SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
วิชา สังคม                                         1
                                 วิชา สังคมศึกษา
1. วัฒนธรรมย่อยในสถาบันเศรษฐกิจของ                       3) สิ่ งประดิษฐ์จากภูมิปัญญาพื้นบ้านในทุก
   สังคมไทยเกิดจากอะไร                                      ชุมชนได้รับการส่ งเสริ มมากขึ้น
   1) สถานที่ประกอบอาชีพ                                 4) ความเชื่อทางไสยศาสตร์ในชุมชนเมืองมี
   2) ระบบค่าตอบแทน                                         น้อยลง
   3) ค่านิยมในแต่ละอาชีพ
   4) เครื่ องหมายการค้า
2. ข้อใดเป็ นโครงสร้างที่สมบูรณ์ของสถาบัน              6. ข้อความใดถูกต้อง
   1) สัญลักษณ์ รู ปแบบ วิธีปฏิบติ ค่านิยม
                                  ั                       1) มนุษย์มีสัญชาตญาณในการสร้างบ้านเรื อน
   2) จุดมุ่งหมาย รู ปแบบ ความเชื่อ ค่านิยม                             ่
                                                             เป็ นที่อยูอาศัย
   3) จุดมุ่งหมาย วิธีปฏิบติ ความเชื่อ ค่านิยม
                           ั                              2) คาว่า วัฒนธรรมและสังคม มีความหมาย
   4) รู ปแบบ สัญลักษณ์ ความเชื่อ วิธีปฏิบติั                เกือบไม่แตกต่างกัน
3. ข้อใดไม่ ใช่ ลกษณะสังคมไทย
                 ั                                        3) การตอบสนองความต้องการของมนุษย์
   1) เป็ นสังคมเกษตรกรรม                                    แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มสังคม
   2) เป็ นสังคมเจ้าขุนมูลนาย                                                         ั
                                                          4) มนุษย์ติดต่อสัมพันธ์กนด้วยพฤติกรรมที่
   3) เป็ นสังคมเมือง                                        เป็ นลักษณะเฉพาะของแต่ละคน
   4) เป็ นสังคมพุทธศาสนา                              7. ข้อใดไม่ เกี่ยวข้องกับจารี ต
4. วัฒนธรรมใดไม่ ถูกต้อง                                  1) นรา ทาทุกอย่างตามแบบแผนของสังคม
   1) วัฒนธรรมเป็ นสมบัติเฉพาะของคนชัวรุ่ น
                                          ่               2) นริ ศ เชื่อในหลัก ‚ ทาดีได้ดี ทาชัวได้ชว ‚
                                                                                               ่    ั่
      หนึ่ง                                                   ตลอด
   2) วัฒนธรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นมีท้ งคุณและ
                                     ั                    3) นริ นทร์ ได้ให้ความช่วยเหลือผูประสบ
                                                                                            ้
      โทษ                                                     อันตรายเสมอ
   3) วัฒนธรรมเป็ นเครื่ องมือช่วยในการปรับตัว            4) นเรศต้องกรวดน้ าทุกครั้งหลังจากตักบาตร
      ของมนุษย์                                               พระแล้ว
   4) วัฒนธรรมที่ไม่สามารถตอบสนองความ                  8. ปัญหาสังคมไทยโดยรวมจะส่ งผลกระทบถึงข้อ
      ต้องการจะหมดไป                                      ใดมากที่สุด
5. ข้อใดไม่ ใช่ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม                 1) คุณภาพของเยาวชนทางร่ างกายและจิตใจ
   1) สตรี ไทยมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น                   2) คุณภาพของสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพและ
   2) เทคโนโลยีการสื่ อสารผ่านดาวเทียมทาให้                  ชีวภาพ
      ขยาย การศึกษาไปยังท้องถิ่นห่างไกลได้
2
3) คุณภาพของระบบเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง                  13. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการศึกษาศาสนาที่
      อย่างรวดเร็ ว                                        เกี่ยวข้องในสังคมไทย
   4) คุณภาพของประชากรโดยเฉพาะในวัย                        1) เพื่อหาข้อเด่นและข้อด้อยของแต่ละศาสนา
      แรงงาน                                               2) เพื่อขันติธรรมในการอยูร่วมกันในสังคม
                                                                                        ่
9. ข้อใดคือความเชื่อในศาสนาคริ สต์ที่ต่างจาก               3) เพื่อความภาคภูมิใจในศาสนาของตน
   ศาสนาพราหมณ์                                            4) เพื่อประยุกต์คาสอนของแต่ละศาสนามาเป็ นหลัก
  1) มนุษย์เกิดเพียงชาติเดียว                                   ในการดาเนินชีวต   ิ
  2) มนุษย์เกิดจากการสร้างของพระเจ้า                    14. " หลักแห่งความเสมอภาค " ในระบอบ
  3) ผูเ้ คารพพระเจ้าคือผูทาความดี
                          ้                                ประชาธิปไตย หมายถึงกรณี ในข้อใด
  4) ผูทาความดีพระเจ้าย่อมมองเห็น
         ้                                                  1) รัฐบาล ก. ออกกฎหมายห้ามชาวนาตัด ไม้
                                                                ทาลายป่ า
     10. ข้อใดคือหลักปฏิบติในศาสนาอิสลามที่
                             ั                              2) รัฐมนตรี ข. ขับรถชนคนบาดเจ็บแต่ไม่ผด   ิ
     ไม่ ปรากฏในศาสนาอื่น ๆ                                      เพราะเป็ นเหตุสุดวิสัย
     1) การบูชาพระเจ้าด้วยการสวดภาวนา                       3) นาย ค. ไม่สามารถลงสมัครรับเลือกตั้งได้
     2) การสอนให้ศาสนิกสามัคคีปรองดองกัน                         เพราะจบการศึกษาประถมปี ที่หก
    3) การไม่นิยมสร้างรู ปเคารพของพระ ศาสดา                 4) นาย ง. เสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาใน
    4) การสารวมระวังไม่ให้จิตใจตกเป็ นทาส                        อัตราที่สูงกว่า นาย จ.
        ของความอยาก                                     15. การเมืองการปกครองของไทย ในช่วง
11. การสอนเรื่ องทุกข์ในพุทธศาสนา มี                        ระหว่าง พ.ศ. 2480-2514 มีลกษณะเช่นไร
                                                                                          ั
    จุดประสงค์สุดท้ายอย่างไร                                1) ฝ่ ายการเมืองบริ หารตามระบอบ
              ่ ิ
    1) ให้รู้วาชีวตคือความทุกข์                                   ประชาธิปไตย
    2) ให้ตระหนักว่าเราเอาชนะทุกข์ได้                       2) ฝ่ ายทหารมีบทบาทในระบบอานาจนิยม
    3) ให้เข้าใจว่าทุกข์มาจากกิเลสในใจเรา                   3) ข้าราชการพลเรื อนควบคุมการบริ หาร
               ่
    4) ให้รู้วาความทุกข์เป็ นกรรม                                 ราชการ
12. หลักคาสอน ‚กรรมโยคะ‛ ในศาสนา                            4) กลุ่มนักธุรกิจการเมืองมีบทบาทบริ หาร
   พราหมณ์ – ฮินดู ตรงกับคาไทยข้อใด                               ประเทศ
   1) หนักเอาเบาสู ้ 2) อาบเหงื่อต่างน้ า               16. การดาเนินการตามข้อใดเป็ นปัจจัยสาคัญใน
   3) ปิ ดทองหลังพระ           4) เก็บเบี้ยใต้ถุน           การเสริ มสร้างอานาจและบารมีของ
ร้าน                                                        พระมหากษัตริ ยในสมัยอยุธยา
                                                                                ์
                                                            1) การทาสงครามแผ่ขยายราชอาณาจักร
วิชา สังคม                                     3
    2) การควบคุมขุนนางและราษฎรไว้ได้อย่าง
        ใกล้ชิด
    3) การส่ งเสริ มพระราชประเพณี และพิธีการ       20. ข้อใดไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับระบบกฎหมาย คอม
        ทางศาสนาต่าง ๆ                                มอนลอว์
                                      ั
    4) การสร้างสัมพันธ์ฉนท์เครื อญาติกบ
                         ั                            1) ผูพิพากษาเป็ นผูสร้างกฎหมาย
                                                            ้               ้
        ประเทศเพื่อนบ้าน                              2) เป็ นระบบที่ไม่มีกฎหมายเป็ นลายลักษณ์
17. แนวความคิดเกี่ยวกับการเมืองการปกครองใน                อักษร
    สมัยต้นรัตนโกสิ นทร์แตกต่างจากสมัยอยุธยา          3) ประเทศที่เป็ นต้นกาเนิดของระบบนี้คือ
    ในเรื่ องใด                                           ประเทศอังกฤษ
    1) ระบบศักดินา                                    4) จารี ตประเพณี และคาพิพากษาของศาล
    2) ฐานะของพระมหากษัตริ ย ์                            เป็ นที่มาของกฎหมาย
    3) การจัดระเบียบการปกครองส่ วนกลาง
    4) การจัดระเบียบการปกครองส่ วนภูมิภาค
18. ความเป็ นประชาธิปไตย หมายถึงอะไร
     1) ประชาชนมีส่วนร่ วมในทางการเมือง
     2) อานาจอธิปไตยมีฐานะสู งสุ ด
     3) ประชาชนเป็ นใหญ่ในแผ่นดิน
     4) อานาจอธิปไตยเป็ นอิสระ



19. องค์กรใดมีอานาจวินิจฉัยข้อพิพาทอัน
    เนื่องมาจากการกระทาหรื อละเว้นการกระทา
    ของหน่วยราชการตามรัฐธรรมนูญ
    1) ผูตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา
          ้
    2) ศาลปกครอง
    3) สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
    4) ศาลรัฐธรรมนูญ
4


                                  เฉลย วิชา สังคม
                                                         - ข้อ 2, 3, 4 นับเป็ นการ เปลี่ยนแปลง
1. ตอบ 3 ค่านิยมในแต่ละอาชีพ                                   วัฒนธรรมหรื อวิถีชีวตของสังคม
                                                                                     ิ
   - วัฒนธรรมย่อยในแต่ละสถาบันเศรษฐกิจ                      - ข้อ 1 เป็ นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
        เกิดจากค่านิยมในแต่ละอาชีพ เช่น หมอ,                   คือ การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างสังคม
        ครู ตองมีจรรยาบรรณ, เกษตรกรต้อง
             ้                                                (สถานภาพ, บทบาท) ไม่ใช่ การเปลี่ยนแปลง
        ช่วยเหลือกัน (เก็บเกี่ยวผลผลิต)                        ทางวัฒนธรรม)
2. ตอบ 2 จุดมุ่งหมาย รู ปแบบ ความเชื่อ                   6. ตอบ 3 การตอบสนองความต้องการของ
   ค่านิยม                                                   มนุษย์แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มสังคม
3. ตอบ 3 เป็ นสังคมเมือง                                     ข้อ 1 ผิด เพราะการที่มนุษย์สร้างบ้านเป็ นไป
   - สังคมไทยเป็ นสังคมเกษตรกรรม                                    เพราะการเรี ยนรู ้ ไม่ใช่ เป็ นไปตาม
        คนส่ วนมากเป็ นเกษตรกร                                      สัญชาตญาณ
   - สังคมไทยเป็ นสังคมศาสนาพุทธ                             ข้อ 2 ผิด เพราะ วัฒนธรรมกับสังคมมี
        คนส่ วนมากนับถือศาสนาพุทธ                                   ความหมายแตกต่างกัน
   - สังคมไทยเป็ นสังคมเจ้าขุนมูลนาย                         - สังคม หมายถึง กลุ่มคนที่มี
        คนส่ วนมากยังคงได้รับอิทธิพลจากระบ                              ความสัมพันธ์กน ั
        อุปถัมภ์ (ระบบเจ้านาย – ลูกน้อง , ลูกพี่ –           - วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวตของสังคม
                                                                                             ิ
        ลูกน้อง)                                             ข้อ 4 ผิด เพราะ มนุษย์ไม่ได้ติดต่อกันด้วย
   - สังคมไทยไม่ใช่สังคมเมือง เพราะ มีคน                            พฤติกรรมที่เป็ นลักษณะเฉพาะของตน
        เพียงร้อยละ 20 ที่อาศัยในเขตเมือง                           เท่านั้นแต่มีการติดต่อกันด้วยพฤติกรรม
4. ตอบ 1 วัฒนธรรมเป็ นสมบัติเฉพาะของคน                              ที่เป็ นลักษณะที่คนทัวไปในสังคม
                                                                                           ่
   ชัวรุ่ นหนึ่ง
      ่                                                             ปฏิบติต่อกันด้วย
                                                                            ั
   - วัฒนธรรมเป็ นมรดกของสังคม ไม่ใช่เป็ น               7. ตอบ 4 นเรศต้องกรวดน้ าทุกครั้งหลังจากตัก
        เพียงสมบัติเฉพาะของคนชัวรุ่ นหนึ่งเท่านั้น
                                  ่                          บาตรพระแล้ว
    ข้อ 1 จึงไม่ถูกต้อง                                           - จารี ตเป็ นข้อปฏิบติเกี่ยวกับความดี –
                                                                                         ั
5. ตอบ 1 สตรี ไทยมีบทบาททางการเมืองมาก                              ความชัว   ่
   ขึ้น                                                      ข้อ 1 จารี ตเป็ นแบบแผนหนึ่งของสังคม จึง
                                                                   เกี่ยวข้องกับข้อ 1
วิชา สังคม                                          5
    ข้อ 2 กฎแห่งกรรม ข้อ 3 ความเมตตากรุ ณา                  - กรรมโยคะ ในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
            เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับความดี – ความชัว
                                                ่           หมายถึง ‚การกระทาที่ไม่หวังผลตอบแทน‛
            จึงเกี่ยวกับจารี ต                              จึงตรงกับ ‚ปิ ดทองหลังพระ‛
    ข้อ 4 การกรวดน้ าเป็ นเรื่ องของวิถีชาวบ้าน         13. ตอบ 4 เพื่อประยุกต์คาสอนของแต่ละศาสนา
            ไม่ใช่จารี ต                                    มาเป็ นหลักในการดาเนินชีวต    ิ
8. ตอบ 4 คุณภาพของประชากรโดยเฉพาะใน                         ข้อ 1 ผิดที่ ‚หาข้อด้อยของแต่ละศาสนา‛
    วัยแรงงาน                                               ข้อ 2 ที่ถูกคือ เพื่อ ‚สันติธรรม‛ ไม่ใช่
    - โจทย์ถามถึงผลที่กระทบมากที่สุด                               ‚ขันติธรรม‛ (อดกลั้ น)
    - ผลเสี ยหายที่สุดของปั ญหาสังคม คือ ผลที่              ข้อ 3 เป็ นการศึกษาเฉพาะศาสนาที่ตนนับถือ
      กระทบต่อมนุษย์ ข้อ 1 และข้อ 4 จึงเข้า                        แต่โจทย์ถามถึงศาสนาที่เกี่ยวข้องกับ
      ข่ายที่ควรจะพิจารณา                                          สังคมไทย
    - แต่ถาจะมองถึงผลเสี ยหายที่สุด คือ ผล
             ้                                          14. ตอบ 2 รัฐมนตรี ข. ขับรถชนคนบาดเจ็บ
      ระยะยาว คือ ผลที่กระทบต่อคุณภาพ                       แต่ไม่ผดเพราะเป็ นเหตุสุดวิสัย
                                                                      ิ
      ประชากรในวัยแรงงาน (ซึ่ งจะเป็ นช่วงที่               ข้อ 1 ไม่เสมอภาค เพราะห้ามแต่ชาวนา
      ยาวนานกว่าวัยเด็ก และเป็ นช่วงที่จะสร้าง              ข้อ 3 ไม่เสมอภาค เพราะเป็ นการจากัด
      ประโยชน์ต่อสังคมมากที่สุด)                                   โอกาสของคนมีการศึกษาน้อย
9. ตอบ 1 มนุษย์เกิดเพียงชาติเดียว                           ข้อ 4 ไม่ได้แสดงเหตุผลว่าทาไมนาย ง.
    - ศาสนาคริ สต์เชื่อว่า คนเราเกิดมาชาติเดียว                 จึงเสี ยภาษีในอัตราที่สูงกว่านาย จ.
        แล้วหลังจากตายไปรอวันพิพากษาโลกเลย                  ข้อ 2 ที่รัฐมนตรี ไม่ผด เค้าบอกว่าเพราะ
                                                                                     ิ
        ส่ วนศาสนาพราหมณ์เชื่อเรื่ องการเวียนว่าย                  ‚เป็ นเหตุสุดวิสัย‛ ไม่ใช่ ‚เพราะเป็ น
        ตายเกิด                                                                                    ่
                                                                   รัฐมนตรี ‛ หมายความว่า ‚ไม่วาใครก็
    - ข้ออื่น ๆ เป็ นคาสอนที่ตรงกันทั้งศาสนา                       ไม่ผดเพราะเป็ นเหตุสุดวิสัย‛ ข้อนี้แหละ
                                                                         ิ
        คริ สต์และศาสนาพราหมณ์                                     ที่แสดง ‚ความเสมอภาค‛ มากที่สุด
10. ตอบ 3 การไม่นิยมสร้างรู ปเคารพของพระ                15. ตอบ 2 ฝ่ ายทหารมีบทบาทในระบบอานาจ
    ศาสดา                                                   นิยม
    - ศาสนาอิสลามไม่มีรูปเคารพใด ๆ ทั้งสิ้ น                 - ทั้งนี้เพราะในช่วง ปี 2480 – 2514
11. ตอบ 2 ให้ตระหนักว่าเราเอาชนะทุกข์ได้                       เมืองไทยใช้ระบบเผด็จการทหารสาคัญ ๆ
    - ทั้งนี้เพราะพระพุทธเจ้าสอนเรื่ องทุกข์                   โดยจอมพล 3 ท่านตามลาดับ คือ จอมพล
    เพื่อให้เราพ้นทุกข์ (เอาชนะความทุกข์ได้)                   แปลก พิบูลสงคราม, จอมพลสฤษฎ์ ธนะ
12. ตอบ 3 ปิ ดทองหลังพระ                                       รัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร
6
 16. ตอบ 3 การส่ งเสริ มพระราชประเพณี และ                   * เพียงแต่สมัยรัชกาลที่ 4 พระมหากษัตริ ย ์
    พิธีการทางศาสนาต่าง ๆ                                      เริ่ มเป็ นเหมือนธรรมราชา (แบบเดียวกับ
    - โจทย์ถามวิธีเสริ มอานาจบารมีของกษัตริ ย ์                สุ โขทัยตอนปลาย) คือ รัชกาลที่ 4 ทรง
      อยุธยา สมัยอยุธยากษัตริ ยส่งเสริ มพระราช
                                 ์                             ร่ วมดื่มน้ าพระพิพฒน์สัตยากับเหล่าขุนนาง
                                                                                      ั
      ประเพณี และพิธีการทางศาสนาต่าง ๆ เพื่อ                   อันนี้แสดงให้เห็นว่ากษัตริ ยเ์ ริ่ มเป็ นอย่าง
      เสริ มความเป็ นเทวราชาของพระองค์ให้                      ‘มนุษย์ธรรมดา’ มากขึ้น ไม่เหมือนสมัย
      มันคงมากขึ้น เช่น มีพิธีบรมราชาภิเษกพิธี
        ่                                                      อยุธยาที่กษัตริ ยเ์ ป็ นเทวราชาหรื อสมมติ
      โสกันต์ มีการใช้ราชาศัพท์ ทาให้ทรงมี                     เทพ
      บารมีและต่างจากคนทัวไปมากขึ้น
                              ่                         18. ตอบ 1 ประชาชนมีส่วนร่ วมในทางการเมือง
    ข้อ 1 การทาสงครามในสมัยอยุธยา เพื่อแผ่                  - ความเป็ นประชาธิปไตยสาคัญที่การให้
           ขยายราชอาณาเขต มีเฉพาะกับบริ เวณ                   ประชาชนมีส่วนร่ วมในทางการเมือง
           ประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ถือเป็ นปัจจัย               - ข้อ 2 และข้อ 4 ยังไม่ได้บ่งว่าเป็ นการ
           สาคัญในการเสริ มสร้างอานาจบารมีของ               ปกครองแบบประชาธิปไตยหรื อไม่
           พระองค์                                      19. ตอบ 2 ศาลปกครอง
    ข้อ 2 การควบคุมประชาชนและขุนนางอย่าง                    - ข้อนี้โจทย์เขาถามถึงว่า เราจะฟ้ องหน่วย
           ใกล้ชิด เป็ นแนวการปกครองสมัย                      ราชการที่ทาหน้าที่ไม่ดีได้ที่ไหน
           ‚สุ โขทัย‛                                         คาตอบคือ ศาลปกครอง ศาลนี้จะทาหน้าที่
    ข้อ 4 การเสริ มสร้างความสัมพันธ์ฉนท์ญาติกบ
                                       ั        ั             ตัดสิ นข้อพิพาทที่เราฟ้ องหน่วยราชการที่
           เพื่อนบ้าน เป็ นแนวการปกครองสมัยก่อน               ปฏิบติงานไม่เป็ นธรรมแก่ประชาชน
                                                                      ั
           สุ โขทัยและสุ โขทัยตอนต้น                        - ข้อ 4 ศาลรัฐธรรมนูญจะตัดสิ นกรณี
17. ตอบ 2 ฐานะของพระมหากษัตริ ย ์                             สาคัญ เช่น กฎหมายฉบับไหนขัดต่อ
    - ก่อนอื่นนักเรี ยนต้องเข้าใจก่อนว่าสมัยต้น               รัฐธรรมนูญหรื อเปล่า
       รัตนโกสิ นทร์ หมายถึง สมัยรัชกาลที่ 1            20. ตอบ 2 เป็ นระบบที่ไม่มีกฎหมายเป็ นลาย
       ถึงรัชกาลที่ 4 สมัยนั้นการปกครอง                     ลักษณ์อกษร  ั
       ประเทศทั้งส่ วนกลางและภูมิภาคยัง                     - ‚ระบบ‛ คอมมอนลอว์ คือ ‚ระบบ‛
       เหมือนเดิม คือ                                       กฎหมาย
       - ส่ วนกลางมีจตุสดมภ์                                  จารี ตประเพณี แต่ไม่ได้หมายความว่า
       - ส่ วนภูมิภาคก็เป็ นหัวเมือง แล้วก็ยงมี
                                             ั                จะไม่มีกฎหมายที่เป็ นลายลักษณ์อกษรเลย  ั
            การใช้กฎหมายศักดินาเหมือนเดิม                     ข้อ 2 จึงผิด

More Related Content

Similar to สังคม

ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
kullachatt
 
O-net ม.6สังคมศึกษา 53
O-net ม.6สังคมศึกษา 53O-net ม.6สังคมศึกษา 53
O-net ม.6สังคมศึกษา 53
Watcharinz
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
chanakanp
 
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd668c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
Pawarat Panyati
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
Pim Jazz
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
Chayanis
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
naleealoha
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
jupjangny
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
noeiinoii
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม
Charisma An
 
One t ส งคม 53
One t ส งคม 53One t ส งคม 53
One t ส งคม 53
B'Benz Gorgee
 
O-NET'52 สังคมศึกษา
O-NET'52 สังคมศึกษาO-NET'52 สังคมศึกษา
O-NET'52 สังคมศึกษา
nay220
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
Namfon Warangkana
 
Onetสังคม
OnetสังคมOnetสังคม
Onetสังคม
thanyabright
 

Similar to สังคม (20)

M6social2553
M6social2553M6social2553
M6social2553
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 
O-net ม.6สังคมศึกษา 53
O-net ม.6สังคมศึกษา 53O-net ม.6สังคมศึกษา 53
O-net ม.6สังคมศึกษา 53
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 
2
22
2
 
Onet-Social
Onet-SocialOnet-Social
Onet-Social
 
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd668c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
68c9bebd68a903dfb244a706c88c9dd6
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
M6social2552
M6social2552M6social2552
M6social2552
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
Social
SocialSocial
Social
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 
ข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคมข้อสอบสังคม
ข้อสอบสังคม
 
One t ส งคม 53
One t ส งคม 53One t ส งคม 53
One t ส งคม 53
 
O-NET'52 สังคมศึกษา
O-NET'52 สังคมศึกษาO-NET'52 สังคมศึกษา
O-NET'52 สังคมศึกษา
 
สังคม 52
สังคม 52สังคม 52
สังคม 52
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 
Onetสังคม
OnetสังคมOnetสังคม
Onetสังคม
 

More from Visarut Keatnima (20)

โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอม
 
โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอม
 
16
1616
16
 
15
1515
15
 
14 (1)
14 (1)14 (1)
14 (1)
 
010
010010
010
 
08
0808
08
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ฝรั่งเศส
ฝรั่งเศสฝรั่งเศส
ฝรั่งเศส
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
07
0707
07
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
11คอม
11คอม11คอม
11คอม
 
09คอม
09คอม09คอม
09คอม
 
06 คอม
06 คอม06 คอม
06 คอม
 
05คอม
05คอม05คอม
05คอม
 
03
0303
03
 
K02
K02K02
K02
 
K6
K6K6
K6
 

สังคม

  • 1. วิชา สังคม 1 วิชา สังคมศึกษา 1. วัฒนธรรมย่อยในสถาบันเศรษฐกิจของ 3) สิ่ งประดิษฐ์จากภูมิปัญญาพื้นบ้านในทุก สังคมไทยเกิดจากอะไร ชุมชนได้รับการส่ งเสริ มมากขึ้น 1) สถานที่ประกอบอาชีพ 4) ความเชื่อทางไสยศาสตร์ในชุมชนเมืองมี 2) ระบบค่าตอบแทน น้อยลง 3) ค่านิยมในแต่ละอาชีพ 4) เครื่ องหมายการค้า 2. ข้อใดเป็ นโครงสร้างที่สมบูรณ์ของสถาบัน 6. ข้อความใดถูกต้อง 1) สัญลักษณ์ รู ปแบบ วิธีปฏิบติ ค่านิยม ั 1) มนุษย์มีสัญชาตญาณในการสร้างบ้านเรื อน 2) จุดมุ่งหมาย รู ปแบบ ความเชื่อ ค่านิยม ่ เป็ นที่อยูอาศัย 3) จุดมุ่งหมาย วิธีปฏิบติ ความเชื่อ ค่านิยม ั 2) คาว่า วัฒนธรรมและสังคม มีความหมาย 4) รู ปแบบ สัญลักษณ์ ความเชื่อ วิธีปฏิบติั เกือบไม่แตกต่างกัน 3. ข้อใดไม่ ใช่ ลกษณะสังคมไทย ั 3) การตอบสนองความต้องการของมนุษย์ 1) เป็ นสังคมเกษตรกรรม แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มสังคม 2) เป็ นสังคมเจ้าขุนมูลนาย ั 4) มนุษย์ติดต่อสัมพันธ์กนด้วยพฤติกรรมที่ 3) เป็ นสังคมเมือง เป็ นลักษณะเฉพาะของแต่ละคน 4) เป็ นสังคมพุทธศาสนา 7. ข้อใดไม่ เกี่ยวข้องกับจารี ต 4. วัฒนธรรมใดไม่ ถูกต้อง 1) นรา ทาทุกอย่างตามแบบแผนของสังคม 1) วัฒนธรรมเป็ นสมบัติเฉพาะของคนชัวรุ่ น ่ 2) นริ ศ เชื่อในหลัก ‚ ทาดีได้ดี ทาชัวได้ชว ‚ ่ ั่ หนึ่ง ตลอด 2) วัฒนธรรมที่มนุษย์สร้างขึ้นมีท้ งคุณและ ั 3) นริ นทร์ ได้ให้ความช่วยเหลือผูประสบ ้ โทษ อันตรายเสมอ 3) วัฒนธรรมเป็ นเครื่ องมือช่วยในการปรับตัว 4) นเรศต้องกรวดน้ าทุกครั้งหลังจากตักบาตร ของมนุษย์ พระแล้ว 4) วัฒนธรรมที่ไม่สามารถตอบสนองความ 8. ปัญหาสังคมไทยโดยรวมจะส่ งผลกระทบถึงข้อ ต้องการจะหมดไป ใดมากที่สุด 5. ข้อใดไม่ ใช่ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม 1) คุณภาพของเยาวชนทางร่ างกายและจิตใจ 1) สตรี ไทยมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น 2) คุณภาพของสิ่ งแวดล้อมทางกายภาพและ 2) เทคโนโลยีการสื่ อสารผ่านดาวเทียมทาให้ ชีวภาพ ขยาย การศึกษาไปยังท้องถิ่นห่างไกลได้
  • 2. 2 3) คุณภาพของระบบเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง 13. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการศึกษาศาสนาที่ อย่างรวดเร็ ว เกี่ยวข้องในสังคมไทย 4) คุณภาพของประชากรโดยเฉพาะในวัย 1) เพื่อหาข้อเด่นและข้อด้อยของแต่ละศาสนา แรงงาน 2) เพื่อขันติธรรมในการอยูร่วมกันในสังคม ่ 9. ข้อใดคือความเชื่อในศาสนาคริ สต์ที่ต่างจาก 3) เพื่อความภาคภูมิใจในศาสนาของตน ศาสนาพราหมณ์ 4) เพื่อประยุกต์คาสอนของแต่ละศาสนามาเป็ นหลัก 1) มนุษย์เกิดเพียงชาติเดียว ในการดาเนินชีวต ิ 2) มนุษย์เกิดจากการสร้างของพระเจ้า 14. " หลักแห่งความเสมอภาค " ในระบอบ 3) ผูเ้ คารพพระเจ้าคือผูทาความดี ้ ประชาธิปไตย หมายถึงกรณี ในข้อใด 4) ผูทาความดีพระเจ้าย่อมมองเห็น ้ 1) รัฐบาล ก. ออกกฎหมายห้ามชาวนาตัด ไม้ ทาลายป่ า 10. ข้อใดคือหลักปฏิบติในศาสนาอิสลามที่ ั 2) รัฐมนตรี ข. ขับรถชนคนบาดเจ็บแต่ไม่ผด ิ ไม่ ปรากฏในศาสนาอื่น ๆ เพราะเป็ นเหตุสุดวิสัย 1) การบูชาพระเจ้าด้วยการสวดภาวนา 3) นาย ค. ไม่สามารถลงสมัครรับเลือกตั้งได้ 2) การสอนให้ศาสนิกสามัคคีปรองดองกัน เพราะจบการศึกษาประถมปี ที่หก 3) การไม่นิยมสร้างรู ปเคารพของพระ ศาสดา 4) นาย ง. เสี ยภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาใน 4) การสารวมระวังไม่ให้จิตใจตกเป็ นทาส อัตราที่สูงกว่า นาย จ. ของความอยาก 15. การเมืองการปกครองของไทย ในช่วง 11. การสอนเรื่ องทุกข์ในพุทธศาสนา มี ระหว่าง พ.ศ. 2480-2514 มีลกษณะเช่นไร ั จุดประสงค์สุดท้ายอย่างไร 1) ฝ่ ายการเมืองบริ หารตามระบอบ ่ ิ 1) ให้รู้วาชีวตคือความทุกข์ ประชาธิปไตย 2) ให้ตระหนักว่าเราเอาชนะทุกข์ได้ 2) ฝ่ ายทหารมีบทบาทในระบบอานาจนิยม 3) ให้เข้าใจว่าทุกข์มาจากกิเลสในใจเรา 3) ข้าราชการพลเรื อนควบคุมการบริ หาร ่ 4) ให้รู้วาความทุกข์เป็ นกรรม ราชการ 12. หลักคาสอน ‚กรรมโยคะ‛ ในศาสนา 4) กลุ่มนักธุรกิจการเมืองมีบทบาทบริ หาร พราหมณ์ – ฮินดู ตรงกับคาไทยข้อใด ประเทศ 1) หนักเอาเบาสู ้ 2) อาบเหงื่อต่างน้ า 16. การดาเนินการตามข้อใดเป็ นปัจจัยสาคัญใน 3) ปิ ดทองหลังพระ 4) เก็บเบี้ยใต้ถุน การเสริ มสร้างอานาจและบารมีของ ร้าน พระมหากษัตริ ยในสมัยอยุธยา ์ 1) การทาสงครามแผ่ขยายราชอาณาจักร
  • 3. วิชา สังคม 3 2) การควบคุมขุนนางและราษฎรไว้ได้อย่าง ใกล้ชิด 3) การส่ งเสริ มพระราชประเพณี และพิธีการ 20. ข้อใดไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับระบบกฎหมาย คอม ทางศาสนาต่าง ๆ มอนลอว์ ั 4) การสร้างสัมพันธ์ฉนท์เครื อญาติกบ ั 1) ผูพิพากษาเป็ นผูสร้างกฎหมาย ้ ้ ประเทศเพื่อนบ้าน 2) เป็ นระบบที่ไม่มีกฎหมายเป็ นลายลักษณ์ 17. แนวความคิดเกี่ยวกับการเมืองการปกครองใน อักษร สมัยต้นรัตนโกสิ นทร์แตกต่างจากสมัยอยุธยา 3) ประเทศที่เป็ นต้นกาเนิดของระบบนี้คือ ในเรื่ องใด ประเทศอังกฤษ 1) ระบบศักดินา 4) จารี ตประเพณี และคาพิพากษาของศาล 2) ฐานะของพระมหากษัตริ ย ์ เป็ นที่มาของกฎหมาย 3) การจัดระเบียบการปกครองส่ วนกลาง 4) การจัดระเบียบการปกครองส่ วนภูมิภาค 18. ความเป็ นประชาธิปไตย หมายถึงอะไร 1) ประชาชนมีส่วนร่ วมในทางการเมือง 2) อานาจอธิปไตยมีฐานะสู งสุ ด 3) ประชาชนเป็ นใหญ่ในแผ่นดิน 4) อานาจอธิปไตยเป็ นอิสระ 19. องค์กรใดมีอานาจวินิจฉัยข้อพิพาทอัน เนื่องมาจากการกระทาหรื อละเว้นการกระทา ของหน่วยราชการตามรัฐธรรมนูญ 1) ผูตรวจการแผ่นดินของรัฐสภา ้ 2) ศาลปกครอง 3) สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 4) ศาลรัฐธรรมนูญ
  • 4. 4 เฉลย วิชา สังคม - ข้อ 2, 3, 4 นับเป็ นการ เปลี่ยนแปลง 1. ตอบ 3 ค่านิยมในแต่ละอาชีพ วัฒนธรรมหรื อวิถีชีวตของสังคม ิ - วัฒนธรรมย่อยในแต่ละสถาบันเศรษฐกิจ - ข้อ 1 เป็ นการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เกิดจากค่านิยมในแต่ละอาชีพ เช่น หมอ, คือ การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างสังคม ครู ตองมีจรรยาบรรณ, เกษตรกรต้อง ้ (สถานภาพ, บทบาท) ไม่ใช่ การเปลี่ยนแปลง ช่วยเหลือกัน (เก็บเกี่ยวผลผลิต) ทางวัฒนธรรม) 2. ตอบ 2 จุดมุ่งหมาย รู ปแบบ ความเชื่อ 6. ตอบ 3 การตอบสนองความต้องการของ ค่านิยม มนุษย์แตกต่างกันไปในแต่ละกลุ่มสังคม 3. ตอบ 3 เป็ นสังคมเมือง ข้อ 1 ผิด เพราะการที่มนุษย์สร้างบ้านเป็ นไป - สังคมไทยเป็ นสังคมเกษตรกรรม เพราะการเรี ยนรู ้ ไม่ใช่ เป็ นไปตาม คนส่ วนมากเป็ นเกษตรกร สัญชาตญาณ - สังคมไทยเป็ นสังคมศาสนาพุทธ ข้อ 2 ผิด เพราะ วัฒนธรรมกับสังคมมี คนส่ วนมากนับถือศาสนาพุทธ ความหมายแตกต่างกัน - สังคมไทยเป็ นสังคมเจ้าขุนมูลนาย - สังคม หมายถึง กลุ่มคนที่มี คนส่ วนมากยังคงได้รับอิทธิพลจากระบ ความสัมพันธ์กน ั อุปถัมภ์ (ระบบเจ้านาย – ลูกน้อง , ลูกพี่ – - วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวตของสังคม ิ ลูกน้อง) ข้อ 4 ผิด เพราะ มนุษย์ไม่ได้ติดต่อกันด้วย - สังคมไทยไม่ใช่สังคมเมือง เพราะ มีคน พฤติกรรมที่เป็ นลักษณะเฉพาะของตน เพียงร้อยละ 20 ที่อาศัยในเขตเมือง เท่านั้นแต่มีการติดต่อกันด้วยพฤติกรรม 4. ตอบ 1 วัฒนธรรมเป็ นสมบัติเฉพาะของคน ที่เป็ นลักษณะที่คนทัวไปในสังคม ่ ชัวรุ่ นหนึ่ง ่ ปฏิบติต่อกันด้วย ั - วัฒนธรรมเป็ นมรดกของสังคม ไม่ใช่เป็ น 7. ตอบ 4 นเรศต้องกรวดน้ าทุกครั้งหลังจากตัก เพียงสมบัติเฉพาะของคนชัวรุ่ นหนึ่งเท่านั้น ่ บาตรพระแล้ว ข้อ 1 จึงไม่ถูกต้อง - จารี ตเป็ นข้อปฏิบติเกี่ยวกับความดี – ั 5. ตอบ 1 สตรี ไทยมีบทบาททางการเมืองมาก ความชัว ่ ขึ้น ข้อ 1 จารี ตเป็ นแบบแผนหนึ่งของสังคม จึง เกี่ยวข้องกับข้อ 1
  • 5. วิชา สังคม 5 ข้อ 2 กฎแห่งกรรม ข้อ 3 ความเมตตากรุ ณา - กรรมโยคะ ในศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู เป็ นเรื่ องเกี่ยวกับความดี – ความชัว ่ หมายถึง ‚การกระทาที่ไม่หวังผลตอบแทน‛ จึงเกี่ยวกับจารี ต จึงตรงกับ ‚ปิ ดทองหลังพระ‛ ข้อ 4 การกรวดน้ าเป็ นเรื่ องของวิถีชาวบ้าน 13. ตอบ 4 เพื่อประยุกต์คาสอนของแต่ละศาสนา ไม่ใช่จารี ต มาเป็ นหลักในการดาเนินชีวต ิ 8. ตอบ 4 คุณภาพของประชากรโดยเฉพาะใน ข้อ 1 ผิดที่ ‚หาข้อด้อยของแต่ละศาสนา‛ วัยแรงงาน ข้อ 2 ที่ถูกคือ เพื่อ ‚สันติธรรม‛ ไม่ใช่ - โจทย์ถามถึงผลที่กระทบมากที่สุด ‚ขันติธรรม‛ (อดกลั้ น) - ผลเสี ยหายที่สุดของปั ญหาสังคม คือ ผลที่ ข้อ 3 เป็ นการศึกษาเฉพาะศาสนาที่ตนนับถือ กระทบต่อมนุษย์ ข้อ 1 และข้อ 4 จึงเข้า แต่โจทย์ถามถึงศาสนาที่เกี่ยวข้องกับ ข่ายที่ควรจะพิจารณา สังคมไทย - แต่ถาจะมองถึงผลเสี ยหายที่สุด คือ ผล ้ 14. ตอบ 2 รัฐมนตรี ข. ขับรถชนคนบาดเจ็บ ระยะยาว คือ ผลที่กระทบต่อคุณภาพ แต่ไม่ผดเพราะเป็ นเหตุสุดวิสัย ิ ประชากรในวัยแรงงาน (ซึ่ งจะเป็ นช่วงที่ ข้อ 1 ไม่เสมอภาค เพราะห้ามแต่ชาวนา ยาวนานกว่าวัยเด็ก และเป็ นช่วงที่จะสร้าง ข้อ 3 ไม่เสมอภาค เพราะเป็ นการจากัด ประโยชน์ต่อสังคมมากที่สุด) โอกาสของคนมีการศึกษาน้อย 9. ตอบ 1 มนุษย์เกิดเพียงชาติเดียว ข้อ 4 ไม่ได้แสดงเหตุผลว่าทาไมนาย ง. - ศาสนาคริ สต์เชื่อว่า คนเราเกิดมาชาติเดียว จึงเสี ยภาษีในอัตราที่สูงกว่านาย จ. แล้วหลังจากตายไปรอวันพิพากษาโลกเลย ข้อ 2 ที่รัฐมนตรี ไม่ผด เค้าบอกว่าเพราะ ิ ส่ วนศาสนาพราหมณ์เชื่อเรื่ องการเวียนว่าย ‚เป็ นเหตุสุดวิสัย‛ ไม่ใช่ ‚เพราะเป็ น ตายเกิด ่ รัฐมนตรี ‛ หมายความว่า ‚ไม่วาใครก็ - ข้ออื่น ๆ เป็ นคาสอนที่ตรงกันทั้งศาสนา ไม่ผดเพราะเป็ นเหตุสุดวิสัย‛ ข้อนี้แหละ ิ คริ สต์และศาสนาพราหมณ์ ที่แสดง ‚ความเสมอภาค‛ มากที่สุด 10. ตอบ 3 การไม่นิยมสร้างรู ปเคารพของพระ 15. ตอบ 2 ฝ่ ายทหารมีบทบาทในระบบอานาจ ศาสดา นิยม - ศาสนาอิสลามไม่มีรูปเคารพใด ๆ ทั้งสิ้ น - ทั้งนี้เพราะในช่วง ปี 2480 – 2514 11. ตอบ 2 ให้ตระหนักว่าเราเอาชนะทุกข์ได้ เมืองไทยใช้ระบบเผด็จการทหารสาคัญ ๆ - ทั้งนี้เพราะพระพุทธเจ้าสอนเรื่ องทุกข์ โดยจอมพล 3 ท่านตามลาดับ คือ จอมพล เพื่อให้เราพ้นทุกข์ (เอาชนะความทุกข์ได้) แปลก พิบูลสงคราม, จอมพลสฤษฎ์ ธนะ 12. ตอบ 3 ปิ ดทองหลังพระ รัชต์ และจอมพลถนอม กิตติขจร
  • 6. 6 16. ตอบ 3 การส่ งเสริ มพระราชประเพณี และ * เพียงแต่สมัยรัชกาลที่ 4 พระมหากษัตริ ย ์ พิธีการทางศาสนาต่าง ๆ เริ่ มเป็ นเหมือนธรรมราชา (แบบเดียวกับ - โจทย์ถามวิธีเสริ มอานาจบารมีของกษัตริ ย ์ สุ โขทัยตอนปลาย) คือ รัชกาลที่ 4 ทรง อยุธยา สมัยอยุธยากษัตริ ยส่งเสริ มพระราช ์ ร่ วมดื่มน้ าพระพิพฒน์สัตยากับเหล่าขุนนาง ั ประเพณี และพิธีการทางศาสนาต่าง ๆ เพื่อ อันนี้แสดงให้เห็นว่ากษัตริ ยเ์ ริ่ มเป็ นอย่าง เสริ มความเป็ นเทวราชาของพระองค์ให้ ‘มนุษย์ธรรมดา’ มากขึ้น ไม่เหมือนสมัย มันคงมากขึ้น เช่น มีพิธีบรมราชาภิเษกพิธี ่ อยุธยาที่กษัตริ ยเ์ ป็ นเทวราชาหรื อสมมติ โสกันต์ มีการใช้ราชาศัพท์ ทาให้ทรงมี เทพ บารมีและต่างจากคนทัวไปมากขึ้น ่ 18. ตอบ 1 ประชาชนมีส่วนร่ วมในทางการเมือง ข้อ 1 การทาสงครามในสมัยอยุธยา เพื่อแผ่ - ความเป็ นประชาธิปไตยสาคัญที่การให้ ขยายราชอาณาเขต มีเฉพาะกับบริ เวณ ประชาชนมีส่วนร่ วมในทางการเมือง ประเทศเพื่อนบ้าน ไม่ถือเป็ นปัจจัย - ข้อ 2 และข้อ 4 ยังไม่ได้บ่งว่าเป็ นการ สาคัญในการเสริ มสร้างอานาจบารมีของ ปกครองแบบประชาธิปไตยหรื อไม่ พระองค์ 19. ตอบ 2 ศาลปกครอง ข้อ 2 การควบคุมประชาชนและขุนนางอย่าง - ข้อนี้โจทย์เขาถามถึงว่า เราจะฟ้ องหน่วย ใกล้ชิด เป็ นแนวการปกครองสมัย ราชการที่ทาหน้าที่ไม่ดีได้ที่ไหน ‚สุ โขทัย‛ คาตอบคือ ศาลปกครอง ศาลนี้จะทาหน้าที่ ข้อ 4 การเสริ มสร้างความสัมพันธ์ฉนท์ญาติกบ ั ั ตัดสิ นข้อพิพาทที่เราฟ้ องหน่วยราชการที่ เพื่อนบ้าน เป็ นแนวการปกครองสมัยก่อน ปฏิบติงานไม่เป็ นธรรมแก่ประชาชน ั สุ โขทัยและสุ โขทัยตอนต้น - ข้อ 4 ศาลรัฐธรรมนูญจะตัดสิ นกรณี 17. ตอบ 2 ฐานะของพระมหากษัตริ ย ์ สาคัญ เช่น กฎหมายฉบับไหนขัดต่อ - ก่อนอื่นนักเรี ยนต้องเข้าใจก่อนว่าสมัยต้น รัฐธรรมนูญหรื อเปล่า รัตนโกสิ นทร์ หมายถึง สมัยรัชกาลที่ 1 20. ตอบ 2 เป็ นระบบที่ไม่มีกฎหมายเป็ นลาย ถึงรัชกาลที่ 4 สมัยนั้นการปกครอง ลักษณ์อกษร ั ประเทศทั้งส่ วนกลางและภูมิภาคยัง - ‚ระบบ‛ คอมมอนลอว์ คือ ‚ระบบ‛ เหมือนเดิม คือ กฎหมาย - ส่ วนกลางมีจตุสดมภ์ จารี ตประเพณี แต่ไม่ได้หมายความว่า - ส่ วนภูมิภาคก็เป็ นหัวเมือง แล้วก็ยงมี ั จะไม่มีกฎหมายที่เป็ นลายลักษณ์อกษรเลย ั การใช้กฎหมายศักดินาเหมือนเดิม ข้อ 2 จึงผิด