยุดการ
ส่งออก ทาให ้ข ้าวนึ่งจากไทยเข ้าไปแทนตลาดข ้าวนึ่งของอินเดีย แม ้ไทยจะ
ส่งออกข ้าวนึ่งได ้มากแต่การที่อินเดียกลับมาส่งออกในปี 2554เป็นต ้นมา ทาให ้
ตลาดข ้าวนึ่งมีการแข่งขันมากขึ้น
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ข้าวหอมมะลิไทยที่ว่าเยื่ยมพบว่าส่วนแบ่งการตลาด
กาลังหดตัว
ที่มา: Saminder Bedi, 2014
หน่วย: พันตัน
เวียดนามและกัมพูชาถือครองตลาดเพิ่มขึ้น
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
0
500000
1000000
1500000
2000000
2500000
3000000
หน่วย:ตัน
ไทย เวียดนาม
ตลาดนอกเอเชีย ปี 2554
ที่มา : จัดทาจากฐานข้อมูลสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และ
Vietnam Grain and Feed Annual 2012 และ 2014
0.00
500,000.00
1,000,000.00
1,500,000.00
2,000,000.00
2,500,000.00
หน่วย:ตัน
ไทย เวียดนาม
ตลาดในเอเชีย ปี 2554
9
0
500000
1000000
1500000
2000000
2500000
3000000
หน่วย:ตัน
ไทย
เวียดนาม
0
500000
1000000
1500000
2000000
หน่วย:ตัน
ไทย
เวียดนาม
ตลาดในเอเชีย ปี 2556ตลาดนอกเอเชีย ปี 2556
ข้าวไทยแข่งขันกับข้าวเวียดนามไม่ได้ในตลาดอาเซียน
เวียดนามเป็นผู้ครองตลาดในอาเซียนมาหลายปีแล ้ว
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ที่มา:คานวณจากฐานข ้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรด ้วยความร่วมมือกับกรมศุลกากร
แอฟริกาเป็ นตลาดที่สาคัญของข้าวไทย
10
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
4,000,000
4,500,000
5,000,000
5,500,000
6,000,000
6,500,000
ปริมาการส่งออกข้าวไทยไปยังภูมิภาคต่างๆ ปี 2552-2557 (ตัน)
2552
2553
2554
2555
2556
2557
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
ปริมาณการส่งออกข้าวไทยปี 2555-2557 แยกตามประเภทข้าว
ที่มา: ปี 2555จากสภาหอการค ้าไทย; ปี 2556-57 จากสมาคมผู้ส่งออกข ้าวไทย
 ตลาดส่งออกข้าวไทยแตกต่างไปตามชนิดของข้าว
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
ข ้าวสารเจ ้า
100%
ข ้าวสารเจ ้า
5%
ข ้าวสารเจ ้า
10%
ข ้าวสารเจ ้า
15%
ข ้าวสารเจ ้า
25%
ข ้าวกล ้อง ข ้าวหอม
มะลิ
ข ้าวหอม
ปทุม
ข ้าวนึ่ง ข ้าวเหนียว ข ้าวอื่น ๆ
2555 636,632 760,197 5,721 249,387 4,775 43,262 1,906,136 74,841 2,176,915 216,060 880,587
2556 577,014 966,138 10,227 6,913 8,203 65,906 1,847,214 50,610 1,691,495 287,392 1,458,965
2557 674,053 2,601,026 96,651 219,549 1,091,275 103,286 1,869,673 161,071 3,262,609 334,084 556,058
หน่วย: ตัน
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
4,000,000
ปริมาณการส่งออกข้าวนึ่ง 2553-57
(ตัน)
2553
2554
2555
2556
2557
ที่มา:คานวณจากฐานข ้อมูลของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรด ้วยความร่วมมือกับกรมศุลกากร
การกระจายข้าวไทยแต่ละประเภทในตลาดส่งออกมี
ความแตกต่างไปตามภูมิภาค
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
ปริมาณการส่งออกข้าวหอมมะลิ
2553-57 (ตัน)
2553
2554
2555
2556
2557
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
-
100,000
200,000
300,000
400,000
500,000
600,000
700,000
800,000
900,000
ปริมาณการส่งออกข้าวขาว 100%
2553-57 (ตัน)
2553
2554
2555
2556
2557
-
500,000
1,000,000
1,500,000
2,000,000
2,500,000
3,000,000
3,500,000
ปริมาณการส่งออกข้าว 5%
2553-57 (ตัน)
2553
2554
2555
2556
2557
-
200,000
400,000
600,000
800,000
1,000,000
1,200,000
1,400,000
1,600,000
ปริมาณการส่งออกข้าว 25% 2553-57
(ตัน)
2553
2554
2555
2556
2557
(ต่อ)
1. สถานการณ์ที่กดดันการค้าข้าวของไทยในตลาดการค้าข้าวโลก
สถาบันคลังสมองของชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ
14
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา
เวทีสัมมนาทางวิชาการ”เทคโนโลยีการผลิตข้าวแห่งอนาคต” จัดโดยสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ร่วมกับ
อิมแพค เมืองทองธานี ณ Hall 1-2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ
15
ภาคการเมืองแทรกแซงอุตสาหกรรมข้าวไทยและทา
ให้ข้าวจากพืชเศรษฐกิจกลายเป็ นพืชการเมือง
การผลิตข ้าวของไทยขายตัวเพิ่มขึ้นมากในช่วง สองทศวรรษที่ผ่าน
มา เกินกว่าความต ้องการใช ้ในประเทศถึงกว่า 60% ซึ่งจะต ้องผลักดัน
ไปสุ่ตลาดส่งออกที่มีการแข่งขันสูง
การใช ้นโยบายยกระดับราคาให ้สูง เป็นการจงใจสร ้างอานาจผูกขาด
โดยภาครัฐทั้งในตลาดข ้าวเปลือกและตลาดข ้าวสารส่งออก สร ้าง
ผลกระทบและนามาซึ่งความสูญเสียทั้งในภาคการผลิตและภาค
การตลาด
ขาดความชัดเจนในการสร ้างความสามารถในการแข่งขันและยกระดับ
คุณภาพของสินค ้าข ้าวในภาคการผลิต แต่กลับผลักดันให ้ต ้นทุนการ
ผลิตขยายตัว ละเลยในการจัดการด ้านคุณภาพ ทาให ้ข ้าวไทยแข่งขันได ้
ยากขึ้นในตลาดส่งออก
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา
การลงทุนวิจัยในเรื่องข้าวของไทยต่าเกินไปทาให้
การพัฒนาต่อยอดนวัตกรรมทาได้จากัด
ประเทศไทยมีงบประมาณวิจัยน้อยเพียง 0.31% ของ GDP ซึ่งต่า
กว่าประเทศ เกาหลี (3.2%) สิงคโปร์(2.5%) และมาเลเชีย(0.7%) อยู่
มากทาให ้ขาดการพัฒนาทั้งกาลังคนและ technology
การลงทุนวิจัยมีผลต่อศักยภาพการผลิตและความสามารถในการ
แข่งขัน โดยผ่านทางต ้นทุนที่ลดลงหรือคุณภาพที่เพิ่มขึ้น
เฉลี่ยช่วง 2550-2553 การลงทุนวิจัยทางการเกษตรของไทยมีจากัด
เฉลี่ยประมาณ 1,318 ล ้านบาทต่อปี เป็นเงินวิจัยในข ้าวประมาณ 200
ล ้านบาท(ที่มา: พงษ์เทพ อัครธนกุล 2554)
ผลิตภัณฑ์ พื้นที่ปลูก1
งบประมาณวิจัย
2550-532 งบวิจัยต่อปี3 (บาทวิจัย/ไร่/ปี)
(ล้านไร่) (ล้านบาท) (ล้านบาท)
ข้าว 69.90 740 185 3
16
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา
Source: USDA, Economic Research Service
ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและการจัดการมีน้อยทา
ให้ข้าวไทยมีความสามารถในการแข่งขันลดลง
ประเทศ ต ้นทุนข ้าวเปลือก
(บาทต่อตัน)
ไทย 1/ 7,452
เวียดนาม 2/ 5,615
พม่า 3/ 4,353
1/ Somporn Isvilanonda and Piyatat Palanuruk,
Agribenchmark(2013); 2/ Nguyen Tri Khiem
(December 2013); 3/ Kyaw Myint, 2013;
ปี ราคาข ้าวเปลือกความชื้น
15%(บาท/ตัน)
2558(10 ก.ค. ) 7,500-7,900
ที่มา: กรมการค ้าภายใน
ต ้นทุนการผลิตข ้าวของประเทศคู่แข่ง
บางประเทศ
ราคาข ้าวเปลือกที่พระนครศรีอยุธยา
ระดับต ้นทุนการผลิตข ้าวเปลือกที่สูงเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อความสามารถ
ในการแข่งขันในตลาดส่งออกข ้าวไทยและสร ้างแรงกดดันในรับไร่นา
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา
ที่มา : คานวณเฉลี่ยจากข้อมูล FAO Rice price report various issue
ยุทธศาสตร์ข้าวไทยขาดความเข้าใจว่าข้าวเป็ นสินค้า
ทดแทนได้ง่ายและไม่สามารถสร้างอานาจเหนือตลาด
ส่งออกได้ เว้นแต่การสร้างความจาเพาะในตัวสินค้า
ข ้าว 5% ข ้าว 25% หอมมะลิ บาสมาติ ข ้าวนึ่ง
ปี ไทย เวียดนาม
ความ
ต่าง อินเดีย ไทย เวียดนาม ไทย ปากีสถาน ไทย
2553 492 416 +76 - 444 387 1,045 881 532
2554 549 505 +44 409 511 467 1,054 1,060 563
2555 573 432 +141 391 560 397 1,091 1,137 594
2556 518 391 +127 402 504 363 1,180 1,372 530
2557 423 410 +13 377 382 377 1,150 1,324 435
2558(ม.ค.-
พ.ค.) 407 361 +46 348 390 341 1,077 943 412
2558(ส.ค.) 373 332 +41 339 362 316 997 888 387
ราคาส่งออก F.O.B. ข ้าวสารของไทยเทียบกับคู่แข่งบางประเทศ
หน่วย:ดอลล่าห์สหรัฐต่อตัน
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา
นโยบายรัฐที่ผ่านมามีส่วนผลักดันให้ราคาข้าวไทยขาด
เสถียรภาพ
ไทยไม่มีอานาจเหนือคู่แข่งในตลาดการค ้าข ้าวโลก สินค ้าข ้าว 5%
และ 25% เป็นสินค ้าที่ทดแทนกันได ้ดี
ที่มา: USDA “Grain: World Markets and Trade”, December 2013
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา
สถาบันคลังสมองของชาติ
สถาบันคลังสมองของชาติ
20
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
เวทีสัมมนาทางวิชาการ”เทคโนโลยีการผลิตข้าวแห่งอนาคต” จัดโดยสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย ร่วมกับ
อิมแพค เมืองทองธานี ณ Hall 1-2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี กรุงเทพฯ
21
ไม่ใช่มองแต่เพียงว่าผลผลิตข ้าวไทยมี 36 ล ้านตันข ้าวเปลือก เป็น
การผลิตข ้าวนาปี 27 ล ้านตัน และข ้าวนาปรังประมาณ 11 ล ้านตัน
ข้าวนาปรัง
การแยกสูตรหมายถึงว่าการบริหารจัดการข้าวแต่ละชนิดมี
ความแตกต่างกันและมีกลไกตลาดที่แตกต่างกัน
ข ้าวหอมมะลิมีผลผลิต 8 ล ้านตันข ้าวเปลือก(4 ล ้านตันข ้าวสาร)
ข ้าวเหนียว 7 ล ้านตันข ้าวเปลือก(3.5 ล ้านตันข ้าวสาร)
ข ้าวพันธุ์ไวแสงอื่นๆ 3 ล ้านตันข ้าวเปลือก(1.5 ล ้านตันข ้าวสาร)
ข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสง 9 ล ้านตันข ้าวเปลือก ปลูกในพื้นที่ชลประทาน
เป็นข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสง ประมาณ 11 ล ้านตันข ้าวเปลือก และมีพื้นที่ชลประทานเป็น
แหล่งผลิตสาคัญ ปลูกแล ้วแข่งขันไม่ได ้
รวมข ้าวพันธุ์ไม่ไวแสง 20 ล ้านตันข ้าวเปลือก (13 ล ้านตันข ้าวสาร) ซึ่งเป็นข ้าวที่มี
ตลาดทดแทนได ้ง่าย แข่งขันสูง จะปรับไปสู่ข ้าวที่มึคุณภาพมีความจาเพาะได ้อย่างไร
การบริหารจัดการเรื่องข้าวควรแยกเป็ นนโยบายหลาย
สูตร
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ข้าวนาปี
เป็นข ้าวที่มี
ตลาดจาเพาะ
เหนือ อีสาณ กลาง ใต้ รวม
ผลผลิตข้าวนาปีเฉลี่ย 54-56(ล้านตันข้าวเปลือก)
ข ้าวเจ ้า 6.63 7.40 5.77 0.44 20.24
ข ้าวเจ ้าอื่นๆ 5.51 0.53 5.38 0.44 11.86
ข ้าวหอมมะลิ 1.12 6.87 0.39 - 8.38
ข ้าวเหนียว 2.09 5.60 0.01 - 7.70
ผลผลิตข้าวนาปรังเฉลี่ย 54-56(ล้านตันข้าวเปลือก)
ข ้าวเจ ้า 4.40 1.34 4.85 0.21 10.80
รวมการผลิตทั้งปี (ล้านตันข้าวเปลือก)
ข้าวเจ้าอื่นๆ 9.91 1.87 10.23 0.65 22.66
ข้าวหอมมะลิ 1.12 6.87 0.39 - 8.38
ข้าวเหนียว 2.09 5.60 0.01 - 7.70
รวมข้าวทุกชนิด 13.12 14.34 10.63 0.65 38.74
(ต่อ)
ที่มา: คานวณจากข ้อมูล สศก.
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ข้าวขาว
20 บาท/กก.
ข้าวมีกลิ่นหอม
35บาท/กก.
ข้าวที่มีองค์ประกอบ
โภชนาการสูง
>70 บาท/กก.
ยุทธศาสตร์ข้าวไทย:ทาอย่างไรจะใช้พื้นที่เท่าเดิมแต่
ได้รายได้เพิ่มจากคุณค่าและมูลค่าของผลผลิต
ที่มา: ดัดแปลงจาก Apichart
Vannvichit
เครื่องสาอางค์/spa
6,500 บาทต่อกก.
เกษตรกรจะต้องมีการรวมตัวกัน(zoning หรือ Networking)โดยใช้หลัก
ของการจัดการเชิงคุณค่า
การให้ความสาคัญกับการลงทุนวิจัยทั้งการสร้างคุณค่าจากต้นน้าสู่ปลาย
น้ามีความจาเป็ น
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
การสร ้างกลุ่มให ้เข ้มแข็ง มีกระบวนการผลิตที่ดี
จากต ้นน้าและเชื่อมต่อกับกระบวนการกลางน้าและ
ปลายน้า เพื่อให ้เกิดกระบวนการทาธุรกิจโดย
คานึงถึงคุณค่า เช่น การใช ้พันธุ์จาเพาะภายในกลุ่ม
การใช ้เทคนิคดจาเพาะ(เช่น ข ้าวหอมมะลิอินทรีย์ )
การสร ้างระบบความปลอดภัยในการผลิตและการ
แปรรูป
การนาเอาทุนทางสังคม
ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล ้อม
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชุมชน
มาขับเคลื่อนเพื่อสร ้างนวัตกรรมในตัว
สินค ้า
สร ้างหลักคิดภายใต ้กระบวนการจัดการ
ความรู้ การตระหนักถึงความเสี่ยง การสร ้าง
รายได ้และการประหยัดรายจ่าย การสร ้างคุณค่า
มาตรฐานและความปลอดภัยและความเชื่อถือใน
ตัวสินค ้า
ทาอย่างไรจะทาให้ระบบการผลิตแบบ MASS ไปสู่การ
ผลิตแบบ Niche โดยอาศัยชุมชนเป็ นจุดศูนย์กลาง
24
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ระบบการผลิต
(Production System)
ระบบการตลาด
(
ทาอย่างไรจึงจะให้เกิดการใช้นวัตกรรมช่วยต่อเติมห่วง
โซ่อุปทานขึ้นเป็ นห่วงโซ่คุณค่า
ระบบการแปรรูป
(Processing System) Marketing System)
ระบบการบริโภค
(Consumption System)
ใช ้นวัตกรรมและความคิดเพิ่มมูลค่าในห่วงโซ่อุปทาน
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
High Antioxidants
Selenium/ Folate/
Phytonutrients
(สารฟฤกษเคมี)
Low – medium
glycemic index
Iron and high Fe
bioavailability
Let Your Rice
be Your
Medicine
ที่มา: รัชนี คงคาฉุยฉาย 2556
Good Quality High Nutrient For Longevity Life
ทาอย่างไรจะให้ข้าวเป็ นได้มากกว่าอาหารจานหลัก
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
มาตรฐานไทย
มาตรฐานสากล
การเกษตร
อาเซียน
ทาอย่างไรจะทาให้เกษตรกรรายย่อยคานึงถึงมาตรฐาน
การผลิตสินค้าเพราะเป็ นความจาเป็ นในยุคของการค้าเสรี
27
การก ้าวสู่ยุคการค ้าเสรี
ความก ้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม
มาตรฐานสินค ้า
เกษตรและอาหาร
เช่นข ้าวหอมมะลิ
มาตรฐานระบบ
(เช่น GAP, Organic
Thailand, GMP เป็น
ต ้น)
มาตรฐานชุมชน
มาตรฐานทั่วไป
SPS/QIE/CODEX/
IPPC
มาตรฐาน IFOAM, USDA
ORGANIC
มาตรฐานทั่วไป
SPS/QIE/CODEX/
IPPC/OIE
การเข ้าสู่
Word Free
Trade Economy
ตามบริบทของ
องค์การการค ้า
โลก
มิติเวลา
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ปัจจัยการผลิต
• เมล็ดพันธุ์ดี
• .ใช ้ปัจจัยการผลิตคุณภาพ
• จัดการเครื่องมืออย่างมี
ประสิทธิภาพ
การผลิต
• รวมที่นาให ้ใหญ่่ขึ้น
• มีมาตรบานการผลิต
• ใช ้เครื่องจักรกลเข ้าช่วย
• ทาชลประทานไร่นาให ้มี
ประสิทธิภาพ
การดูแลหลังเก็บเกี่ยว
• แปรรูปที่ดี
• เก็บรักษาดี
• การขนส่งดี
การแปรรูป
• High VA processing
• Processing by-products
การค้า
• สืบที่มาได ้
• คุณภาพดี
• ความปลอดภัย
• การตลาด
ธุรกิจ
สหกรณ์การเกษตร
การจัดการที่ดินและทุน
การส่งเสริม การให้
สินเชื่อ
Source:Dang Kim Son, 2014
:
28
ทาอย่างไรจึงจะสร้างกระบวนการผลิตและการตลาดของชุมชนให้
เกิดเป็ นเครือข่ายที่มีขนาดใหญ่มีความได้เปรียบต่อขนาด
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ทาอย่างไรเกษตรกรรายย่อยจะมีความมั่นคงและยั่งยืน
ได้รับคุณค่าจากการบริโภค
อาหารที่ได้คุณภาพ เป็ นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม มีความ
ปลอดภัย เข้าถึงได้และมีอยู่
อย่างพอเพียง
ผูกโยงเครือข่ายสร้างเป็ นตลาด
จาเพาะ(nich market) มีกลไก
รับรองคุณค่า มีช่องทางในการ
กระจายสินค้า ที่เป็ นธรรม
สร้างความจาเพาะในคุณค่า
ของสินค้า(niche product)
ใช้ปัจจัยการผลิตที่เป็ นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม มีกลไกของ
กิจกรรมและการจัดการที่ดี
ตระหนักถึงความสาคัญ
ของระบบนิเวศ
สภาพแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ
29
ดิน น้า อากาศ
biodiversity
สังคม
เศรษฐกิจสิ่งแวดล ้อม
เกษตรกรรม
ยั่งยืน
คุณภาพชีวิตที่
ดีของเกษตรกร
ประสิทธิภาพ ความเป็ นธรรม
การ
ผสมผสาน
การผลิตพืช
และสัตว์
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ผลที่ตามมาเกษตรกรรายย่อย
จานวนไม่น้อยตกอยู่ในภาวะยากจน
และไม่มีความมั่นคงในอาชีพ
ทาอย่างไรจะสร้างภูมิคุ้มกันใหม่ให้กับชาวนา
ทีมา: ดัดแปลงจาก อภิชาติ วรรณวิจิตร 2557
ขาดความรู้การ
จัดการไร่นา
ขาดเทคนิคในการ
ปรับลดต้นทุน
ขาดเทคนิคสู่
ระบบการผลิต
ปลอดภัย ได้
มาตรฐาน ได้
คุณภาพ
เข้าไม่ถึงกลไก
ตลาด
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
สถาบันการศึกษาและหน่วยงานราชการเข้า
มาเสริมเพื่อเติมเต็มช่องว่างการผลิตการ
จัดการ
สร้างวิธีการจัดการใหม่
สร้างช่องทางตลาดใหม่
 พันธุ์จาเพาะ
ความท้าทายที่จะสร้างภูมิคุ้มกันใหม่ให้กับชาวนาเพื่อ
ความมั่นคงและยั่งยืนในอาชีพ
 สร้างนวัตกรรมในตัวสินค้า
 ผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น
 การค้าที่เป็ นธรรม
ทีมา: ดัดแปลงจาก อภิชาติ วรรณวิจิตร 2557
ภาคธุรกิจเข้ามาร่วมเชื่อมต่อโซ่อุปทาน เป็ น
การเต็มช่องว่างการจัดการทางการตลาด
การสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการกระจายสินค้า
ต่อผู้บริโภค
ชุมชนร่วมือกันให้เข้มแข็ง
ยกระดับการ
จัดการในไร่นา
ของเกษตรกร
ทาการผลิตโดย
การตระหนักถึง
คุณภาพ มาตรฐาน
และความปลอดภัย
ผูกโยงการ
ผลิตให้เข้ากับ
แรงขับเคลื่อน
ทางการตลาด
อย่างเป็ นธรรม
และมี
ประสิทธิภาพ
3. มองข้าวไทยภายใต้ความท้าทายใหม่
ขอบคุณ
32
Q&A
 เพราะการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ผ่านมาเกิดจากการเพิ่มปริมาณ
(จานวน) ของปัจจัยการผลิตเป็นหลักโดยไม่ได ้เน้นถึงการจัดการและการ
เพิ่มคุณค่าเชิงนวัตกรรมของสินค ้า รวมถึงการตระหนักถึงคุณภาพของ
ปัจจัยที่ใช ้ให ้มีศักยภาพการผลิตที่สูงขึ้น
ภาคการผลิตข้าวของไทยที่ผ่านมาเกิดจากการขยายตัว
ของการใช้ทรัพยากรมากกว่าการเพิ่มศักยภาพการผลิต
 สภาวะความมีจากัดของทรัพยากร
การผลิต จะทาให ้การพัฒนาตาม
แนวทางเดิมมีผลิตภาพจากการผลิต
ลดลงและส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของ
ต ้นทุนการผลิต
เมื่อตลาดมีการแข่งขันมากขึ้นใน
ช่วงเวลาที่ผ่านมากาลังจะทาให ้การผลิต
ข ้าวของไทยไม่สามารถแข่งขันได ้
2. จุดอ่อนของข้าวไทยในช่วง ทศวรรษที่ผ่านมา
33

More Related Content

Viewers also liked

Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"#svegliamuseo
 
Causes of dropping_out
Causes of dropping_outCauses of dropping_out
Causes of dropping_outhorinekp
 
Consumer Buying Behavior & Advertising Campaign Of Apple Ipad
Consumer Buying Behavior & Advertising Campaign Of Apple Ipad Consumer Buying Behavior & Advertising Campaign Of Apple Ipad
Consumer Buying Behavior & Advertising Campaign Of Apple Ipad Syed Anas Abdali
 
На школу директоров
На школу директоровНа школу директоров
На школу директоровKalter401
 
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15somporn Isvilanonda
 
НеОлимпийские Игры 2014
НеОлимпийские Игры 2014НеОлимпийские Игры 2014
НеОлимпийские Игры 2014chook3r
 

Viewers also liked (13)

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
Borsa Internazionale del Turismo - "Raccontare il museo: «Si può fare!»"
 
Causes of dropping_out
Causes of dropping_outCauses of dropping_out
Causes of dropping_out
 
10
1010
10
 
Consumer Buying Behavior & Advertising Campaign Of Apple Ipad
Consumer Buying Behavior & Advertising Campaign Of Apple Ipad Consumer Buying Behavior & Advertising Campaign Of Apple Ipad
Consumer Buying Behavior & Advertising Campaign Of Apple Ipad
 
На школу директоров
На школу директоровНа школу директоров
На школу директоров
 
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
Current status and research trend on glutinous rice in gms 12 2-15
 
Number research
Number researchNumber research
Number research
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Megauniversidades
MegauniversidadesMegauniversidades
Megauniversidades
 
Cultural colors of punjab
Cultural colors of punjabCultural colors of punjab
Cultural colors of punjab
 
НеОлимпийские Игры 2014
НеОлимпийские Игры 2014НеОлимпийские Игры 2014
НеОлимпийские Игры 2014
 
Photocontest 07
Photocontest 07Photocontest 07
Photocontest 07
 

Similar to สถานการณ์ข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก จุดอ่อนและความท้าทาย 17 09-58

มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557Somporn Isvilanonda
 
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564sompornisvilanonda2
 
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564sompornisvilanonda2
 
Thailand rice production reform
Thailand rice production reform Thailand rice production reform
Thailand rice production reform somporn Isvilanonda
 
Driving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchDriving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchsomporn Isvilanonda
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยsomporn Isvilanonda
 

Similar to สถานการณ์ข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก จุดอ่อนและความท้าทาย 17 09-58 (6)

มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
มองมิติใหม่ของการพัฒนาข้าวและชาวนาไทย 5 กันยายน 2557
 
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
 
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
อนาคตข้าวและชาวนาไทยจะรุ่งเรืองหรือโรยรา 23 06 2564
 
Thailand rice production reform
Thailand rice production reform Thailand rice production reform
Thailand rice production reform
 
Driving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward researchDriving thailand rice economy toward research
Driving thailand rice economy toward research
 
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทยภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
ภาพอนาคตของเกษตรกรรมไทย
 

More from somporn Isvilanonda

การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19somporn Isvilanonda
 
Thailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agricultureThailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agriculturesomporn Isvilanonda
 
Factor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price riseFactor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price risesomporn Isvilanonda
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019somporn Isvilanonda
 
Planting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetPlanting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetsomporn Isvilanonda
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบsomporn Isvilanonda
 
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้somporn Isvilanonda
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืนsomporn Isvilanonda
 
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยเกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยsomporn Isvilanonda
 
The future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economyThe future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economysomporn Isvilanonda
 
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555somporn Isvilanonda
 
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017somporn Isvilanonda
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯsomporn Isvilanonda
 
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยsomporn Isvilanonda
 
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตกทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตกsomporn Isvilanonda
 
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...somporn Isvilanonda
 
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)somporn Isvilanonda
 
การก้าวข้ามกำแพง Ntb ของสินค้าเกษตรไทย
การก้าวข้ามกำแพง Ntb ของสินค้าเกษตรไทยการก้าวข้ามกำแพง Ntb ของสินค้าเกษตรไทย
การก้าวข้ามกำแพง Ntb ของสินค้าเกษตรไทยsomporn Isvilanonda
 

More from somporn Isvilanonda (20)

การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
การปรับตัวของภาคเกษตรและอาหารไทยจากการระบาดโควิด 19
 
World rice market and covid 19
World rice market and covid 19World rice market and covid 19
World rice market and covid 19
 
Thailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agricultureThailand economic depression and role of agriculture
Thailand economic depression and role of agriculture
 
Factor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price riseFactor influencing glutinous price rise
Factor influencing glutinous price rise
 
Somporn reearch management 19 07-2019
Somporn reearch management  19 07-2019Somporn reearch management  19 07-2019
Somporn reearch management 19 07-2019
 
Planting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial assetPlanting forest tree for financial asset
Planting forest tree for financial asset
 
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบการจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
การจัดการงานวิจัยสู่ผลลัพธ์และผลกระทบ
 
Agricultural product innovation
Agricultural product innovationAgricultural product innovation
Agricultural product innovation
 
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
การพึ่งพิงตนเองเรื่องข้าวของประเทศในเอเชียใต้
 
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
13 02-18 การปรับตัวของชาวนาบนเส้นทางที่ยั่งยืน
 
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทยเกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
เกษตรไทย 4.0 เปลี่ยนแนคิดเปลี่ยนวิถีเกษตรไทย
 
The future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economyThe future of Thailand's rice economy
The future of Thailand's rice economy
 
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด  เมษายน 2555
ข้าวไทยกับอำนาจเหนือตลาด เมษายน 2555
 
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
Rice policy in thailand production and economic issues (1), june 20, 2017
 
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
ทิศทางการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์เกษตร ฯ
 
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทยความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
ความต้องการและสถานการณืพืชสวนไทย
 
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตกทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
ทำไมข้าวหอมมะลิราคาตก
 
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
ตลาดข้าวนึ่งโลกและการส่งออกของไทย เศรษฐศาสตร์ตลาดข้าว ข้าวไทย_ปีที่9_ฉบับที่5...
 
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปีกไทยภายใต้บริบทโลกที่เปลี่ยนแปลงไป 29 ก.ค. 59.pptx (1)
 
การก้าวข้ามกำแพง Ntb ของสินค้าเกษตรไทย
การก้าวข้ามกำแพง Ntb ของสินค้าเกษตรไทยการก้าวข้ามกำแพง Ntb ของสินค้าเกษตรไทย
การก้าวข้ามกำแพง Ntb ของสินค้าเกษตรไทย
 

สถานการณ์ข้าวไทยในตลาดการค้าข้าวโลก จุดอ่อนและความท้าทาย 17 09-58