SlideShare a Scribd company logo
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
COMPUTER
บทที่ 2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
กชกร สุธารักษนนท์ ม.6/1 เลขที่ 55
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
HARDWARE
ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ที่เราสามารถ
มองเห็นและสัมผัสได้ เช่น ตัวเครื่อง จอภาพ คีย์บอร์ด และเมาส์ เป็นต้น เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
โดยทั่วไปจะมีฮาร์ดแวร์หลักๆได้แก่
1. ตัวเครื่อง (Case) ทาหน้าที่ในส่วนของการประมวลผลข้อมูลที่ได้รับมาจากอุปกรณ์นาเข้าต่างๆ ซึ่งภายใน
ตัวเครื่องจะมีอุปกรณ์หลัก ได้แก่ แผงวงจรหลัก หม้อแปลงไฟฟ้า ซีพียู ฮาร์ดดิสก์ หน่วยความจา การ์ดแสดงผล
การ์ดเสียง เป็นต้น
2. จอภาพ (Monitor) ทาหน้าที่แสดงผลข้อความ รูปภาพ
3. ดิสก์ไดร์ฟ (Disk drive) เป็นอุปกรณ์อ่าน-เขียนข้อมูลบนดิสก์เก็ต
4. คีย์บอร์ด (Keyboard) ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
5. เม้าส์ (Mouse) เป็นส่วนที่ใช้สั่งงานด้วยการชี้และเลือกสิ่งต่างๆที่แสดงอยู่บนจอภาพ
6. ลาโพง (Speaker) เป็นส่วนที่ใช้แสดงผลที่เป็นเสียง
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
Software
เป็นองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ที่เราไม่สามารถสัมผัสจับต้องได้โดยตรง เป็นชุดคาสั่งหรือ
โปรแกรม (Program) ที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้งาน
กับคอมพิวเตอร์ให้สามารถเข้าใจกันได้
ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software หรือ Operating Software : OS)
หมายถึงโปรแกรมที่ทาหน้าที่ประสานการทางาน ติดต่อการทางาน ระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์
ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ Software ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทาหน้าที่ในการจัดการ ระบบ ดูแลรักษา
เครื่อง การแปลภาษาระดับต่าหรือระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้เครื่องอ่านได้เข้าใจซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งได้ 4
ชนิด ดังนี้
1.1 ระบบปฏิบัติการ (Operating System) หมายถึง ชุดโปรแกรมที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
ประยุกต์มีหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคาสั่งสาหรับควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์
ให้กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น Windows XP , DOS , Linux , Mac OS X
1.2 ยูทิลิตี้( Utility Program) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้
เครื่องทางานง่ายขึ้นเร็วขึ้น และการป้องกันการรบกวนโดยโปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส ,
โปรแกรม Defrag เพื่อจัดเรียงข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์ใหม่ ทาให้การอ่านข้อมูลเร็วขึ้น , โปรแกรมยกเลิกการติดตั้ง
โปรแกรม Uninstall Program , โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (WinZip-WinRAR)เพื่อทาให้ไฟล์มีขนาดเล็กลง ,โปรแกรม
การสารองข้อมูล(Backup Data)
1.3 ดีไวซ์ไดเวอร์( Device Driver หรือ Driver) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ในส่วนการ
รับเข้าและการส่งออก ของแต่ละอุปกรณ์ เช่น เมื่อเราซื้อกล้องวีดีโอมาใหม่และต้องการนาเอาวีดีโอที่ถ่ายเสร็จ
นาไปตัดต่อที่คอมพิวเตอร์ ก็ต้องติดตั้งไดเวอร์ หรือโปรแกรมที่ติดมากับกล้อง ทาการติดตั้งที่เครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักและสามารถรับข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออกได้
โดยปกติโปรแกรม windows ที่เรามีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีไดเวอร์ติดตั้งมาให้แล้วโดยเราไม่ต้องทา
การติดตั้งไดเวอร์เอง เช่น ไดเวอร์สาหรับเมาส์ ,ไดเวอร์คีย์บอร์ด, ไดเวอร์สาหรับการใช้ USB Port , ไดเวอร์
เครื่องพิมพ์ แต่ถ้าอุปกรณ์ใดไม่สามารถใช้งานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ก็ต้องหาไดเวอร์มาติดตั้งเพื่อให้
สามารถใช้งานได้ ซึ่งต้องเป็นไดเวอร์ที่พัฒนามาของแต่ละบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์
1.4 ตัวแปลภาษา( Language Translator) คือโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลภาษาระดับต่าหรือระดับสูงเพื่อให้
เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจว่าต้องการให้ทาอะไร เช่น เมื่อโปรแกรมเมอร์ได้เขียนโปรแกรมเสร็จโดยเขียนในลักษณะ
ภาษาระดับต่า (Assenbly) หรือภาษาระดับสูง (โปรแกรมภาษา C) เสร็จก็ต้องมีตัวแปลภาษาเพื่อให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์อ่านเข้าใจ เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์จะเข้าใจเฉพาะตัวเลข 0 กับ ตัวเลข 1 เท่านั้น
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นโปรแกรมที่ใช้สาหรับทางานต่าง ตามที่ต้องการ เช่น การทางานเอกสาร งาน
กราฟิก งานนาเสนอ หรือเป็น Software สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมงานทะเบียน โปรแกรมการ
ให้บริการเว็บ โปรแกรมงานด้านธนาคาร
ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้
2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน เป็น Software ที่ใช้สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น Software
สาหรับงานธนาคารการฝากถอนเงิน Software สาหรับงานทะเบียนนักเรียน ซอฟต์แวร์คิดภาษี ซอฟต์แวร์
การให้บริการร้าน Seven ฯลฯ
2.2 ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับงานทั่วไป โดยในซอฟต์แวร์ 1 ตัวมี
ความสามารถในการทางานได้หลายอย่าง เช่น ซอฟต์แวร์งานด้านเอกสาร (Microsoft Word ) มี
ความสามารถในการสร้างงานเอกสารต่าง ๆ จัดทาเอกสารรายงาน จัดทาแผ่นพับ จัดทาหนังสือเวียน จัดทา
สื่อสิ่งพิมพ์
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
บุคลากร
หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้
คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้
1. ผู้จัดการระบบ (System Manager)
คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้
คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน
3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer)
คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผัง
ที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้
4. ผู้ใช้ (User)
คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มี
อยู่สามารถทางานได้ตามที่ต้องการ
เนื่องจากเป็นผู้กาหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสาคัญในอันที่จะทาให้
ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคาสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกาหนดของมนุษย์
(Peopleware) ทั้งสิ้น
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เป็นผู้ใช้งานระดับต่าสุดซึ่งไม่จาเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญมากนักก็สามารถใช้งานได้ โดยศึกษาจากคู่มือ
การปฏิบัติงานหรือคู่มือใช้งานโปรแกรมที่นามาใช้ หรืออาจต้องเข้ารับการอบรมบ้างเพื่อให้สามารถใช้งาน
ได้ บุคลากรกลุ่มนี้มีจานวนมากที่สุดในหน่วยงาน และลักษณะงานมักเกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์
ทั่วไป เช่น งานธุรการสานักงาน งานป้อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (Call center) เป็นต้นในการวาง
ระบบงานคอมพิวเตอร์ขององค์กร ผู้ใช้งานถือได้ว่ามีบทบาทที่สาคัญมาก เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการใช้งาน
โดยตรง ซึ่งผู้ทาหน้าที่ออกแบบและวางระบบ เช่น นักวิเคราะห์ระบบ หรือ system analyst จาเป็นต้องมี
การสอบถามความต้องการ (requirement) ในการใช้งานเบื้องต้นของกลุ่มผู้ใช้งานเหล่านี้ด้วย โดยอาจใช้
วิธีการสัมภาษณ์ลักษณะงานที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน รวมถึงออกแบบสารวจความต้องการของระบบที่อยาก
ได้ ซึ่งในบางครั้งอาจใช้วิธีการปรับปรุงระบบงานเดิมโดยสอบถามถึงปัญหาของระบบงานเก่าที่ใช้อยู่ว่ามี
ปัญหาอย่างไรบ้าง และต้องการจะให้ระบบใหม่ที่จะใช้นี้มีหน้าตาออกมาอย่างไร การสอบถามข้อมูล
ดังกล่าวจะทาให้ได้โปรแกรมหรือระบบงานที่ตรงตามวัตถุประสงค์มากที่สุด นอกจากนี้เมื่อได้ระบบดังกล่าว
แล้ว อาจต้องนามาทดสอบกับผู้ใช้เหล่านี้อีกครั้ง เพื่อขอรับฟังข้อแนะนารวมถึงการทดสอบปัญหาเบื้องต้น
ซึ่งพอจะสรุปความสัมพันธ์ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้งานได้ดังรูป
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ( User/End User)
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ( Computer Operator/Computer Technician ) โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นบุคลากรที่มีความ
ชานาญทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะ หน้าที่หลักคือ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้สามารถใช้งานได้
ตามปกติ บางครั้งก็เรียกว่า “ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (computer technician)” กลุ่มคนประเภทนี้จะต้องมีทักษะและ
ประสบการณ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็น อย่างดี เพราะการปฏิบัติงานกับผู้ใช้อาจเกิดปัญหาในการใช้งานได้
ตลอดเวลา โดยเฉพาะกับผู้ใช้งานมือใหม่และไม่มีความชานาญเพียงพอ ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางด้าน
ฮาร์ดแวร์ เช่น ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์เกิดขัดข้องในระหว่างการทางานจนไม่สามารถทางานต่อไปได้ หรือปัญหาของระบบ
ซอฟต์แวร์ที่นามาใช้ในองค์กรไม่สามารถทางานตามที่ต้องการได้ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้มักเกิดขึ้นอยู่เสมอ หน่วยงานบางแห่ง
อาจตั้งศูนย์ช่วยเหลือการใช้งานหรือที่เรียกว่า help desk ขึ้นเพื่อคอยช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของระบบให้
ทันท่วงทีและสามารถทางานได้ตามปกติ
นักวิเคราะห์ระบบ ( System Analyst) บุคลากรด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน จะมีหน้าที่วิเคราะห์ความ
ต้องการของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหารของหน่วยงานนั้น ๆ ด้วยว่าต้องการระบบโปรแกรมหรือลักษณะงานแบบไหน อย่างไร
เพื่อจะพัฒนาระบบงานให้ตรงตามความต้องการมากที่สุด หน้าที่ดังกล่าวอาจรวมถึงการออกแบบกระบวนการทางาน
ของระบบโปรแกรมต่าง ๆ ทั้งหมดด้วย ซึ่งมักจะใกล้ชิดกับผู้ใช้งานมากที่สุดเนื่องจากต้องคอยสอบถามความต้องการ
เพื่อวิเคราะห์งานอยู่เสมอ
หน้าที่การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานทางด้านคอมพิวเตอร์ หากเปรียบเทียบแล้วอาจเหมือนกับลักษณะการทางาน
ของสถาปนิกที่ออกแบบอาคารบ้านเรือนนั่นเอง ซึ่งบ้านหรืออาคารแต่ละหลัง จะออกแบบให้ดีได้ก็ต้องไปเก็บข้อมูลหรือ
สอบถามความต้องการของเจ้าของบ้านเสียก่อน ว่าต้องการบ้านสไตล์ไหน มีพื้นที่ใช้สอยมากหรือน้อย รวมถึงขนาดของ
บ้านว่าต้องการหลังใหญ่หรือเล็ก จากนั้นจึงจะนาไปเขียนเป็นแบบแปลนเพื่อให้ผู้รับเหมานาเอาแบบแปลนนั้นไปสร้าง
บ้านตามจินตนาการของเจ้าของบ้านต่อไป เช่นเดียวกับการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานทางคอมพิวเตอร์ ถ้า
ต้องการโปรแกรมที่มีความสมบูรณ์เหมือนกับบ้านตามตัวอย่างที่ยกข้างต้น ก็จะต้องไปสอบถามหรือเก็บข้อมูลของ
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์เสียก่อนว่าระบบงานที่ต้องการให้ออกแบบนั้น จะเอาแบบไหน ต้องการเก็บและใช้ข้อมูลอะไรบ้าง
ปัญหาของระบบงานเก่า ๆ ที่เคยใช้มามีปัญหาอย่างไร และอยากให้ปรับปรุงในส่วนใด เป็นต้น
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
นักเขียนโปรแกรม ( Programmer) เมื่อนักวิเคราะห์ระบบทาการวิเคราะห์ระบบงานเสร็จสิ้น ก็จะส่งต่อมา
ยังผู้ที่ชานาญในเรื่องของการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะเพื่อสร้างระบบงานนั้นให้ออกมาใช้งานได้จริง ๆ เรา
เรียกบุคคลกลุ่มนี้ว่า นักเขียนโปรแกรม หรือ programmer นั่นเอง
โปรแกรมที่มีขนาดเล็กมาก (เหมือนกับการสร้างบ้านหลังเล็ก ๆ( อาจใช้นักเขียนโปรแกรมเพียงไม่กี่คน และ
สร้างเสร็จภายในเวลาไม่กี่วัน แต่หากโปรแกรมมีขนาดที่ใหญ่มาก (เปรียบเทียบได้กับการสร้างบ้าน ตึก หรือ
อาคารขนาดใหญ่( นักเขียนโปรแกรมเพียงคนเดียวอาจไม่เพียงพอสาหรับการเขียนชิ้นงานนั้น หน่วยงานบาง
แห่งจึงต้องมีทีมงานจานวนมากเพื่อรองรับกับการเขียนโปรแกรมดังกล่าว วิธีการเขียนอาจแบ่งกลุ่มโปรแกรม
ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ที่เรียกว่าโมดูล ( module) แล้วกระจายงานออกไปให้กับแต่ละคน จากนั้นจึงจะนาเอา
โมดูลที่ได้กลับมารวมกันเป็นโปรแกรมใหญ่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งช่วยลดเวลาในการเขียนโปรแกรมลงไปได้มาก
นักเขียนโปรแกรมจะอาศัยภาษาคอมพิวเตอร์ตามที่ตนเองถนัด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และความ
ซับซ้อนของลักษณะงานเป็นหลัก เช่น งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์และการคานวณ เป็นต้น
ปกติแล้วจะมีหน้าที่และตาแหน่งเรียกแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เช่น
 Web programmer หรือนักเขียนโปรแกรมบนเว็บไซท์
 Application programmer หรือนักเขียนโปรแกรมสาหรับใช้งานเฉพาะอย่าง
 System programmer หรือนักเขียนโปรแกรมระบบ เป็นต้น
ในกรณีที่นาเอาโปรแกรมหรือระบบงานสาเร็จรูปมาประยุกต์ใช้ นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้รวบรวมข้อมูล
และวางแผนว่าจะนาระบบเข้ามาใช้อย่างไร ใครจะใช้ส่วนไหนของโปรแกรมบ้าง และใช้อย่างไร ส่วนนักเขียน
โปรแกรมอาจมีบาบาทในการแก้ไขเพิ่มเติม โปรแกรมสาเร็จรูปนั้นเท่าที่ทาได้ เช่น ทารายงานที่ต้องการเพิ่ม
หรือเขียนโปรแกรมเชื่อมต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกับระบบอื่น ๆ เป็นต้น
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
วิศวกรซอฟต์แวร์ ( Software Engineer) การสร้างบ้านจาเป็นต้องมีวิศวกรมาควบคุมการก่อสร้างบ้านนั้น ๆ ด้วยว่าสร้าง
ได้ตรงตามมาตรฐานที่ออกแบบไว้หรือไม่ รวมถึงโครงสร้างมีความแข็งแรงทนทานเพียงใด การผลิตซอฟต์แวร์หรือ
โปรแกรมที่ใช้งานก็เช่นเดียวกัน อาจต้องคอยควบคุมด้วยว่าการออกแบบหรือการเขียนโปรแกรมนั้นมีปัญหาด้านใดบ้าง
จะแก้ปัญหานั้นอย่างไร เมื่อสร้างเสร็จแล้วอาจจาเป็นต้องมีการตรวจสอบหรือวัดคุณภาพของโปรแกรมที่เขียนด้วยว่า
เป็นไปตามหลักมาตรฐานการออกแบบมากน้อยเพียงใดตรงตามความต้อง การของลูกค้าหรือไม่ บุคคลที่ทาหน้าที่เช่นนี้
เรียกว่า software engineer หรือ วิศวกรซอฟต์แวร์ ซึ่งทาหน้าที่ในการวิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาอย่างมี
แบบแผนโดยอาศัยหลักการทางวิศวกรรมศาสตร์มาช่วย เช่น วัดค่าความซับซ้อนของซอฟต์แวร์ที่ทาว่าใช้บรรทัดคาสั่ง
(line of code) ในการเขียนโปรแกรมมากน้อยเพียงใด การเขียนโปรแกรมนั้นถูกต้องตามหลักการเขียนโปรแกรมที่ดี
หรือไม่ มีบรรทัดคาสั่งในการเขียนโปรแกรมที่ไม่จาเป็นมากน้อยเพียงใด สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้สามารถวัดและหาคุณภาพของ
ซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาได้ กลุ่มคนที่ทางานทางด้านนี้จะต้องเป็นคนที่มีทักษะและความเข้าใจในการพัฒนาซอฟต์แวร์
มากพอสมควร อาจเคยเป็นนักเขียนโปรแกรมที่พัฒนาระบบซอฟต์แวร์มาก่อนและมีความเชี่ยวชาญเป็นอย่างดี มีทักษะ
ในการเขียนโปรแกรมได้หลาย ๆ ภาษา และสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงทีตั้งแต่ตอนแรก ๆ ของการ
สร้างไปจนสิ้นสุดกระบวนการ นอกจากนั้นต้องเป็นคนที่มีทักษะในการเจรจาประสานงานกับผู้ร่วมงานคนอื่น ๆ ได้เป็น
อย่างดี เพราะโดยหน้าที่แล้วจะเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ผู้ใช้งาน นักวิเคราะห์และ
ออกแบบระบบ รวมถึงนักเขียนโปรแกรมวิศวกรซอฟต์แวร์จะอยู่ในทีมงานพัฒนาซอฟต์แวร์เช่นเดียวกับกลุ่มนักเขียน
โปรแกรมและนักวิเคราะห์ระบบ มักพบเห็นได้กับการผลิตซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น การสร้างระบบปฏิบัติการ การเขียน
โปรแกรม หรือแม้กระทั่งโปรแกรมควบคุมระบบเครื่องจักรของโรงงานขนาดใหญ่ เป็นต้น แต่ในการผลิตซอฟต์แวร์ขนาด
เล็กอาจไม่พบเห็นบุคลากรตาแหน่งนี้ก็ได้
11
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก ( Network Administrator ) หรือผู้ที่มีหน้าที่ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ขององค์กร มักเกี่ยวข้องกับลักษณะงานหนัก ๆ ทางด้านเครือข่ายโดยเฉพาะ เช่น การติดตั้งระบบเครือข่าย
การควบคุมสิทธิ์ของผู้ที่จะใช้งาน การป้องกันการบุกรุกเครือข่าย เป็นต้น
ผู้ทาหน้าที่นี้จะต้องมีความชานาญเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดีและต้องมีทักษะในการ
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที เพราะหากไม่สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เหล่านั้นได้แล้ว อาจส่งผล
เสียหายร้ายแรงต่อองค์กรได้ เช่น เกิดการบุกรุกทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยผู้ไม่ประสงค์ดีพยายามจะ
ลักลอบเข้ามายังระบบคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร ก็ต้องสามารถหาวิธียับยั้งการบุกรุกโจมตีต่าง ๆ นั้นให้ได้
โดยเร็ว ไม่เช่นนั้นแล้วข้อมูลที่เป็นความลับหรือมีความสาคัญกับงานของบริษัทอาจถูกทาลายหรือนาไปใช้
ประโยชน์ในทางที่เสียหายต่อองค์กรได้ อีกกรณีหนึ่งเช่น เมื่อเกิดปัญหาของไวรัสที่แพร่กระจายอยู่ใน
เครือข่ายขององค์กร ผู้ดูแลเน็ตเวิร์กต้องสามารถหาทางแก้ไขปัญหาไม่ให้ไวรัสนั้นแพร่กระจายหรือลดการ
กระจายให้น้อยที่สุด โดยแจ้งวิธีปฏิบัติงานให้ผู้ใช้ในองค์กรทราบว่าควรทาอย่างไร เพื่อไม่ให้เกิดผลเสียหาย
ที่ร้ายแรงต่อการปฏิบัติงานในองค์กร เป็นต้น
12
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
กลุ่มผู้บริหาร
ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ( CIO-Chief Information Office ) สาหรับในหน่วยงาน
ขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อขับเคลื่อนงานธุรกิจในองค์กร อาจมีบุคลากรตาแหน่งที่
มักเรียกว่า CIO (Chief Information Office) ซึ่งเป็นตาแหน่งสูงสุดทางด้านการบริหารงานคอมพิวเตอร์ใน
องค์กรอีกได้ CIO จะทาหน้าที่กาหนดทิศทาง นโยบายและแผนงานทางคอมพิวเตอร์ในองค์กรทั้งหมดว่า
ควรเป็นไปในรูปแบบใด การขยายงานทางด้านธุรกิจขององค์กรที่รวดเร็ว ควรจะมีการปรับ เพิ่ม ลด
องค์ประกอบทางด้านคอมพิวเตอร์ส่วนใดอีกบ้างที่จะทาให้เป็นไปตามเป้าหมายโดยรวมมากที่สุด
ตัวอย่างเช่น มีการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการปฏิบัติงานขององค์กรมาเป็นเวลานานแล้ว ในสถานการณ์
ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วเช่นในปัจจุบัน ถือได้ว่าคอมพิวเตอร์เหล่านั้น “ ตกยุค” ไปแล้ว และคู่แข่งทาง
ธุรกิจได้หันไปใช้เทคโนโลยีทางด้านฮาร์ดแวร์ใหม่ ๆ กันหมด CIO อาจกาหนดนโยบายให้มีการ
เปลี่ยนแปลงใหม่หมดตามคู่แข่งก็ได้ เพื่อให้การดาเนินธุรกิจมีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถแข่งขันกัน
ได้ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ จะมีการกาหนดไว้เป็นแบบแผนอย่างชัดเจน เพื่อให้ง่ายต่อการนาไปปฏิบัติของผู้ที่
เกี่ยวข้องต่อไป สาหรับในองค์กรขนาดเล็กอาจจะไม่มีตาแหน่งนี้เลยก็ได้
13
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ ( Computer Center Manager/Information Technology Manager) เป็น
ผู้จัดการหรือหัวหน้างานทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีขององค์กร มีหน้าที่ดูแลและกากับงานทางด้าน
คอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงานและทิศทางที่ได้วางไว้โดย CIO จากตัวอย่างของการกาหนด
นโยบายในการปรับเปลี่ยนฮาร์ดแวร์ของ CIO ข้างต้น หัวหน้างานคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงก็
ต้องมีหน้าที่ดาเนินการจัดหา จัดซื้อ รวมถึงอาจต้องรื้อระบบเก่านั้นทิ้งหมดและดาเนินการวางระบบ
ฮาร์ดแวร์ใหม่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ CIO กาหนดมา สาหรับบริษัท CIO อาจกาหนดนโยบายเกี่ยวกับ
การขยายงานด้านคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น เพื่อให้บริการได้อย่างทั่วถึง โดยกาหนดให้มีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือ
ผู้ใช้ระบบของบริษัทหรือ help desk ขึ้นเพื่อให้บริการและช่วยเหลือทางด้านเทคนิคตลอด 24 ชั่วโมง หัวหน้า
งานทางด้านคอมพิวเตอร์ก็จะต้องมีหน้าที่หาทีมงานหรือคนที่จะดาเนินการช่วยเหลือผู้ใช้นี้ เพื่อให้นโยบาย
ดังกล่าวเป็นไปตามทิศทางที่ได้วางไว้ โดยอาจประสานงานกับฝ่ายทรัพยากรบุคคลเพื่อประกาศรับทีมงาน
เพิ่มเติมได้ เป็นต้น หน้าที่อื่น ๆ ของบุคคลตาแหน่งนี้อาจต้องจัดเตรียมการบริการฝึกอบรม การให้คาปรึกษา
คาแนะนากับผู้ใช้งานเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ รวมถึงสร้างกฎระเบียบ มาตรฐานใน
การใช้งานคอมพิวเตอร์ชองบริษัทเพื่อใช้งานร่วมกันด้วย เป็นต้น
14
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ข้อมูล
คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่างๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้
และสามารถเรียกเอามาใช้ประโยชน์ได้ในภายหลัง ข้อมูลจึงจาเป็นต้องเป็นข้อมูลที่ดีมีความถูกต้องแม่นยา
สาหรับ
สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนามาใช้ประโยชน์ตาม
จุดประสงค์ สารสนเทศ จึงหมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่
ในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแล
เป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกาหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบ
ขั้นตอนการควบคุม กาหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้
ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ
การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกาหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบ
เดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูล
ซ้าซ้อนเพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล
15
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
กระบวนการแปลงข้อมูล
1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย
1. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้
อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมี
เทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บอยู่เป็นจานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์
การอ่านข้อมูลจากบาร์โค้ด การตรวจใบทะเบียนที่มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่างๆเป็น
วิธีการเก็บข้อมูลเช่นกัน
2. การตรวจสอบข้อมูล มีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาด
ต้องแก้ไขการตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้อนข้อมูล 2คนป้อนข้อมูลชุดเดียวกัน
เข้าคอมพิวเตอร์ แล้วเปรียบเทียบกัน
16
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้
1. การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้
งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัติ
นักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีการแบ่งหมวดสินค้าและบริการ เพื่อ
ความสะดวกในการค้นหา
2. การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข
หรือตัวอักษร หรือเพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การ
จัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการห้องสมุดตามลาดับตัวอักษรการจัดเรียงชื่อ
คนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ทาให้ค้นหาได้ง่าย
3. การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงาน
ย่อ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวน
นักเรียนตามชั้นเรียนแต่ละชั้น
4. การคานวน ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วน ข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไป
คานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณ
ข้อมูลที่เก็บไว้
3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย
การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เช่น
แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้
การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้น
ได้ถูกต้องแม่นยา รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน ทาให้การเรียกค้น
กระทาได้ทันเวลา
การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึง
ควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย
การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่อง
สาคัญและมีบทบาทที่สาคัญยิ่งที่จะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา
17
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
หน่วยวัดความจุข้อมูล
ของระบบคอมพิวเตอร์ เรียงจากหน่วยที่เล็กที่สุด ไปหา หน่วยที่ใหญ่ที่สุด ซึ่ง บิต (Bit) Binary Digit เป็น
หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลที่ใช้อยู่ในคอมพิวเตอร์ และ Coperbyte เป็นหน่วยที่ใหญ่ที่สุด บางคนอาจจะ
สงสัยว่า เมกะไบต์ กิกะไบต์ เทราไบต์ แล้วอะไรต่อไป หรือ หน่วยวัดความจุข้อมูลที่ใหญ่กว่าเทราไบต์
Bit = 1 Binary Digit
Byte = 8 Bit
Kilobyte = 1024 Byte
Megabyte = 1024 Kilobyte
Gigabyte = 1024 Megabyte
Terabyte = 1024 Gigabyte
Petabyte = 1024 Terabyte
Exabyte = 1024 Petabyte
Zettabyte = 1024 Exabyte
Yottabyte = 1024 Zettabyte
Brontobyte = 1024 Yottabyte
Geopbyte = 1024 Brontobyte
Saganbyte = 1024 Geopbyte
Pijabyte = 1024 Saganbyte
Alphabyte = 1024 Pijabyte
18
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
การนาเข้า ข้อมูล( Input data)
เป็นกระบวนการบันทึกข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ การสร้างฐานข้อมูลที่ละเอียด ถูกต้อง เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง
ในการปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ซึ่งจา เป็นต้องมีการประเมินคุณภาพข้อมูล ที่จะนาเข้าสู่
ระบบในเรื่องแหล่งที่มาของข้อมูล วิธีการสารวจข้อมูลมาตราส่วนของแผนที่ ความถูกต้อง ความละเอียด
พื้นที่ที่ข้อมูลครอบคลุมถึงและปีที่จัดทาข้อมูล เพื่อประเมินคุณภาพ และคักเลือกข้อมูลที่จะนาเข้าสู่ระบบ
ฐานข้อมูลหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์มากมายแบ่งเป็นประเภทต่างๆ
ตัวอย่างเช่น
Microphone (ไมโครโฟน(
ไมโครโฟน คือ อุปกรณ์รับเสียงแล้วทาการแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อประมวลผลในเครื่องขยาย
เสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่นๆ ไมโครโฟนจะประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็กเป็นหลัก เมื่อเสียงกระทบ
ตัวรับในไมโครโฟนจะทาให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็ก จึงทาให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็น
หลักการทางานตรงข้ามกับลาโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้รับเสียงพูดหรือเสียงร้องเพลง
Touch screen (ทัชสกรีน(
ทัชสกรีน คือ จอภาพแบบสัมผัส ซึ่งเป็นจอภาพแบบพิเศษที่เป็นทั้งอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล และ
อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล มักนาไปใช้กับธุรกิจร้านค้า โรงแรม สายการบิน พิพิธภัณฑ์ สถานบันเทิงคาราโอเกะ
รวมถึงธุรกิจธนาคาร เช่น เครื่องเอทีเอ็ม ซึ่งผู้ใช้งานเพียงแต่นานิ้วหรือใช้แท่งคล้ายดินสอหรือปากกา แตะ/
กดลงบนตาแหน่งที่ต้องการบนจอภาพ
19
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ
ระบบคอมพิวเตอร์ในการทางานจริงจะมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่างองค์ประกอบแต่
ละส่วนอยู่เสมอ กิจกรรมความสัมพันธ์ต่างๆจะเริ่มตั้งแต่การนาข้อมูลเข้า(input)จนถึงขั้นตอนการแสดงผล
ลัพธ์ที่ได้(output) องค์ประกอบต่างๆไม่ว่าจะเป็น ข้อมูล บุคลากร ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ จะมี
ความสัมพันธ์และทางานเกี่ยวข้องกันทั้งหมด
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปตามแนวสถาปัตยกรรมของจอห์น วอน นิวแมนน์ ที่เน้นให้มีการ
ติดตั้งชุดคาสั่งโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องได้นั้น(stored program concept) มีหลักการทางานซึ่ง
ประกอบด้วยหน่วยที่เกี่ยวข้องแบ่งออกได้เป็น 5 หน่วยดั้งนี้
หน่วยประผลกลาง(Central Processing Unit)
หน่วยความจาหลัก (Primary Storage)
หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage)
หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output Unit)
ทางเดินของระบบ (System Bus)
หน่วยประมวลผลกลาง
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ซีพียู (Central Processing Unit: CPU) หน่วยประมวลผลกลางเป็นส่วนที่สาคัญของ
คอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากจนถึงขั้นสามารถผลิต
วงจรหน่วยประมวลผลกลางทั้งวงจรไว้ในชิพเพียงตัวเดียวได้ ชิพหน่วยประมวลผลกลางนี้มีชื่อเรียกว่า ไมโคร
โพรเซสเซอร์
20
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่เป็นแหล่งเก็บข้อมูลการทางานของคอมพิวเตอร์ ซึ่งรวมทั้งตัว
คาสั่งในโปรแกรมและข้อมูลต่างๆ ที่จะใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะกาลังทางานอยู่ แบ่งออกเป็น 2
ประเภท ดังนี้
1. แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลสาหรับใช้งาน
ทั่วไป การอ้างอิงตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆ เพื่อการเขียนและการอ่านจะกระทาแบบการเข้าถึง
โดยสุ่มคือ เรียกไปที่ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจานี้เรียกว่า แรม หน่วยความจาประเภท
นี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มีกระแสไฟฟ้ายังจ่ายให้วงจร หากไฟฟ้าดับเมื่อใด ข้อมูลก็จะสูญหาย
ทันที
เครื่องพีซีคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ ถ้ามีหน่วยความจาแรมมากๆ จะทาให้สามารถใช้งาน
โปรแกรมที่มีขนาดใหญ่ๆ ได้ดีด้วย หน่วยความจาที่นิยมในปัจจุบันจะประมาณ 32, 64, 128, 256
เมกะไบต์ เป็นต้น
้
2. รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิง
ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึง โดยสุ่มหน่วยความจาประเภทนี้มีไว้เพื่อบรรจุโปรแกรมสาคัญ
บางอย่าง เพื่อว่าเมื่อเปิดเครื่องมา ซีพียูจะเริ่มต้นทางานได้ทันทีข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้ในรอม
จะถูกบันทึกมาก่อนแล้ว ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลได้ แต่ไม่สามารถเขียนข้อมูลใดๆ ลงไปได้ซึ่งข้อมูล
หรือโปรแกรมที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิดเครื่องข้อมูลหรือโปรแกรมก็จะไม่ถูกลบไป
21
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
หน่วยความจารอง
หน่วยความจารองหรือหน่วยเก็บข้อมูล (Storage) มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
ไว้ และสามารถนากลับมาใช้งานได้อีกตามต้องการ บางครั้งเรียกว่า หน่วยความจาสารอง
(Secondary Memory) ประกอบด้วย
1. แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มีเครื่องขับแผ่น
บันทึกอย่างน้อยหนึ่งตัว แผ่นบันทึกที่ใช้ในปัจจุบันมีขนาด 3.5 นิ้ว ตัวแผ่นบันทึกเป็นแผ่นบางฉาบ
ผิวด้วยสารแม่เหล็กอยู่ในกรอบพลาสติกแข็ง เพื่อป้องกันการขีดข่วน
การเก็บข้อมูลจะทาโดยบันทึกลงไปที่ผิวของแผ่น ปกติใช้ได้ทั้งสองด้าน หัวอ่านของเครื่องขับ
จึงมีสองหัว แผ่นจะหมุนด้วยความเร็วคงที่ หัวอ่านวิ่งเข้าออกเพื่ออ่านข้อมูลในตาแหน่งที่อยู่ที่
ต้องการ ผิวที่ใช้เก็บข้อมูลจะแบ่งเป็นวงเรียกว่า แทร็ก (track) แต่ละแทร็กจะแบ่งเป็นช่องเก็บข้อมูล
เรียกว่า เซกเตอร์ (sector) แผ่นบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว มีความจุ 1.44 เมกะไบต์
2. ฮาร์ดดิสก์ (harddisk) จะประกอบด้วยแผ่นบันทึกแบบแข็งที่เคลือบสารแม่เหล็กหลาย
แผ่นเรียงซ้อนกัน หัวอ่านของเครื่องขับจะมีหลายหัว ในขณะที่แผ่นบันทึกแต่ละแผ่นหมุน หัวอ่านจะ
เคลื่อนที่เข้าออก
เพื่ออ่านข้อมูลที่เก็บบนพื้นผิวแผ่น การเก็บข้อมูลในแต่ละแผ่นจะเป็นวง เรียกแต่ละวงของทุกแผ่นว่า
ไซลินเดอร์ (cylinder) แต่ละไซลินเดอร์จะแบ่งเป็นเซกเตอร์ แต่ละเซกเตอร์เก็บข้อมูลเป็นชุดๆ
ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมาก ขนาดของฮาร์ดดิสก์มีความจุเป็น
กิกะไบต์
เช่น ฮาร์ดดิสก์ความจุ 15 กิกะไบต์ การเขียนอ่านข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์จะกระทาเป็นเซกเตอร์
และเขียนอ่านได้เร็วมาก เวลาที่ใช้ในการวัดการเข้าถึงข้อมูลมีหน่วยเป็นมิลลิวินาที
22
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
3. เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้กันมานานแล้ว ลักษณะของ
เทปเป็นแถบสายพลาสติก
เคลือบด้วยสารแม่เหล็กเหมือนเทปบันทึกเสียง เทปแม่เหล็กใช้สาหรับเก็บข้อมูลจานวนมาก มีการ
จัดเก็บและเรียกค้นข้อมูลแบบเป็นลาดับ เพราะฉะนั้นการเข้าถึงก็จะเป็นแบบการเข้าถึงโดย
ลาดับ (sequential access)
เช่น ถ้าต้องการหาข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่ 5 บนเทป เราจะต้องอ่านข้อมูลลาดับต้นๆ ก่อนจนถึงข้อมูล
ที่เราต้องการ
ส่วนการประยุกต์นั้นเน้นสาหรับใช้สารองข้อมูลเพื่อความมั่นใจ เช่น ถ้าฮาร์ดดิสก์เสียหาย ข้อมูลใน
ฮาร์ดดิสก์อาจสูญหายได้ จึงจาเป็นต้องเก็บสารองข้อมูลไว้
4. แผ่นซีดี (Compact Disk : CD ) วิวัฒนาการของการใช้หน่วยความจารองได้ก้าวหน้า
ขึ้นเป็นลาดับ ปัจจุบันได้มีการประดิษฐ์แผ่นซีดี
ใช้ในการเก็บข้อมูลจานวนมาก การเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดีใช้หลักการทางแสง แผ่นซีดีที่อ่านได้อย่าง
เดียว เรียกกันว่า
ซีดีรอม (CD- ROM) ข้อมูลที่บันทึกจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิตเหมือนการบันทึกเพลงหรือ
ภาพยนตร์
ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ ราคาถูก จุข้อมูลได้มาก สามารถเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้มากกว่า 750 เม
กะไบต์ต่อแผ่น
แผ่นซีดีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 นิ้ว ในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตแผ่นซีดีได้ก้าวหน้าขึ้น
จนสามารถเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดีได้เหมือนฮาร์ดดิสก์ เรียกว่า ออปติคัลดิสก์ (optical disk)
23
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
หน่วยรับข้อมูล หรือ หน่วยนาเข้าข้อมูล เป็นหน่วยเริ่มต้นในการทางานของคอมพิวเตอร์ เพราะ มี
หน้าที่ในการนาข้อมูลหรือคาสั่งต่าง ๆ เข้าไปในระบบการทางานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์รับข้อมูลของหน่วยรับข้อมูล มีหลายชนิด เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน จอยสติก
จอสัมผัส แต่ทุกชนิดทาหน้าที่ รับข้อมูลหรือคาสั่ง เข้าสู่ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ เหมือนกัน
อุปกรณ์ของหน่วยรับข้อมูล แต่ละชนิดมีวิธีการนาเข้าข้อมูล หรือรับคาสั่ง ตลอดจนลักษณะของ
รูปแบบข้อมูลที่นาเข้าต่างกัน
หน้าที่สาคัญ คือ เป็นอุปกรณ์ ที่รับข้อมูล หรือคาสั่ง เข้าสู่ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ หน่วย
รับข้อมูล จึงเป็นหน่วยทางานที่ช่วยให้ มนุษย์ สามารถติดต่อ สั่งงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ได้
หน่วยแสดงผล (Output Unit)
ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ โดยมากจะแบ่งออกเป็น 2ประเภท หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft
Copy) หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทางานหรือเลิกใช้แล้วผล
นั้นก็จะหายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้ ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูล
ในหน่วยเก็บข้อมูลสารอง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ในภายหลัง ตัวอย่างเช่น
24
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
จอภาพ
เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ ซึ่งเทคโนโลยีจอภาพใน
ปัจจุบันคงจะเป็น จอภาพแบบ Trinitron และ Flat Screen(จอแบน (ไม่ว่าจะเป็น CRT(moniter ทั่วไป (
หรือ LCD (จอที่มีลักษณะ
แบนเรียบทั้งตัวเครื่อง (จอแบนจะมีประสิทธิภาพ ในการแสดงผลมากกว่าจอปกติ เพราะสามารถลดแสดง
สะท้อนได้ดีกว่าทาให้ไม่เกิดอาการเมื่อยล้า และปวดตา
เมื่อต้องทางานนาน ๆ แต่ ราคาของจอแบนยังมีราคาสูงกว่า จอปกติพอสมควร
ทาให้ยังไม่เป็น ที่นิยมมากนัก แต่ในอนาคตอันใกล้จอแบนคงจะมีราคาที่ถูกกว่านี้
และเป็นมาตรฐานของจอภาพคอมพิวเตอร์ในอนาคต
25
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ทางเดินของระบบ (system bus)
การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ ถ้าเปรียบเทียบกับระบบโครงสร้างร่างกายของมนุษย์เราน่าจะ
เปรียบเทียบ
ได้ง่ายและเห็นภาพชัดเจน เพราะอย่างน้อยคนเราส่วนใหญ่คงจะพอรู้ระบบโครงสร้างการทางานของ
ร่างกายของเราเอง
อยู่บ้างไม่มากก็น้อยดังนั้นระบบการทางาน ของบัสก็จะคล้ายกับเส้นเลือดในร่างกายของมนุษย์นั่นเอง
สาหรับทาหน้าส่งถ่ายกระแสเลือดไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย ซึ่งกระแสเลือดในระบบ
คอมพิวเตอร์ก ็คือ
ข้อมูล (Data) นั่นเองบัส คือ ทางเดิน หรือ ช่องทางระหว่างอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร
ภายในคอมพิวเตอร์ บัสที่ถูกเรียกเฉพาะตามวัตถุประสงค์การใช้งานมีตัวอย่างดังนี้
ี้ „ Processor Bus
„ System Bus
„ Frontside or Gunning Transceiver Logic plus (GTL+) Bus
„ Main Memory Bus
„ Host Bus
„ Local Bus
„ Internal Bus
„ External Bus
26
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ส่วนประกอบของ System Bus มีดังนี้
„ Address Bus
„ Data Bus
„ Control Bus
แสดงโครงสร้างของระบบบัสซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน ดังต่อไปนี้
แอดเดรสบัส (Address Bus) ใช้สาหรับ
-ถ่ายโอนต้นทาง (Source) และปลายทาง (Distination) ของการส่งข้อมูลบน Data Bus
-ชี้ตาแหน่งของหน่วยความจาที่ระบุโดย Microprocessor, Bus Masters หรือ Direct Memory Access
(DMA) Controller
ดาต้าบัส (Data Bus) คือทางเดินสาหรับรับ-ส่งข้อมูลระหว่างโพรเซสเซอร์ (Processor) กับหน่วยความจา
(Memory) หรือ หน่วยความจากับอุปกรณ์อินพุทเอาท์พุท (I/O)
คอนโทรลบัส (Control Bus) คือทางเดินสาหรับสัญญาณควบคุมการทางานของส่วนต่างๆระหว่าง
โพรเซสเซอร์กับหน่วยความจาและอุปกรณ์อินพุท
เอาท์พุท ตัวอย่างเช่น
„W/R - Write/Read
„IRQ - Interrupt Requests
„BCLK - Bus Clock
„ DRQ - DMA Requests

More Related Content

What's hot

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Yu Maneeploypeth
 
Work3 48
Work3 48Work3 48
Work3 48
Apich Chaya
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
IT-work3-20
IT-work3-20IT-work3-20
IT-work3-20
yokn
 
Work3-04
Work3-04Work3-04
Work3-04
Mind Morimin
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
pattanan sabumoung
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
SittichaiSppd
 
Software
SoftwareSoftware
Software
Tay Chaloeykrai
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
Bhisut Boonyen
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
SittichaiSppd
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
Js unit 1
Js unit 1Js unit 1
Js unit 1
the pooh
 
Work3-43
Work3-43Work3-43
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Krusine soyo
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
Tieno Karan
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงจีระภา บุญช่วย
 

What's hot (20)

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
Work3 48
Work3 48Work3 48
Work3 48
 
Lesson1 devenlopement-program
Lesson1 devenlopement-programLesson1 devenlopement-program
Lesson1 devenlopement-program
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
IT-work3-20
IT-work3-20IT-work3-20
IT-work3-20
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Work3-04
Work3-04Work3-04
Work3-04
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Js unit 1
Js unit 1Js unit 1
Js unit 1
 
Work3-43
Work3-43Work3-43
Work3-43
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
องค์ประกอบด้านซอฟต์แวร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุงคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ปรับปรุง
 

Similar to IT-2-55

เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1Kriangx Ch
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
Software
SoftwareSoftware
Softwaresa
 
Work3-33
Work3-33Work3-33
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
เผ่า พันธโคตร
 
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศMameawjung ZaZa
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
ThanThai Sangwong
 
iam
iamiam
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Radompon.com
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Thanawut Rattanadon
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
สราวุฒิ จบศรี
 
Whatiscomputer
WhatiscomputerWhatiscomputer
Whatiscomputer
Krupreecha Krubaannok
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
tee0533
 

Similar to IT-2-55 (20)

Lab
LabLab
Lab
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
1.1 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Work3-33
Work3-33Work3-33
Work3-33
 
Ch04 slide
Ch04 slideCh04 slide
Ch04 slide
 
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
iam
iamiam
iam
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสารเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อการสื่อสาร
 
Whatiscomputer
WhatiscomputerWhatiscomputer
Whatiscomputer
 
2p
2p2p
2p
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
1094876837 unit2
1094876837 unit21094876837 unit2
1094876837 unit2
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 

Recently uploaded (6)

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 

IT-2-55

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved COMPUTER บทที่ 2 องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ กชกร สุธารักษนนท์ ม.6/1 เลขที่ 55
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved HARDWARE ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ที่เราสามารถ มองเห็นและสัมผัสได้ เช่น ตัวเครื่อง จอภาพ คีย์บอร์ด และเมาส์ เป็นต้น เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล โดยทั่วไปจะมีฮาร์ดแวร์หลักๆได้แก่ 1. ตัวเครื่อง (Case) ทาหน้าที่ในส่วนของการประมวลผลข้อมูลที่ได้รับมาจากอุปกรณ์นาเข้าต่างๆ ซึ่งภายใน ตัวเครื่องจะมีอุปกรณ์หลัก ได้แก่ แผงวงจรหลัก หม้อแปลงไฟฟ้า ซีพียู ฮาร์ดดิสก์ หน่วยความจา การ์ดแสดงผล การ์ดเสียง เป็นต้น 2. จอภาพ (Monitor) ทาหน้าที่แสดงผลข้อความ รูปภาพ 3. ดิสก์ไดร์ฟ (Disk drive) เป็นอุปกรณ์อ่าน-เขียนข้อมูลบนดิสก์เก็ต 4. คีย์บอร์ด (Keyboard) ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ 5. เม้าส์ (Mouse) เป็นส่วนที่ใช้สั่งงานด้วยการชี้และเลือกสิ่งต่างๆที่แสดงอยู่บนจอภาพ 6. ลาโพง (Speaker) เป็นส่วนที่ใช้แสดงผลที่เป็นเสียง
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved Software เป็นองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ที่เราไม่สามารถสัมผัสจับต้องได้โดยตรง เป็นชุดคาสั่งหรือ โปรแกรม (Program) ที่เขียนขึ้นเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้งาน กับคอมพิวเตอร์ให้สามารถเข้าใจกันได้ ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software หรือ Operating Software : OS) หมายถึงโปรแกรมที่ทาหน้าที่ประสานการทางาน ติดต่อการทางาน ระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์ ประยุกต์เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้ Software ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทาหน้าที่ในการจัดการ ระบบ ดูแลรักษา เครื่อง การแปลภาษาระดับต่าหรือระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเพื่อให้เครื่องอ่านได้เข้าใจซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งได้ 4 ชนิด ดังนี้ 1.1 ระบบปฏิบัติการ (Operating System) หมายถึง ชุดโปรแกรมที่อยู่ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ประยุกต์มีหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และสนับสนุนคาสั่งสาหรับควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ ให้กับซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น Windows XP , DOS , Linux , Mac OS X 1.2 ยูทิลิตี้( Utility Program) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ทาให้ เครื่องทางานง่ายขึ้นเร็วขึ้น และการป้องกันการรบกวนโดยโปรแกรมที่ไม่พึงประสงค์ เช่น โปรแกรมป้องกันไวรัส , โปรแกรม Defrag เพื่อจัดเรียงข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์ใหม่ ทาให้การอ่านข้อมูลเร็วขึ้น , โปรแกรมยกเลิกการติดตั้ง โปรแกรม Uninstall Program , โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (WinZip-WinRAR)เพื่อทาให้ไฟล์มีขนาดเล็กลง ,โปรแกรม การสารองข้อมูล(Backup Data) 1.3 ดีไวซ์ไดเวอร์( Device Driver หรือ Driver) เป็นโปรแกรมที่ทาหน้าที่ติดต่อกับคอมพิวเตอร์ในส่วนการ รับเข้าและการส่งออก ของแต่ละอุปกรณ์ เช่น เมื่อเราซื้อกล้องวีดีโอมาใหม่และต้องการนาเอาวีดีโอที่ถ่ายเสร็จ นาไปตัดต่อที่คอมพิวเตอร์ ก็ต้องติดตั้งไดเวอร์ หรือโปรแกรมที่ติดมากับกล้อง ทาการติดตั้งที่เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักและสามารถรับข้อมูลเข้าและส่งข้อมูลออกได้ โดยปกติโปรแกรม windows ที่เรามีอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีไดเวอร์ติดตั้งมาให้แล้วโดยเราไม่ต้องทา การติดตั้งไดเวอร์เอง เช่น ไดเวอร์สาหรับเมาส์ ,ไดเวอร์คีย์บอร์ด, ไดเวอร์สาหรับการใช้ USB Port , ไดเวอร์ เครื่องพิมพ์ แต่ถ้าอุปกรณ์ใดไม่สามารถใช้งานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ก็ต้องหาไดเวอร์มาติดตั้งเพื่อให้ สามารถใช้งานได้ ซึ่งต้องเป็นไดเวอร์ที่พัฒนามาของแต่ละบริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ 1.4 ตัวแปลภาษา( Language Translator) คือโปรแกรมที่ทาหน้าที่แปลภาษาระดับต่าหรือระดับสูงเพื่อให้ เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจว่าต้องการให้ทาอะไร เช่น เมื่อโปรแกรมเมอร์ได้เขียนโปรแกรมเสร็จโดยเขียนในลักษณะ ภาษาระดับต่า (Assenbly) หรือภาษาระดับสูง (โปรแกรมภาษา C) เสร็จก็ต้องมีตัวแปลภาษาเพื่อให้เครื่อง คอมพิวเตอร์อ่านเข้าใจ เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์จะเข้าใจเฉพาะตัวเลข 0 กับ ตัวเลข 1 เท่านั้น
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นโปรแกรมที่ใช้สาหรับทางานต่าง ตามที่ต้องการ เช่น การทางานเอกสาร งาน กราฟิก งานนาเสนอ หรือเป็น Software สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมงานทะเบียน โปรแกรมการ ให้บริการเว็บ โปรแกรมงานด้านธนาคาร ซอฟต์แวร์ประยุกต์แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน เป็น Software ที่ใช้สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น Software สาหรับงานธนาคารการฝากถอนเงิน Software สาหรับงานทะเบียนนักเรียน ซอฟต์แวร์คิดภาษี ซอฟต์แวร์ การให้บริการร้าน Seven ฯลฯ 2.2 ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้สาหรับงานทั่วไป โดยในซอฟต์แวร์ 1 ตัวมี ความสามารถในการทางานได้หลายอย่าง เช่น ซอฟต์แวร์งานด้านเอกสาร (Microsoft Word ) มี ความสามารถในการสร้างงานเอกสารต่าง ๆ จัดทาเอกสารรายงาน จัดทาแผ่นพับ จัดทาหนังสือเวียน จัดทา สื่อสิ่งพิมพ์
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved บุคลากร หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงานเพื่อให้ คอมพิวเตอร์ทางานตามที่ต้องการ แบ่งออกได้ 4 ระดับ ดังนี้ 1. ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน 2. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ที่ศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่และทาการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้ คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผู่เขียนโปรแกรมให้กับระบบงาน 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผัง ที่นักวิเคราะห์ระบบได้เขียนไว้ 4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ทั่วไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวิธีการใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมที่มี อยู่สามารถทางานได้ตามที่ต้องการ เนื่องจากเป็นผู้กาหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสาคัญในอันที่จะทาให้ ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคาสั่งและข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกาหนดของมนุษย์ (Peopleware) ทั้งสิ้น
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เป็นผู้ใช้งานระดับต่าสุดซึ่งไม่จาเป็นต้องมีความเชี่ยวชาญมากนักก็สามารถใช้งานได้ โดยศึกษาจากคู่มือ การปฏิบัติงานหรือคู่มือใช้งานโปรแกรมที่นามาใช้ หรืออาจต้องเข้ารับการอบรมบ้างเพื่อให้สามารถใช้งาน ได้ บุคลากรกลุ่มนี้มีจานวนมากที่สุดในหน่วยงาน และลักษณะงานมักเกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ ทั่วไป เช่น งานธุรการสานักงาน งานป้อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสัมพันธ์ (Call center) เป็นต้นในการวาง ระบบงานคอมพิวเตอร์ขององค์กร ผู้ใช้งานถือได้ว่ามีบทบาทที่สาคัญมาก เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการใช้งาน โดยตรง ซึ่งผู้ทาหน้าที่ออกแบบและวางระบบ เช่น นักวิเคราะห์ระบบ หรือ system analyst จาเป็นต้องมี การสอบถามความต้องการ (requirement) ในการใช้งานเบื้องต้นของกลุ่มผู้ใช้งานเหล่านี้ด้วย โดยอาจใช้ วิธีการสัมภาษณ์ลักษณะงานที่ปฏิบัติอยู่ในปัจจุบัน รวมถึงออกแบบสารวจความต้องการของระบบที่อยาก ได้ ซึ่งในบางครั้งอาจใช้วิธีการปรับปรุงระบบงานเดิมโดยสอบถามถึงปัญหาของระบบงานเก่าที่ใช้อยู่ว่ามี ปัญหาอย่างไรบ้าง และต้องการจะให้ระบบใหม่ที่จะใช้นี้มีหน้าตาออกมาอย่างไร การสอบถามข้อมูล ดังกล่าวจะทาให้ได้โปรแกรมหรือระบบงานที่ตรงตามวัตถุประสงค์มากที่สุด นอกจากนี้เมื่อได้ระบบดังกล่าว แล้ว อาจต้องนามาทดสอบกับผู้ใช้เหล่านี้อีกครั้ง เพื่อขอรับฟังข้อแนะนารวมถึงการทดสอบปัญหาเบื้องต้น ซึ่งพอจะสรุปความสัมพันธ์ระหว่างนักวิเคราะห์ระบบกับผู้ใช้งานได้ดังรูป ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ( User/End User)
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ( Computer Operator/Computer Technician ) โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นบุคลากรที่มีความ ชานาญทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะ หน้าที่หลักคือ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้สามารถใช้งานได้ ตามปกติ บางครั้งก็เรียกว่า “ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (computer technician)” กลุ่มคนประเภทนี้จะต้องมีทักษะและ ประสบการณ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็น อย่างดี เพราะการปฏิบัติงานกับผู้ใช้อาจเกิดปัญหาในการใช้งานได้ ตลอดเวลา โดยเฉพาะกับผู้ใช้งานมือใหม่และไม่มีความชานาญเพียงพอ ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางด้าน ฮาร์ดแวร์ เช่น ตัวเครื่องคอมพิวเตอร์เกิดขัดข้องในระหว่างการทางานจนไม่สามารถทางานต่อไปได้ หรือปัญหาของระบบ ซอฟต์แวร์ที่นามาใช้ในองค์กรไม่สามารถทางานตามที่ต้องการได้ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้มักเกิดขึ้นอยู่เสมอ หน่วยงานบางแห่ง อาจตั้งศูนย์ช่วยเหลือการใช้งานหรือที่เรียกว่า help desk ขึ้นเพื่อคอยช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของระบบให้ ทันท่วงทีและสามารถทางานได้ตามปกติ นักวิเคราะห์ระบบ ( System Analyst) บุคลากรด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน จะมีหน้าที่วิเคราะห์ความ ต้องการของผู้ใช้รวมไปถึงผู้บริหารของหน่วยงานนั้น ๆ ด้วยว่าต้องการระบบโปรแกรมหรือลักษณะงานแบบไหน อย่างไร เพื่อจะพัฒนาระบบงานให้ตรงตามความต้องการมากที่สุด หน้าที่ดังกล่าวอาจรวมถึงการออกแบบกระบวนการทางาน ของระบบโปรแกรมต่าง ๆ ทั้งหมดด้วย ซึ่งมักจะใกล้ชิดกับผู้ใช้งานมากที่สุดเนื่องจากต้องคอยสอบถามความต้องการ เพื่อวิเคราะห์งานอยู่เสมอ หน้าที่การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานทางด้านคอมพิวเตอร์ หากเปรียบเทียบแล้วอาจเหมือนกับลักษณะการทางาน ของสถาปนิกที่ออกแบบอาคารบ้านเรือนนั่นเอง ซึ่งบ้านหรืออาคารแต่ละหลัง จะออกแบบให้ดีได้ก็ต้องไปเก็บข้อมูลหรือ สอบถามความต้องการของเจ้าของบ้านเสียก่อน ว่าต้องการบ้านสไตล์ไหน มีพื้นที่ใช้สอยมากหรือน้อย รวมถึงขนาดของ บ้านว่าต้องการหลังใหญ่หรือเล็ก จากนั้นจึงจะนาไปเขียนเป็นแบบแปลนเพื่อให้ผู้รับเหมานาเอาแบบแปลนนั้นไปสร้าง บ้านตามจินตนาการของเจ้าของบ้านต่อไป เช่นเดียวกับการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานทางคอมพิวเตอร์ ถ้า ต้องการโปรแกรมที่มีความสมบูรณ์เหมือนกับบ้านตามตัวอย่างที่ยกข้างต้น ก็จะต้องไปสอบถามหรือเก็บข้อมูลของ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์เสียก่อนว่าระบบงานที่ต้องการให้ออกแบบนั้น จะเอาแบบไหน ต้องการเก็บและใช้ข้อมูลอะไรบ้าง ปัญหาของระบบงานเก่า ๆ ที่เคยใช้มามีปัญหาอย่างไร และอยากให้ปรับปรุงในส่วนใด เป็นต้น
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved นักเขียนโปรแกรม ( Programmer) เมื่อนักวิเคราะห์ระบบทาการวิเคราะห์ระบบงานเสร็จสิ้น ก็จะส่งต่อมา ยังผู้ที่ชานาญในเรื่องของการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะเพื่อสร้างระบบงานนั้นให้ออกมาใช้งานได้จริง ๆ เรา เรียกบุคคลกลุ่มนี้ว่า นักเขียนโปรแกรม หรือ programmer นั่นเอง โปรแกรมที่มีขนาดเล็กมาก (เหมือนกับการสร้างบ้านหลังเล็ก ๆ( อาจใช้นักเขียนโปรแกรมเพียงไม่กี่คน และ สร้างเสร็จภายในเวลาไม่กี่วัน แต่หากโปรแกรมมีขนาดที่ใหญ่มาก (เปรียบเทียบได้กับการสร้างบ้าน ตึก หรือ อาคารขนาดใหญ่( นักเขียนโปรแกรมเพียงคนเดียวอาจไม่เพียงพอสาหรับการเขียนชิ้นงานนั้น หน่วยงานบาง แห่งจึงต้องมีทีมงานจานวนมากเพื่อรองรับกับการเขียนโปรแกรมดังกล่าว วิธีการเขียนอาจแบ่งกลุ่มโปรแกรม ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ที่เรียกว่าโมดูล ( module) แล้วกระจายงานออกไปให้กับแต่ละคน จากนั้นจึงจะนาเอา โมดูลที่ได้กลับมารวมกันเป็นโปรแกรมใหญ่อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งช่วยลดเวลาในการเขียนโปรแกรมลงไปได้มาก นักเขียนโปรแกรมจะอาศัยภาษาคอมพิวเตอร์ตามที่ตนเองถนัด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม และความ ซับซ้อนของลักษณะงานเป็นหลัก เช่น งานทางด้านธุรกิจ งานทางด้านวิทยาศาสตร์และการคานวณ เป็นต้น ปกติแล้วจะมีหน้าที่และตาแหน่งเรียกแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับลักษณะงานที่ปฏิบัติ เช่น  Web programmer หรือนักเขียนโปรแกรมบนเว็บไซท์  Application programmer หรือนักเขียนโปรแกรมสาหรับใช้งานเฉพาะอย่าง  System programmer หรือนักเขียนโปรแกรมระบบ เป็นต้น ในกรณีที่นาเอาโปรแกรมหรือระบบงานสาเร็จรูปมาประยุกต์ใช้ นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้รวบรวมข้อมูล และวางแผนว่าจะนาระบบเข้ามาใช้อย่างไร ใครจะใช้ส่วนไหนของโปรแกรมบ้าง และใช้อย่างไร ส่วนนักเขียน โปรแกรมอาจมีบาบาทในการแก้ไขเพิ่มเติม โปรแกรมสาเร็จรูปนั้นเท่าที่ทาได้ เช่น ทารายงานที่ต้องการเพิ่ม หรือเขียนโปรแกรมเชื่อมต่อแลกเปลี่ยนข้อมูลกับระบบอื่น ๆ เป็นต้น
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved วิศวกรซอฟต์แวร์ ( Software Engineer) การสร้างบ้านจาเป็นต้องมีวิศวกรมาควบคุมการก่อสร้างบ้านนั้น ๆ ด้วยว่าสร้าง ได้ตรงตามมาตรฐานที่ออกแบบไว้หรือไม่ รวมถึงโครงสร้างมีความแข็งแรงทนทานเพียงใด การผลิตซอฟต์แวร์หรือ โปรแกรมที่ใช้งานก็เช่นเดียวกัน อาจต้องคอยควบคุมด้วยว่าการออกแบบหรือการเขียนโปรแกรมนั้นมีปัญหาด้านใดบ้าง จะแก้ปัญหานั้นอย่างไร เมื่อสร้างเสร็จแล้วอาจจาเป็นต้องมีการตรวจสอบหรือวัดคุณภาพของโปรแกรมที่เขียนด้วยว่า เป็นไปตามหลักมาตรฐานการออกแบบมากน้อยเพียงใดตรงตามความต้อง การของลูกค้าหรือไม่ บุคคลที่ทาหน้าที่เช่นนี้ เรียกว่า software engineer หรือ วิศวกรซอฟต์แวร์ ซึ่งทาหน้าที่ในการวิเคราะห์และตรวจสอบซอฟต์แวร์ที่พัฒนาอย่างมี แบบแผนโดยอาศัยหลักการทางวิศวกรรมศาสตร์มาช่วย เช่น วัดค่าความซับซ้อนของซอฟต์แวร์ที่ทาว่าใช้บรรทัดคาสั่ง (line of code) ในการเขียนโปรแกรมมากน้อยเพียงใด การเขียนโปรแกรมนั้นถูกต้องตามหลักการเขียนโปรแกรมที่ดี หรือไม่ มีบรรทัดคาสั่งในการเขียนโปรแกรมที่ไม่จาเป็นมากน้อยเพียงใด สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้สามารถวัดและหาคุณภาพของ ซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาได้ กลุ่มคนที่ทางานทางด้านนี้จะต้องเป็นคนที่มีทักษะและความเข้าใจในการพัฒนาซอฟต์แวร์ มากพอสมควร อาจเคยเป็นนักเขียนโปรแกรมที่พัฒนาระบบซอฟต์แวร์มาก่อนและมีความเชี่ยวชาญเป็นอย่างดี มีทักษะ ในการเขียนโปรแกรมได้หลาย ๆ ภาษา และสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงทีตั้งแต่ตอนแรก ๆ ของการ สร้างไปจนสิ้นสุดกระบวนการ นอกจากนั้นต้องเป็นคนที่มีทักษะในการเจรจาประสานงานกับผู้ร่วมงานคนอื่น ๆ ได้เป็น อย่างดี เพราะโดยหน้าที่แล้วจะเกี่ยวข้องกับบุคคลอื่นอยู่ตลอดเวลา ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร ผู้ใช้งาน นักวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ รวมถึงนักเขียนโปรแกรมวิศวกรซอฟต์แวร์จะอยู่ในทีมงานพัฒนาซอฟต์แวร์เช่นเดียวกับกลุ่มนักเขียน โปรแกรมและนักวิเคราะห์ระบบ มักพบเห็นได้กับการผลิตซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ เช่น การสร้างระบบปฏิบัติการ การเขียน โปรแกรม หรือแม้กระทั่งโปรแกรมควบคุมระบบเครื่องจักรของโรงงานขนาดใหญ่ เป็นต้น แต่ในการผลิตซอฟต์แวร์ขนาด เล็กอาจไม่พบเห็นบุคลากรตาแหน่งนี้ก็ได้
  • 11. 11 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก ( Network Administrator ) หรือผู้ที่มีหน้าที่ดูแลและบริหารระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขององค์กร มักเกี่ยวข้องกับลักษณะงานหนัก ๆ ทางด้านเครือข่ายโดยเฉพาะ เช่น การติดตั้งระบบเครือข่าย การควบคุมสิทธิ์ของผู้ที่จะใช้งาน การป้องกันการบุกรุกเครือข่าย เป็นต้น ผู้ทาหน้าที่นี้จะต้องมีความชานาญเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นอย่างดีและต้องมีทักษะในการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างทันท่วงที เพราะหากไม่สามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เหล่านั้นได้แล้ว อาจส่งผล เสียหายร้ายแรงต่อองค์กรได้ เช่น เกิดการบุกรุกทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยผู้ไม่ประสงค์ดีพยายามจะ ลักลอบเข้ามายังระบบคอมพิวเตอร์ภายในองค์กร ก็ต้องสามารถหาวิธียับยั้งการบุกรุกโจมตีต่าง ๆ นั้นให้ได้ โดยเร็ว ไม่เช่นนั้นแล้วข้อมูลที่เป็นความลับหรือมีความสาคัญกับงานของบริษัทอาจถูกทาลายหรือนาไปใช้ ประโยชน์ในทางที่เสียหายต่อองค์กรได้ อีกกรณีหนึ่งเช่น เมื่อเกิดปัญหาของไวรัสที่แพร่กระจายอยู่ใน เครือข่ายขององค์กร ผู้ดูแลเน็ตเวิร์กต้องสามารถหาทางแก้ไขปัญหาไม่ให้ไวรัสนั้นแพร่กระจายหรือลดการ กระจายให้น้อยที่สุด โดยแจ้งวิธีปฏิบัติงานให้ผู้ใช้ในองค์กรทราบว่าควรทาอย่างไร เพื่อไม่ให้เกิดผลเสียหาย ที่ร้ายแรงต่อการปฏิบัติงานในองค์กร เป็นต้น
  • 12. 12 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved กลุ่มผู้บริหาร ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ( CIO-Chief Information Office ) สาหรับในหน่วยงาน ขนาดใหญ่ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เพื่อขับเคลื่อนงานธุรกิจในองค์กร อาจมีบุคลากรตาแหน่งที่ มักเรียกว่า CIO (Chief Information Office) ซึ่งเป็นตาแหน่งสูงสุดทางด้านการบริหารงานคอมพิวเตอร์ใน องค์กรอีกได้ CIO จะทาหน้าที่กาหนดทิศทาง นโยบายและแผนงานทางคอมพิวเตอร์ในองค์กรทั้งหมดว่า ควรเป็นไปในรูปแบบใด การขยายงานทางด้านธุรกิจขององค์กรที่รวดเร็ว ควรจะมีการปรับ เพิ่ม ลด องค์ประกอบทางด้านคอมพิวเตอร์ส่วนใดอีกบ้างที่จะทาให้เป็นไปตามเป้าหมายโดยรวมมากที่สุด ตัวอย่างเช่น มีการใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการปฏิบัติงานขององค์กรมาเป็นเวลานานแล้ว ในสถานการณ์ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วเช่นในปัจจุบัน ถือได้ว่าคอมพิวเตอร์เหล่านั้น “ ตกยุค” ไปแล้ว และคู่แข่งทาง ธุรกิจได้หันไปใช้เทคโนโลยีทางด้านฮาร์ดแวร์ใหม่ ๆ กันหมด CIO อาจกาหนดนโยบายให้มีการ เปลี่ยนแปลงใหม่หมดตามคู่แข่งก็ได้ เพื่อให้การดาเนินธุรกิจมีประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถแข่งขันกัน ได้ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ จะมีการกาหนดไว้เป็นแบบแผนอย่างชัดเจน เพื่อให้ง่ายต่อการนาไปปฏิบัติของผู้ที่ เกี่ยวข้องต่อไป สาหรับในองค์กรขนาดเล็กอาจจะไม่มีตาแหน่งนี้เลยก็ได้
  • 13. 13 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ ( Computer Center Manager/Information Technology Manager) เป็น ผู้จัดการหรือหัวหน้างานทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีขององค์กร มีหน้าที่ดูแลและกากับงานทางด้าน คอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงานและทิศทางที่ได้วางไว้โดย CIO จากตัวอย่างของการกาหนด นโยบายในการปรับเปลี่ยนฮาร์ดแวร์ของ CIO ข้างต้น หัวหน้างานคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงก็ ต้องมีหน้าที่ดาเนินการจัดหา จัดซื้อ รวมถึงอาจต้องรื้อระบบเก่านั้นทิ้งหมดและดาเนินการวางระบบ ฮาร์ดแวร์ใหม่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่ CIO กาหนดมา สาหรับบริษัท CIO อาจกาหนดนโยบายเกี่ยวกับ การขยายงานด้านคอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้น เพื่อให้บริการได้อย่างทั่วถึง โดยกาหนดให้มีการจัดตั้งศูนย์ช่วยเหลือ ผู้ใช้ระบบของบริษัทหรือ help desk ขึ้นเพื่อให้บริการและช่วยเหลือทางด้านเทคนิคตลอด 24 ชั่วโมง หัวหน้า งานทางด้านคอมพิวเตอร์ก็จะต้องมีหน้าที่หาทีมงานหรือคนที่จะดาเนินการช่วยเหลือผู้ใช้นี้ เพื่อให้นโยบาย ดังกล่าวเป็นไปตามทิศทางที่ได้วางไว้ โดยอาจประสานงานกับฝ่ายทรัพยากรบุคคลเพื่อประกาศรับทีมงาน เพิ่มเติมได้ เป็นต้น หน้าที่อื่น ๆ ของบุคคลตาแหน่งนี้อาจต้องจัดเตรียมการบริการฝึกอบรม การให้คาปรึกษา คาแนะนากับผู้ใช้งานเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการใช้งานคอมพิวเตอร์ รวมถึงสร้างกฎระเบียบ มาตรฐานใน การใช้งานคอมพิวเตอร์ชองบริษัทเพื่อใช้งานร่วมกันด้วย เป็นต้น
  • 14. 14 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ เช่น คน สถานที่ สิ่งของต่างๆ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมเอาไว้ และสามารถเรียกเอามาใช้ประโยชน์ได้ในภายหลัง ข้อมูลจึงจาเป็นต้องเป็นข้อมูลที่ดีมีความถูกต้องแม่นยา สาหรับ สารสนเทศ หมายถึง สิ่งที่ได้จากการนาข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนามาใช้ประโยชน์ตาม จุดประสงค์ สารสนเทศ จึงหมายถึง ข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับการใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ ในรูปที่ใช้ได้ สารสนเทศที่ดีต้องมาจากข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศจะต้องมีการควบคุมดูแล เป็นอย่างดี เช่น อาจจะมีการกาหนดให้ผู้ใดบ้างเป็นผู้มีสิทธิ์ใช้ข้อมูลได้ ข้อมูลที่เป็นความลับจะต้องมีระบบ ขั้นตอนการควบคุม กาหนดสิทธิ์ในการแก้ไขหรือการกระทากับข้อมูลว่าจะกระทาได้โดยใครบ้าง นอกจากนี้ ข้อมูลที่เก็บไว้แล้วต้องไม่เกิดการสูญหายหรือถูกทาลายโดยไม่ได้ตั้งใจ การจัดเก็บข้อมูลที่ดี จะต้องมีการกาหนดรูปแบบของข้อมูลให้มีลักษณะง่ายต่อการจัดเก็บ และมีรูปแบบ เดียวกัน ข้อมูลแต่ละชุดควรมีความหมายและมีความเป็นอิสระในตัวเอง นอกจากนี้ไม่ควรมีการเก็บข้อมูล ซ้าซ้อนเพราะจะเป็นการสิ้นเปลืองเนื้อที่เก็บข้อมูล
  • 15. 15 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved กระบวนการแปลงข้อมูล 1.การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้ อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมี เทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บอยู่เป็นจานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากบาร์โค้ด การตรวจใบทะเบียนที่มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่างๆเป็น วิธีการเก็บข้อมูลเช่นกัน 2. การตรวจสอบข้อมูล มีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อ ตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาด ต้องแก้ไขการตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้อนข้อมูล 2คนป้อนข้อมูลชุดเดียวกัน เข้าคอมพิวเตอร์ แล้วเปรียบเทียบกัน
  • 16. 16 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 1. การจัดแบ่งกลุ่มข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้ งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัติ นักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีการแบ่งหมวดสินค้าและบริการ เพื่อ ความสะดวกในการค้นหา 2. การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเพื่อให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การ จัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการห้องสมุดตามลาดับตัวอักษรการจัดเรียงชื่อ คนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ทาให้ค้นหาได้ง่าย 3. การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงาน ย่อ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่น สถิติจานวน นักเรียนตามชั้นเรียนแต่ละชั้น 4. การคานวน ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมาก ข้อมูลบางส่วน ข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไป คานวณเพื่อหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณ ข้อมูลที่เก็บไว้ 3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูลเพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้ การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไป การค้นหาข้อมูลจะต้องค้น ได้ถูกต้องแม่นยา รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน ทาให้การเรียกค้น กระทาได้ทันเวลา การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึง ควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่อง สาคัญและมีบทบาทที่สาคัญยิ่งที่จะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา
  • 17. 17 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved หน่วยวัดความจุข้อมูล ของระบบคอมพิวเตอร์ เรียงจากหน่วยที่เล็กที่สุด ไปหา หน่วยที่ใหญ่ที่สุด ซึ่ง บิต (Bit) Binary Digit เป็น หน่วยที่เล็กที่สุดของข้อมูลที่ใช้อยู่ในคอมพิวเตอร์ และ Coperbyte เป็นหน่วยที่ใหญ่ที่สุด บางคนอาจจะ สงสัยว่า เมกะไบต์ กิกะไบต์ เทราไบต์ แล้วอะไรต่อไป หรือ หน่วยวัดความจุข้อมูลที่ใหญ่กว่าเทราไบต์ Bit = 1 Binary Digit Byte = 8 Bit Kilobyte = 1024 Byte Megabyte = 1024 Kilobyte Gigabyte = 1024 Megabyte Terabyte = 1024 Gigabyte Petabyte = 1024 Terabyte Exabyte = 1024 Petabyte Zettabyte = 1024 Exabyte Yottabyte = 1024 Zettabyte Brontobyte = 1024 Yottabyte Geopbyte = 1024 Brontobyte Saganbyte = 1024 Geopbyte Pijabyte = 1024 Saganbyte Alphabyte = 1024 Pijabyte
  • 18. 18 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การนาเข้า ข้อมูล( Input data) เป็นกระบวนการบันทึกข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ การสร้างฐานข้อมูลที่ละเอียด ถูกต้อง เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง ในการปฏิบัติงานด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ซึ่งจา เป็นต้องมีการประเมินคุณภาพข้อมูล ที่จะนาเข้าสู่ ระบบในเรื่องแหล่งที่มาของข้อมูล วิธีการสารวจข้อมูลมาตราส่วนของแผนที่ ความถูกต้อง ความละเอียด พื้นที่ที่ข้อมูลครอบคลุมถึงและปีที่จัดทาข้อมูล เพื่อประเมินคุณภาพ และคักเลือกข้อมูลที่จะนาเข้าสู่ระบบ ฐานข้อมูลหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่หน่วยความจาหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์มากมายแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ตัวอย่างเช่น Microphone (ไมโครโฟน( ไมโครโฟน คือ อุปกรณ์รับเสียงแล้วทาการแปลงเป็นสัญญาณไฟฟ้า เพื่อประมวลผลในเครื่องขยาย เสียงหรืออุปกรณ์ผสมเสียงอื่นๆ ไมโครโฟนจะประกอบด้วยขดลวดและแม่เหล็กเป็นหลัก เมื่อเสียงกระทบ ตัวรับในไมโครโฟนจะทาให้ขดลวดสั่นสะเทือนตัดกับสนามแม่เหล็ก จึงทาให้เกิดสัญญาณไฟฟ้า ซึ่งเป็น หลักการทางานตรงข้ามกับลาโพง โดยทั่วไปไมโครโฟนใช้รับเสียงพูดหรือเสียงร้องเพลง Touch screen (ทัชสกรีน( ทัชสกรีน คือ จอภาพแบบสัมผัส ซึ่งเป็นจอภาพแบบพิเศษที่เป็นทั้งอุปกรณ์แสดงผลข้อมูล และ อุปกรณ์นาเข้าข้อมูล มักนาไปใช้กับธุรกิจร้านค้า โรงแรม สายการบิน พิพิธภัณฑ์ สถานบันเทิงคาราโอเกะ รวมถึงธุรกิจธนาคาร เช่น เครื่องเอทีเอ็ม ซึ่งผู้ใช้งานเพียงแต่นานิ้วหรือใช้แท่งคล้ายดินสอหรือปากกา แตะ/ กดลงบนตาแหน่งที่ต้องการบนจอภาพ
  • 19. 19 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved กิจกรรมและความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ ระบบคอมพิวเตอร์ในการทางานจริงจะมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่างองค์ประกอบแต่ ละส่วนอยู่เสมอ กิจกรรมความสัมพันธ์ต่างๆจะเริ่มตั้งแต่การนาข้อมูลเข้า(input)จนถึงขั้นตอนการแสดงผล ลัพธ์ที่ได้(output) องค์ประกอบต่างๆไม่ว่าจะเป็น ข้อมูล บุคลากร ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ จะมี ความสัมพันธ์และทางานเกี่ยวข้องกันทั้งหมด พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปตามแนวสถาปัตยกรรมของจอห์น วอน นิวแมนน์ ที่เน้นให้มีการ ติดตั้งชุดคาสั่งโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องได้นั้น(stored program concept) มีหลักการทางานซึ่ง ประกอบด้วยหน่วยที่เกี่ยวข้องแบ่งออกได้เป็น 5 หน่วยดั้งนี้ หน่วยประผลกลาง(Central Processing Unit) หน่วยความจาหลัก (Primary Storage) หน่วยความจาสารอง (Secondary Storage) หน่วยรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output Unit) ทางเดินของระบบ (System Bus) หน่วยประมวลผลกลาง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ซีพียู (Central Processing Unit: CPU) หน่วยประมวลผลกลางเป็นส่วนที่สาคัญของ คอมพิวเตอร์ ปัจจุบันเทคโนโลยีทางด้านการผลิตวงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้ก้าวหน้ามากจนถึงขั้นสามารถผลิต วงจรหน่วยประมวลผลกลางทั้งวงจรไว้ในชิพเพียงตัวเดียวได้ ชิพหน่วยประมวลผลกลางนี้มีชื่อเรียกว่า ไมโคร โพรเซสเซอร์
  • 20. 20 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved หน่วยความจาหลัก มีหน้าที่เป็นแหล่งเก็บข้อมูลการทางานของคอมพิวเตอร์ ซึ่งรวมทั้งตัว คาสั่งในโปรแกรมและข้อมูลต่างๆ ที่จะใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะกาลังทางานอยู่ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. แรม (Random Access Memory : RAM) เป็นหน่วยความจาที่เก็บข้อมูลสาหรับใช้งาน ทั่วไป การอ้างอิงตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูลใดๆ เพื่อการเขียนและการอ่านจะกระทาแบบการเข้าถึง โดยสุ่มคือ เรียกไปที่ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลใดก็ได้ หน่วยความจานี้เรียกว่า แรม หน่วยความจาประเภท นี้จะเก็บข้อมูลไว้ตราบเท่าที่มีกระแสไฟฟ้ายังจ่ายให้วงจร หากไฟฟ้าดับเมื่อใด ข้อมูลก็จะสูญหาย ทันที เครื่องพีซีคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ ถ้ามีหน่วยความจาแรมมากๆ จะทาให้สามารถใช้งาน โปรแกรมที่มีขนาดใหญ่ๆ ได้ดีด้วย หน่วยความจาที่นิยมในปัจจุบันจะประมาณ 32, 64, 128, 256 เมกะไบต์ เป็นต้น ้ 2. รอม (Read Only Memory : ROM) เป็นหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งที่มีการอ้างอิง ตาแหน่งที่อยู่ข้อมูลแบบเข้าถึง โดยสุ่มหน่วยความจาประเภทนี้มีไว้เพื่อบรรจุโปรแกรมสาคัญ บางอย่าง เพื่อว่าเมื่อเปิดเครื่องมา ซีพียูจะเริ่มต้นทางานได้ทันทีข้อมูลหรือโปรแกรมที่เก็บไว้ในรอม จะถูกบันทึกมาก่อนแล้ว ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลได้ แต่ไม่สามารถเขียนข้อมูลใดๆ ลงไปได้ซึ่งข้อมูล หรือโปรแกรมที่อยู่ในรอมนี้จะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิดเครื่องข้อมูลหรือโปรแกรมก็จะไม่ถูกลบไป
  • 21. 21 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved หน่วยความจารอง หน่วยความจารองหรือหน่วยเก็บข้อมูล (Storage) มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ ไว้ และสามารถนากลับมาใช้งานได้อีกตามต้องการ บางครั้งเรียกว่า หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory) ประกอบด้วย 1. แผ่นบันทึก (floppy disk หรือ diskette) ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่มีเครื่องขับแผ่น บันทึกอย่างน้อยหนึ่งตัว แผ่นบันทึกที่ใช้ในปัจจุบันมีขนาด 3.5 นิ้ว ตัวแผ่นบันทึกเป็นแผ่นบางฉาบ ผิวด้วยสารแม่เหล็กอยู่ในกรอบพลาสติกแข็ง เพื่อป้องกันการขีดข่วน การเก็บข้อมูลจะทาโดยบันทึกลงไปที่ผิวของแผ่น ปกติใช้ได้ทั้งสองด้าน หัวอ่านของเครื่องขับ จึงมีสองหัว แผ่นจะหมุนด้วยความเร็วคงที่ หัวอ่านวิ่งเข้าออกเพื่ออ่านข้อมูลในตาแหน่งที่อยู่ที่ ต้องการ ผิวที่ใช้เก็บข้อมูลจะแบ่งเป็นวงเรียกว่า แทร็ก (track) แต่ละแทร็กจะแบ่งเป็นช่องเก็บข้อมูล เรียกว่า เซกเตอร์ (sector) แผ่นบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว มีความจุ 1.44 เมกะไบต์ 2. ฮาร์ดดิสก์ (harddisk) จะประกอบด้วยแผ่นบันทึกแบบแข็งที่เคลือบสารแม่เหล็กหลาย แผ่นเรียงซ้อนกัน หัวอ่านของเครื่องขับจะมีหลายหัว ในขณะที่แผ่นบันทึกแต่ละแผ่นหมุน หัวอ่านจะ เคลื่อนที่เข้าออก เพื่ออ่านข้อมูลที่เก็บบนพื้นผิวแผ่น การเก็บข้อมูลในแต่ละแผ่นจะเป็นวง เรียกแต่ละวงของทุกแผ่นว่า ไซลินเดอร์ (cylinder) แต่ละไซลินเดอร์จะแบ่งเป็นเซกเตอร์ แต่ละเซกเตอร์เก็บข้อมูลเป็นชุดๆ ฮาร์ดดิสก์เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีความจุสูงมาก ขนาดของฮาร์ดดิสก์มีความจุเป็น กิกะไบต์ เช่น ฮาร์ดดิสก์ความจุ 15 กิกะไบต์ การเขียนอ่านข้อมูลบนฮาร์ดดิสก์จะกระทาเป็นเซกเตอร์ และเขียนอ่านได้เร็วมาก เวลาที่ใช้ในการวัดการเข้าถึงข้อมูลมีหน่วยเป็นมิลลิวินาที
  • 22. 22 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 3. เทปแม่เหล็ก (magnetic tape) เป็นอุปกรณ์ที่มีการใช้กันมานานแล้ว ลักษณะของ เทปเป็นแถบสายพลาสติก เคลือบด้วยสารแม่เหล็กเหมือนเทปบันทึกเสียง เทปแม่เหล็กใช้สาหรับเก็บข้อมูลจานวนมาก มีการ จัดเก็บและเรียกค้นข้อมูลแบบเป็นลาดับ เพราะฉะนั้นการเข้าถึงก็จะเป็นแบบการเข้าถึงโดย ลาดับ (sequential access) เช่น ถ้าต้องการหาข้อมูลที่อยู่ในลาดับที่ 5 บนเทป เราจะต้องอ่านข้อมูลลาดับต้นๆ ก่อนจนถึงข้อมูล ที่เราต้องการ ส่วนการประยุกต์นั้นเน้นสาหรับใช้สารองข้อมูลเพื่อความมั่นใจ เช่น ถ้าฮาร์ดดิสก์เสียหาย ข้อมูลใน ฮาร์ดดิสก์อาจสูญหายได้ จึงจาเป็นต้องเก็บสารองข้อมูลไว้ 4. แผ่นซีดี (Compact Disk : CD ) วิวัฒนาการของการใช้หน่วยความจารองได้ก้าวหน้า ขึ้นเป็นลาดับ ปัจจุบันได้มีการประดิษฐ์แผ่นซีดี ใช้ในการเก็บข้อมูลจานวนมาก การเก็บข้อมูลบนแผ่นซีดีใช้หลักการทางแสง แผ่นซีดีที่อ่านได้อย่าง เดียว เรียกกันว่า ซีดีรอม (CD- ROM) ข้อมูลที่บันทึกจะถูกบันทึกมาจากโรงงานผู้ผลิตเหมือนการบันทึกเพลงหรือ ภาพยนตร์ ข้อเด่นของแผ่นซีดีคือ ราคาถูก จุข้อมูลได้มาก สามารถเก็บข้อมูลหรือโปรแกรมได้มากกว่า 750 เม กะไบต์ต่อแผ่น แผ่นซีดีมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 นิ้ว ในปัจจุบันเทคโนโลยีการผลิตแผ่นซีดีได้ก้าวหน้าขึ้น จนสามารถเขียนข้อมูลบนแผ่นซีดีได้เหมือนฮาร์ดดิสก์ เรียกว่า ออปติคัลดิสก์ (optical disk)
  • 23. 23 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved หน่วยรับข้อมูล หรือ หน่วยนาเข้าข้อมูล เป็นหน่วยเริ่มต้นในการทางานของคอมพิวเตอร์ เพราะ มี หน้าที่ในการนาข้อมูลหรือคาสั่งต่าง ๆ เข้าไปในระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับข้อมูลของหน่วยรับข้อมูล มีหลายชนิด เช่น แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน จอยสติก จอสัมผัส แต่ทุกชนิดทาหน้าที่ รับข้อมูลหรือคาสั่ง เข้าสู่ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ เหมือนกัน อุปกรณ์ของหน่วยรับข้อมูล แต่ละชนิดมีวิธีการนาเข้าข้อมูล หรือรับคาสั่ง ตลอดจนลักษณะของ รูปแบบข้อมูลที่นาเข้าต่างกัน หน้าที่สาคัญ คือ เป็นอุปกรณ์ ที่รับข้อมูล หรือคาสั่ง เข้าสู่ระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ หน่วย รับข้อมูล จึงเป็นหน่วยทางานที่ช่วยให้ มนุษย์ สามารถติดต่อ สั่งงาน เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ โดยมากจะแบ่งออกเป็น 2ประเภท หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทางานหรือเลิกใช้แล้วผล นั้นก็จะหายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้ ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูล ในหน่วยเก็บข้อมูลสารอง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ในภายหลัง ตัวอย่างเช่น
  • 24. 24 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved จอภาพ เป็นอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากการ์ดแสดงผล มาแสดงเป็นภาพบน จอภาพ ซึ่งเทคโนโลยีจอภาพใน ปัจจุบันคงจะเป็น จอภาพแบบ Trinitron และ Flat Screen(จอแบน (ไม่ว่าจะเป็น CRT(moniter ทั่วไป ( หรือ LCD (จอที่มีลักษณะ แบนเรียบทั้งตัวเครื่อง (จอแบนจะมีประสิทธิภาพ ในการแสดงผลมากกว่าจอปกติ เพราะสามารถลดแสดง สะท้อนได้ดีกว่าทาให้ไม่เกิดอาการเมื่อยล้า และปวดตา เมื่อต้องทางานนาน ๆ แต่ ราคาของจอแบนยังมีราคาสูงกว่า จอปกติพอสมควร ทาให้ยังไม่เป็น ที่นิยมมากนัก แต่ในอนาคตอันใกล้จอแบนคงจะมีราคาที่ถูกกว่านี้ และเป็นมาตรฐานของจอภาพคอมพิวเตอร์ในอนาคต
  • 25. 25 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ทางเดินของระบบ (system bus) การทางานของระบบคอมพิวเตอร์ ถ้าเปรียบเทียบกับระบบโครงสร้างร่างกายของมนุษย์เราน่าจะ เปรียบเทียบ ได้ง่ายและเห็นภาพชัดเจน เพราะอย่างน้อยคนเราส่วนใหญ่คงจะพอรู้ระบบโครงสร้างการทางานของ ร่างกายของเราเอง อยู่บ้างไม่มากก็น้อยดังนั้นระบบการทางาน ของบัสก็จะคล้ายกับเส้นเลือดในร่างกายของมนุษย์นั่นเอง สาหรับทาหน้าส่งถ่ายกระแสเลือดไปหล่อเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย ซึ่งกระแสเลือดในระบบ คอมพิวเตอร์ก ็คือ ข้อมูล (Data) นั่นเองบัส คือ ทางเดิน หรือ ช่องทางระหว่างอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร ภายในคอมพิวเตอร์ บัสที่ถูกเรียกเฉพาะตามวัตถุประสงค์การใช้งานมีตัวอย่างดังนี้ ี้ „ Processor Bus „ System Bus „ Frontside or Gunning Transceiver Logic plus (GTL+) Bus „ Main Memory Bus „ Host Bus „ Local Bus „ Internal Bus „ External Bus
  • 26. 26 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ส่วนประกอบของ System Bus มีดังนี้ „ Address Bus „ Data Bus „ Control Bus แสดงโครงสร้างของระบบบัสซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบ 3 ส่วน ดังต่อไปนี้ แอดเดรสบัส (Address Bus) ใช้สาหรับ -ถ่ายโอนต้นทาง (Source) และปลายทาง (Distination) ของการส่งข้อมูลบน Data Bus -ชี้ตาแหน่งของหน่วยความจาที่ระบุโดย Microprocessor, Bus Masters หรือ Direct Memory Access (DMA) Controller ดาต้าบัส (Data Bus) คือทางเดินสาหรับรับ-ส่งข้อมูลระหว่างโพรเซสเซอร์ (Processor) กับหน่วยความจา (Memory) หรือ หน่วยความจากับอุปกรณ์อินพุทเอาท์พุท (I/O) คอนโทรลบัส (Control Bus) คือทางเดินสาหรับสัญญาณควบคุมการทางานของส่วนต่างๆระหว่าง โพรเซสเซอร์กับหน่วยความจาและอุปกรณ์อินพุท เอาท์พุท ตัวอย่างเช่น „W/R - Write/Read „IRQ - Interrupt Requests „BCLK - Bus Clock „ DRQ - DMA Requests