SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
บทที่3
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่าง
สามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่ง
สามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)
หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูล
สารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน
1. ฮาร์ดแวร์สาคัญที่พบใน Case ได้แก่
1.1 Power Supply
1.2 Mainboard และ ฮาร์ดแวร์ที่ติดตั้งหรือเป็นส่วนหนึ่งของ Mainboard ที่สาคัญ ได้แก่
1.2.1 CPU
1.2.2 RAM
1.2.3 Expansion Slots
1.2.4 Ports
1.3 Hard Disk
1.4 Floppy Disk Drive
1.5 CD-ROM Drive
1.6 DVD-ROM Drive
1.7 Sound Card
1.8 Network Card
2. ฮาร์ดแวร์สาคัญที่อยู่นอก Case ที่สาคัญได้แก่
2.1 Keyboard
2.2 Monitor
2.3 Mouse
2.4 Printer
2.5 Scanner
2.6 Digital Camera
2.7 Modem
2.8 UPS
ความหมายของฮาร์ดแวร์
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เคส (Case)
คือ ส่วนที่เป็นกล่องหรือตัวถังสาหรับบรรจุแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ตัวจ่ายไฟและอุปกรณ์ต่างๆ ของ
คอมพิวเตอร์ให้เป็นระเบียบ เพื่อป้องกันการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้า และป้องกันอุปกรณ์ภายในไม่
เสียหายจากแมลง หรือฝุ่นละอองต่างๆ เคสที่ดีไม่ใช่แค่สวยงามเท่านั้น แต่ต้องออกแบบให้ระบายความ
ร้อนได้ดีอีกด้วย
ปัจจุบัน Case มี 2 แบบ คือ แบบนอน (เรียกว่า Desktop ) และ แบบตั้ง (Tower)
Case แบบนอน สามารถนาจอภาพมาตั้งไว้ข้างบนได้ เหมาะสาหรับผู้ที่มีเนื้อที่จากัดที่จะวาง
เครื่องคอมพิวเตอร์ แต่มีข้อเสียที่ภายในมีเนื้อที่จากัด อาจเป็นอุปสรรค์เมื่อต้องการเพิ่มฮาร์ดแวร์ภายหลัง
อย่างไรก็ตาม Case แบบนอนบางยี่ห้ออาจออกแบบมาดีจนเรื่องนี้ไม่ใช่อุปสรรคก็ได้
Case แบบตั้ง เปลืองเนื้อที่กว่า เพราะไม่สามารถวางจอภาพไว้ข้างบนได้ แต่มีข้อได้เปรียบ
Case แบบนอน คือเนื้อที่ข้างในมากกว่า จึงเพิ่มฮาร์ดแวร์ได้มากชิ้นกว่า แต่อย่างที่กล่าวแล้วข้างบน
ทั้งหมดขึ้นอยู่กับการออกแบบ Case แบบตั้งหากออกแบบไม่ดี อาจมีเนื้อที่เหลือให้เพิ่มฮาร์ดแวร์น้อยกว่า
แบบนอนก็ได้
อุปกรณ์นาเข้า(Input Device)
อุปกรณ์นาเข้า (InputDevice) เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการนาข้อมูลหรือชุดคาสั่งเข้ามายังระบบเพื่อให้
คอมพิวเตอร์ประมวลผลต่อไปได้ ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร ภาพกราฟิก เสียง หรือวิดีโอ เป็นต้น
อุปกรณ์นาข้อมูลเข้าที่พบเห็นได้ในปัจจุบันพอจะยกตัวอย่างได้ดังนี้
1. อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device)
1.1 คีย์บอร์ด (Keyboard) เป็นอุปกรณ์นาข้อมูลเข้าที่นิยมใช้กันมากที่สุดและพบเห็นในการใช้
งานทั่วไป โดยรับข้อมูลป้อนเข้าที่เป็นตัวอักษร อักขระพิเศษ ตัวเลข รวมถึงชุดคาสั่งต่าง ๆ ตัวอุปกรณ์จะ
มีกลุ่มของแป้นพิมพ์วางเรียงต่อกันเหมือนกับเครื่องพิมพ์ดีด ผู้ใช้งานสามารถเลือกกดปุ่มใด ๆ ได้ทันที
โดยข้อมูลทั้งหมดที่ป้อนเข้ามาจะถูกส่งเข้าไปเก็บยังหน่วยความจาของระบบและแปลงให้เป็นรหัสที่
คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน จากนั้นจึงจะนาไปประมวลผลต่อไป ปัจจุบันอาจพบเห็นคีย์บอร์ดประเภทต่าง
ๆ ได้ดังนี้
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
(1) คีย์บอร์ดมาตรฐาน ( Standard keyboard ) เป็นคีย์บอร์ดที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป มี
ลักษณะคล้ายกับแป้นพิมพ์บนเครื่องพิมพ์ดีด โดยปกติจะประกอบด้วยกลุ่มของแป้นพิมพ์หลัก ๆ
ดังต่อไปนี้
• แป้นพิมพ์ตัวอักขระ ( alphabetic key ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์ซึ่งมีบริเวณใหญ่ที่สุด
ประกอบด้วยแผงอักขระสาหรับการป้อนข้อมูลที่มีทั้งตัวอักษร ตัวเลขและอักขระแบบพิเศษทั่วไป
• แป้นสาหรับควบคุมทิศทาง ( cursor-movement key ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์สาหรับควบคุม
ทิศทางการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์และเปลี่ยนจุดหรือบริเวณการทางาน
• แป้นฟังก์ชัน ( function key ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์สาหรับการเลือกคาสั่งลัดที่มีอยู่ในบาง
ประเภท แป้นเหล่านี้จะอยู่บนแถวแรกสุดของคีย์บอร์ด
• แป้นควบคุม ( control key ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์สาหรับสั่งการบางอย่างร่วมกับปุ่มอื่น ๆ
บางครั้งนิยมเรียกว่า modifier keys เช่นCtrl , Alt , Shift เป็นต้น
• แป้นป้อนข้อมูลตัวเลข ( numeric keypad ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์สาหรับการป้อนค่าข้อมูลที่เป็น
ตัวเลขเพื่อช่วยในการบันทึกข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น การป้อนข้อมูลเพื่อคานวณหรือหาผลลัพธ์
ทางบัญชี
(2) คีย์บอร์ดติดตั้งภายใน ( Built-in keyboard ) เป็นคีย์บอร์ดที่ปรับขนาดของแป้นพิมพ์ให้
เล็กลง พบเห็นในการใช้งานกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ประเภทพกพา เช่น โน๊ตบุ๊คหรือเดสก์โน๊ต ซึ่งมีพื้นที่
ในการใช้งานค่อนข้างจากัด แป้นพิมพ์นี้จะถูกติดตั้งมาพร้อมกับการผลิตเครื่องอยู่แล้ว
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
(3)คีย์บอร์ดเออร์โกโนมิกส์ ( Ergonomic keyboard ) เป็นคีย์บอร์ดที่มีการออกแบบโดย
คานึงถึงความสะดวกสบายและความปลอดภัยของผู้ใช้งานเป็นหลัก เนื่องจากการป้อนข้อมูลเป็นเวลานาน
ๆ อาจจะทาให้เกิดความเมื่อยล้าจากการพิมพ์จนเกิดการบาดเจ็บเนื่องจากเส้นอักเสบได้ จึงมีการ
ออกแบบแป้นพิมพ์ใหม่ เช่น เพิ่มอุปกรณ์สาหรับการวางมือและออกแบบทิศทางสาหรับการจัดวาง
แป้นพิมพ์ใหม่ให้สัมพันธ์กับสรีระของมนุษย์มากขึ้น ปัจจุบันจะพบเห็นคีย์บอร์ดชนิดนี้เข้ามาแทนที่
คีย์บอร์ดมาตรฐานกันมากขึ้น เนื่องจากช่วยลดปัญหาในเรื่องการบาดเจ็บของข้อมือได้เป็นอย่างดี
(4) คีย์บอร์ดไร้สาย ( Cordless keyboard ) คีย์บอร์ดแบบมาตรฐานที่ใช้กันทั่วไป อาจไม่มี
ความสะดวกสบายมากพอเมื่อต้องการใช้งานในระยะที่ไกลจากโต๊ะทางาน อีกทั้งการดึง ย้าย หรือเปลี่ยนที่
ของอุปกรณ์ยังทาให้เกิดความยุ่งยาก เนื่องจากตัวสายของคีย์บอร์ดเชื่อมต่ออยู่กับตัวเครื่องตลอดเวลา
เมื่อเกิดหลุดก็ไม่สามารถทางานต่อไปได้ ดังนั้นจึงได้มีการคิดค้นเพื่อสร้างคีย์บอร์ดแบบใหม่ที่อาศัยการ
ส่งผ่านข้อมูลโดยเทคโนโลยีไร้สายขึ้นและทางานโดยใช้พลังงานแบตเตอรี่แทน ทาให้สามารถย้าย
คีย์บอร์ดไปวางยังตาแหน่งใด ๆ ที่อยู่ในรัศมีของสัญญาณนอกเหนือจากโต๊ะทางานได้
(5)คีย์บอร์ดพกพา ( Portable keyboard ) เมื่ออุปกรณ์ประเภทเครื่องพีดีเอได้รับความนิยม
มากยิ่งขึ้น การทางานบางอย่างที่ต้องอาศัยการป้อนข้อมูลเข้าไป เช่น พิมพ์ข้อความรายงาน จดหมายหรือ
บันทึกการประชุม จะเกิดความไม่สะดวก เพราะตัวเครื่องมีขนาดเล็ก หากใช้ปากกาช่วยเขียนก็จะทาได้ช้า
กว่า จึงมีการสร้างคีย์บอร์ดที่สามารถพกพาไปยังที่ต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น เพียงแค่กางออกมาก็สามารถใช้ได้
เหมือนกับคีย์บอร์ดปกติ
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
(6) คีย์บอร์ดเสมือน ( Virtual keyboard ) เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้นสาหรับใช้ร่วมกับเครื่อง
พีดีเอเช่นเดียวกันกับคีย์บอร์ดพกพา แต่ต่างกันตรงที่มีการจาลองภาพให้เป็นเสมือนคีย์บอร์ดจริง โดย
อาศัยการทางานของแสงเลเซอร์ยิงลงไปบนโต๊ะหรืออุปกรณ์รองรับสัญญาณที่เป็นพื้นผิวเรียบ เมื่อ
ต้องการใช้งานก็สามารถพิมพ์หรือป้อนข้อมูลที่เห็นเป็นภาพเหมือนแผงแป้นพิมพ์นั้นเข้าไปได้เลย ตัวรับ
แสงในอุปกรณ์จะตรวจจับได้เองว่าผู้ใช้วางนิ้วไหนไปกดตรงตัวอักษรใด
2. อุปกรณ์ชี้ตาแหน่ง (Pointing Device)
2.1 เมาส์ ( Mouse ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ชี้ตาแหน่งการทางานรวมถึงสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทางานบาง
คาสั่งที่มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ โดยใช้มือเป็นตัวบังคับทิศทางและใช้นิ้วสาหรับการกด
เลือกคาสั่งงาน สามารถพบเห็นได้ 2 ประเภท ดังนี้
เมาส์แบบทั่วไป ( Mechanical mouse ) เป็นเมาส์ที่ได้รับการออกแบบโดยใช้ลูกบอลเป็น
ตัวจับทิศทางที่เมาส์เลื่อนไป ลูกบอลของเมาส์มีลักษณะเป็นลูกกลม ๆ ทาจากยางกลิ้งอยู่ด้านล่าง ซึ่งจะ
ลากผ่านแผ่นรองเมาส์ ( mouse pad ) และกลไกภายในจะจับได้ว่ามีการเลื่อนไปมากน้อยแค่ไหนและใน
ทิศใด สาหรับส่วนบนจะมีปุ่มให้เลือกกดประมาณ 2-3 ปุ่ม ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต บางแบบอาจมีปุ่มล้อที่
หมุน (scroll ) และกดได้เพื่อควบคุมการทางานขึ้นลงของสโครลบาร์ในหน้าต่างโปรแกรมบางประเภท
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เมาส์แบบแสงหรือออปติคอลเมาส์ ( Optical mouse ) การใช้เมาส์แบบทั่วไปที่ใช้ลูก
บอล มีข้อเสียคือ เมื่อใช้ไปนาน ๆ ลูกบอลจะกลิ้งผ่านและเก็บเอาฝุ่นละอองเข้าไปด้วย ฝุ่นเหล่านี้จะจับตัว
กันหนาขึ้น ส่งผลให้กลไกในการทางานผิดเพี้ยนไปมาก จึงมีการสร้างเมาส์แบบใหม่ขึ้นมาเรียกว่า เมาส์
แบบแสง หรือ ออปติคอลเมาส์ เพื่อใช้แก้ปัญหานี้ เมาส์แบบใหม่นี้ทางานได้โดยไม่ต้องใช้ล้อหมุนแต่ใช้
แสงไปกระทบพื้นผิวด้านล่าง วงจรภายในจะวิเคราะห์แสงสะท้อนที่เปลี่ยนไปเมื่อเลื่อนเมาส์และแปลง
ทิศทางเป็นการชี้ตาแหน่ง ซึ่งปัจจุบันมีทั้งที่เป็นแบบต่อกับคอมพิวเตอร์โดยใช้สายและแบบไม่ใช้สาย
2.2 ลูกกลมควบคุม (Track ball) เป็นอุปกรณ์ที่มีหลักการทางานคล้ายกับเมาส์ โดยมีลูกบอล
ติดตั้งไว้ส่วนบนเพื่อใช้สาหรับควบคุมทิศทาง เมื่อผู้ใช้หมุนลูกบอลก็คือการย้ายตาแหน่งตัวชี้นั่นเอง
ลักษณะของลูกบอลมีขนาดใหญ่กว่าเมาส์มาก ส่วนใหญ่จะนาไปใช้ติดตั้งแยกต่างหาก เพื่อช่วยให้การ
ทางานกับคอมพิวเตอร์แบบพกพาสะดวกมากยิ่งขึ้น ในบางรุ่นอาจติดตั้งแทรคบอลอยู่ไว้ภายในด้วย แต่
ปัจจุบันไม่ค่อยนิยมใช้กันแล้ว
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
2.3 แท่งชี้ควบคุมหรือพอยติงสติ๊ก ( Pointing stick ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับชี้ตาแหน่งข้อมูล
เช่นเดียวกัน มีลักษณะเป็นก้อนเล็ก ๆ คล้ายกับยางลบดินสอ จะติดตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของแป้นพิมพ์ใน
คอมพิวเตอร์แบบพกพา การควบคุมทิศทางของตัวชี้จะใช้นิ้วมือเป็นตัวบังคับเพื่อเลื่อนทางานเช่นเดียวกัน
โดยเมื่อดันให้แท่งนี้โยกไปทิศทางใด ลูกศรบนจอก็จะเลื่อนไปในทิศทางนั้น
2.4 จอยสติ๊ก ( Joystick ) เป็นอุปกรณ์ที่พบเห็นได้กับการทางานที่เกี่ยวข้องกับเกม
คอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากการใช้เมาส์เพื่อบังคับทิศทางนั้นอาจไม่รองรับกับรูปแบบของบางเกม
ได้ จึงนาเอาจอยสติ๊กมาใช้แทน เช่น การบังคับทิศทางซ้าย ขวา หน้า หลัง หรือบังคับทิศทางในระดับ
องศาที่แตกต่างกันในการควบคุมอากาศยานหรือท่าต่อสู้ของตัวละคร ซึ่งทาให้เกมมีความสมจริงมากกว่า
การใช้เมาส์นั่นเอง
2.5 แผ่นรองสัมผัสหรือทัชแพด ( Touch pad ) เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นแผ่นสี่เหลี่ยม
บาง ๆ ติดตั้งไว้อยู่ในคอมพิวเตอร์แบบพกพา เพื่อใช้ทางานแทนเมาส์ เมื่อกดสัมผัสหรือใช้นิ้วลากผ่าน
บริเวณดังกล่าวก็สามารถทางานแทนกันได้ โดยมากจะติดตั้งไว้บริเวณด้านล่างของแป้นพิมพ์
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
2.6 จอสัมผัสหรือทัชสกรีน ( Touch screen ) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้นิ้วมือแตะบังคับหรือ
สั่งการไปยังหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้เลย โดยไม่จาเป็นต้องใช้เมาส์หรือแป้นพิมพ์ มักพบเห็นได้ตามตู้
ให้บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว ตู้ ATM บางธนาคาร เครื่องออกบัตรโดยสาร รถไฟฟ้า หรือพบเห็นในตู้เกม
บางประเภท เช่น เกมประเภทจับผิดภาพ เกมประเภททานายดวงชะตา เป็นต้น
2.7 พวงมาลัยพังคับทิศทาง (Wheel) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้กับการเล่นเกมเหมือนกับจอยสติ๊ก
พบเห็นได้กับเกมจาลองประเภทแข่งรถหรือควบคุมทิศทางของยานพาหนะ มีลักษณะเหมือนกับ
พวงมาลัยบังคับทิศทางในรถยนต์จริง เพื่อให้เกมจาลองนั้น ๆ มีความสมจริงมากยิ่งขึ้น อาจมีการใช้งาน
ร่วมกับอุปกรณ์เหยียบเบรกจาลอง ( pedal ) และตัวเร่งความเร็วจาลอง ( accelerator ) ด้วย
3. ประเภทปากกา ( Pen-Based Device )
3.1 ปากกาแสง ( Light pen ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการกาหนดตาแหน่งบนจอภาพรวมถึงการป้อน
ข้อมูลเข้าแทนแป้นพิมพ์ เอามาใช้เขียนหรือวางตาแหน่งบนจอภาพคอมพิวเตอร์ประเภทที่ใช้หลอดภาพ
หรือ CRT ได้เลย มักใช้ร่วมกับโปรแกรมประเภทช่วยการออกแบบหรือ CAD (computer aided
design) เพื่อให้การทางานมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากสามารถลากหรือวาดทิศทางได้ง่าย แต่มี
ความละเอียดแม่นยาไม่สูงนัก เพราะถูกจากัดด้วยความละเอียดของจอภาพ ปัจจุบันได้รับความนิยม
น้อยลง
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
3.2 ดิจิไทเซอร์ ( Digitizer ) หรืออุปกรณ์อ่านพิกัด มักใช้ร่วมกับอุปกรณ์ประเภทปากกาหรือในงาน
ความละเอียดสูงจะใช้กับหัวอ่านที่เป็นกากบาทเส้นบาง ( crosshair ) เพื่อให้ชี้ตาแหน่งโดยละเอียด ทา
หน้าที่เป็นเสมือนกระดานรองรับการเขียนข้อความ วาดภาพหรือออกแบบงานที่เกี่ยวกับกราฟิกเป็นหลัก
ทาให้มีความคล่องตัวและสะดวกต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น
3.3 สไตลัส ( Stylus ) เป็นอุปกรณ์ประเภทปากกาป้อนข้อมูลชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมากใน
คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น พีดีเอ แท็บเล็ตพีซี หรืออาจพบเห็นในสมาร์ทโฟนบางรุ่น ผลิตมาเพื่อใช้เขียน
หนังสือด้วยลายมือหรือวาดเส้นลงบนหน้าจออุปกรณ์ได้โดยตรง ซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่
อานวยความสะดวกในการทางานมากยิ่งขึ้น โดยจะทาหน้าที่แปลงรหัสในการเขียน (ที่คล้ายจดชวเลขใน
สมัยก่อน) ไปเป็นตัวอักษรที่คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลและใช้งานต่อได้ทันที เช่น นาไปจัดเก็บใน
สมุดรายชื่อ หรือเก็บบันทึกข้อความที่เขียนไว้เป็นไฟล์เพื่อเรียกใช้งานต่อไป
4. ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย ( Multimedia Input Device)
11
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
4.1 ไมโครโฟน ( Microphone ) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลประเภทเสียงพูด ( Voice ) เข้าสู่ระบบ ใช้
บันทึกหรืออัดข้อมูลเสียงในสตูดิโอหรือตามบ้านทั่วไป การทางานจะใช้ร่วมกับซอฟต์แวร์ด้านมัลติมีเดีย
นอกจากนี้ไมโครโฟนยังสามารถใช้ร่วมกับระบบจดจาเสียงพูดหรือvoice recognition (แต่ในขณะนี้ยังไม่
สนับสนุนเสียงภาษาไทย) เพื่อทางานบางอย่างได้ เช่น ใช้เสียงพูดผ่านไมโครโฟนเข้าไปแทนการพิมพ์
ข้อมูลรายงานได้เลย โดยที่คอมพิวเตอร์จะทาการแปลงความหมายและประมวลผลผ่านเสียงที่ผ่านเข้ามา
เป็นตัวอักษรโดยอัตโนมัติ เป็นต้น
4.2 กล้องถ่ายวิดีโอดิจิตอล ( Digital Video camera ) เรียกย่อ ๆ ว่ากล้องประเภท DV ซึ่งเป็น
กล้องวิดีโอแบบดิจิตอลนั่นเอง กล้องประเภทนี้สามารถถ่ายภาพเคลื่อนไหวและบันทึกเก็บหรือโอนถ่ายลง
คอมพิวเตอร์ได้เช่นเดียวกัน แต่จาเป็นต้องใช้พื้นที่เก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่พอสมควร โดยมากจะบันทึกลง
เทปขนาดเล็กในรูปแบบดิจิตอลก่อน (บางรุ่นอาจลงแผ่น CD-R หรือ DVD-R ที่บันทึกได้แทน) จากนั้นจะ
ถ่ายโอนวิดีโอไปลงคอมพิวเตอร์ หรือจะเรียกดูภายหลังจากในกล้องก็ได้
4.3 กล้องถ่ายรูปดิจิตอล ( Digital camera ) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลประเภทภาพถ่ายดิจิตอล ซึ่ง
ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากราคาของกล้องประเภทนี้ถูกลงและสามารถบันทึกเก็บหรือ
ถ่ายโอนลงคอมพิวเตอร์ได้โดยง่าย อีกทั้งภาพถ่ายที่ได้ในกล้องบางรุ่นยังมีความละเอียด ความคมชัด
เทียบเคียงหรือมากกว่ากล้องธรรมดาบางรุ่น หรือหากจะนาไปอัดขยายต่อเป็นภาพถ่ายปกติก็สามารถทา
ได้เช่นเดียวกัน
12
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
4.4 เว็บแคม ( Web cam ) เป็นกล้องถ่ายวิดีโออีกประเภทหนึ่งที่ใช้สาหรับการถ่ายภาพ
เคลื่อนไหวเช่นเดียวกัน แต่ภาพที่ได้จะหยาบและมีขนาดไฟล์เล็กกว่ากล้องแบบ DV มาก จึงนิยมใช้
สาหรับการเผยแพร่ข้อมูลลงบนอินเทอร์เน็ตหรือนาไปใช้ประโยชน์กับโปรแกรมสนทนาบนเว็บบาง
ประเภท เพื่อให้เห็นหน้าตาของคู่สนทนาระหว่างที่พิมพ์โต้ตอบกัน ปัจจุบันเว็บแคมมีราคาถูกลงอย่างมาก
และยังสามารถบันทึกได้ทั้งภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่งด้วย
5. ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง(Scanner and Optical Reader)
5.1 สแกนเนอร์ ( Scanner ) เป็นอุปกรณ์อ่านข้อมูลประเภทภาพถ่าย โดยผู้ใช้เพียงแค่วางภาพถ่าย
หรือเอกสารลงไปบนแท่นวางแล้วสั่งให้เครื่องอ่านหรือสแกน ก็สามารถเก็บรูปภาพหรือเอกสารสาคัญต่าง
ๆ เหล่านั้นไว้ในคอมพิวเตอร์ได้ หลักการทางานจะเหมือนกับเครื่องถ่ายเอกสารคือ ใช้ลาแสงกวาด
แผ่นกระดาษหรือเอกสารนั้น แล้วส่งภาพเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลและเรียกใช้ต่อไป
5.2 โอเอ็มอาร์ ( OMR – Optical Mark Reader ) เป็นเครื่องที่นาไปใช้ประโยชน์ในการ
ตรวจข้อสอบหรือคะแนนของกลุ่มบุคคลจานวนมาก เช่น การสอบเอ็นทรานซ์ การสอบวัดระดับ
13
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ภาษาอังกฤษ การสอบเข้ารับราชการของสานักงาน ก.พ. โดยจะอ่านเครื่องหมาย (Mark ) ที่ผู้เข้าสอบได้
ระบายไว้ในกระดาษคาตอบ ซึ่งโดยปกติจะต้องใช้ดินสอที่มีความเข้มมากพอที่จะให้เครื่องอ่านได้ (ปกติจะ
อยู่ที่ความเข้มระดับ 2 B ขึ้นไป) หากใช้ดินสอที่มีความเข้มต่ากว่าระดับที่กาหนด อาจทาให้เครื่องไม่
สามารถอ่านได้ชัดเจน
5.3 เครื่องอ่านบาร์โค้ด ( Bar code reader ) ตัวเลขของรหัสสินค้าที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลของ
ระบบสินค้าคงคลังจะมีจานวนหลักค่อนข้างมาก เมื่อต้องการเรียกใช้หรือตรวจสอบโดยการป้อนข้อมูลผ่าน
แป้นพิมพ์จะทาให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย (เช่น ป้อนตัวเลขผิด) จึงเกิดแนวความคิดในการพิมพ์
รหัสสินค้าออกมาเป็นรหัสแท่งสีดาและขาวต่อเนื่องกันไปเรียกว่า บาร์โค้ด ( bar code ) ซึ่งนาไปใช้พิมพ์
แทนรหัสตัวเลขของสินค้าอุปโภค บริโภคทั่วไป เพื่อสะดวกต่อการตรวจเช็คข้อมูลสินค้าคงเหลือรวมไปถึง
การคิดเงินนั่นเอง เครื่องที่อ่านรหัสนี้เราเรียกว่า เครื่องอ่านบาร์โค้ด ( bar code reader ) มีหลายรูปแบบ
เช่น หัวอ่านมีด้ามจับคล้ายปืน หรือบางแบบก็ฝังในแท่นของเครื่องเก็บเงินสดเลย พบเห็นได้ตามจุด
บริการขาย ( POS – Point Of Sale ) ในร้านอาหาร ร้านสะดวกซื้อ หรือห้างสรรพสินค้าทั่วไป
5.4 เอ็มไอซีอาร์ ( MICR – Magnetic-Ink Character Recognition ) เรียกย่อ ๆ ว่าเครื่อง เอ็ม
ไอซีอาร์ ( MICR – Magnetic-Ink Character Recognition ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านตัวอักษรด้วยแสงของ
เอกสารสาคัญ เช่น เช็คธนาคาร ซึ่งมีการพิมพ์หมายเลขเช็คด้วยผงหมึกสารแม่เหล็ก ( magnetic ink
) เป็นแบบอักษรเฉพาะ มีลักษณะเป็นลายเส้นเหลี่ยม (ดังรูป) พบเห็นได้ในการประมวลผลเช็คสาหรับ
ธุรกิจด้านธนาคาร
14
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
6. ประเภทตรวจสอบข้อมูลทางกายภาพ ( Biometric Input Device )
ไบโอเมตริกส์ ( biometric ) เป็นลักษณะของการตรวจสอบข้อมูลส่วนตัวบุคคลเฉพาะอย่าง เช่น
ลายนิ้วมือ รูปแบบของม่านตา (เรตินา -ratina ) ฝ่ามือ หรือแม้กระทั่งเสียงพูด ซึ่งนามาใช้กับงานป้องกัน
และรักษาความปลอดภัยในหน่วยงานที่ต้องการความปลอดภัยในระดับสูง เนื่องจากระบบการตรวจสอบ
ประเภทนี้จะปลอมแปลงได้ยาก เครื่องที่ใช้อ่านข้อมูลพวกนี้จะมีอยู่หลายประเภทขึ้นอยู่กับลักษณะการ
ตรวจสอบ เช่น เครื่องอ่านลายนิ้วมือ เครื่องตรวจม่านตา เครื่องวิเคราะห์เสียงพูด เป็นต้น
อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลหลักๆดังนี้
ซีพียู (CPU) คือ อุปกรณ์ตัวหนึ่งที่มีความสาคัญและจาเป็นในการทางานของคอมพิวเตอร์ซึ่ง
อาจจะเรียกว่าเป็นหัวใจของคอมพิวเตอร์เลยก็ได้ ซีพียู เป็นตัวควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่า
จะเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต่อร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดย จะเป็นตัวกาหนด
ความสาคัญของอุปกรณ์ว่าตัวใดมีความสาคัญมากกว่าซึ่งหากติดตั้งอุปกรณ์ 2 ตัวที่อินเทอรัพ, การแจ้ง
กับซีพียูว่าจะขอเฉพาะอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากกว่าเท่านั้น ส่วนตัวที่สาคัญน้อยกว่าจะไม่สามารถใช้
อุปกรณ์ประมวลผล(Process Device)
15
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
งานได้ เช่น ถ้าเราต่อการ์ดจอภาพกับการ์ดเสียงที่อินเทอรัพเดียวกัน ซีพียู จะเลือกให้ใช้ได้เฉพาะการ์ด
จอภาพเท่านั้น
หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็น
อุปกรณ์ ที่มีความสาคัญมากที่สุด ของฮาร์ดแวร์เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามา
ทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วย
หน่วยความจาหลัก(Primary Storage) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. หน่วยความจาหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory - ROM)
เป็นหน่วยความจาแบบสารกึ่งตัวนาชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็นสื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์
เพราะไม่สามารถบันทึกซ้าได้ (อย่างง่ายๆ) เป็นความจาที่ซอฟต์แวร์หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะ
นามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจาประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่
หายไปจากน่วยความจา (nonvolatile) โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีการแก้ไขอีกแล้วเช่น เก็บ
โปรแกรมไบออส (Basic Input output System : BIOS) หรือเฟิร์มแวร์ ที่ควบคุมการทางานของ
คอมพิวเตอร์ใช้เก็บโปรแกรมการทางานสาหรับเครื่องคิดเลขใช้เก็บโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ที่ทางาน
เฉพาะด้าน เช่น ในรถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่องซักผ้า เป็นต้น
2. หน่วยความจาหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory - RAM)
เป็นหน่วยความจาหลักที่จาเป็น หน่วยความจา ชนิดนี้จะสามารถเก็บข้อมูลได้ เฉพาะเวลาที่มี
กระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้นเมื่อใดก็ตามที่ไม่มีกระแสไฟฟ้า มาเลี้ยง ข็อมูลที่อยู่ภายในหน่วยความจา
ชนิดจะหายไปทันที หน่วยควมจาแรม ทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กาลังทางาน
อยู่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นการนาเข้าข้อมูล (Input) หรือ การนาออกข้อมูล (Output) โดยที่เนื้อที่ของ
หน่วยความจาหลักแบบแรมนี้ถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ
1. Input Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนาเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้าโดย ข้อมูลนี้จะ
ถูกนาไปใช้ในการประมวลผลต่อไป
2. Working Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล
3. Output Storage Area เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความต้องการของผู้ใช้
เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออก ยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ
4. Program Storage Area เป็นส่วนที่ใช้เก็บชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่งเข้ามา เพื่อใช้
คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคาสั่ง ชุดดังกล่าว หน่วยควบคุมจะทาหน้าที่ดึงคาสั่งจากส่วน นี้ไปที่ละคาสั่งเพื่อ
ทาการแปลความหมาย ว่าคาสั่งนั้นสังให้ทาอะไร จากนั้นหน่วยควบคุม จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ที่ต้องการ
ทางานดังกล่าวให้ทางานตามคาสั่งนั้นๆ
เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)
16
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เมนบอร์ด (Mainboard, mother board) หรือ แผงวงจรหลัก เป็นหัวใจสาคัญที่สุดที่อยู่ภายใน
เครื่อง เมื่อเปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางนอนอยู่ นั่นคือส่วนที่เรียกว่า "เมนบอร์ด"
ส่วนประกอบหลักที่สาคัญบนเมนบอร์ดคือ
ซ็อคเก็ตสาหรับซีพียู
ชิปเซ็ต (Chip set)
ซ็อคเก็ตสาหรับหน่วยความจา
ระบบบัสและสล็อต
Bios
สัญญาณนาฬิกาของระบบ
ถ่านหรือแบตเตอรี่
ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ
ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง
จัมเปอร์สาหรับกาหนดการทางานของ
เมนบอร์ด
ขั้วต่อ IDE
ขั้วต่อ Floppy disk drive
พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน
พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์
พอร์ต USB
ชิปเซต (Chipset) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานต่างๆ ของอุปกรณ์ภายในทั้งหมดที่อยู่เมนบอร์ด
(Mainboard) และชิปเซตจะเป็นตัวกาหนดว่าใช่่ร่วมกับซีพียู(Central Processing Unit) ตัวไหน เพราะ
ชิปเซตแต่ละตัวนั้นจะถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการทางานของซีพียู(Central Processing Unit) ตัวนั้น
ให้มีประสิทธิภาพ ชิปเซตนั้นจะมีอยู่ 2 แบบ คือ North
Bridge ที่ทาหน้าที่รับ/ส่งการทางานของซีพียู
(CPU)และแรม(RAM)และ South Bridge ที่มีขนาด
เล็กกว่า North Bridge มีหน้าที่ควบคุมสล็อต PCI ,
ดิสก์ไดรว์ต่างๆ รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงทั้งหมดไม่ว่าจะ
เป็น คีย์บอร์ดเมาส์ หรือพอร์ตต่างๆ ที่อยู่ด้านหลัง
เครื่อง
หน่วยเก็บข้อมูลสารอง(Secondary Storage Device)
หน่วยเก็บข้อมูลสารอง ( Secondary Storage Device ) การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์นั้น
เมื่อต้องการเก็บบันทึกข้อมูล หรือกลุ่มคาสั่งต่าง ๆ ไว้ใช้ในอนาคตจะไม่สามารถเก็บไว้ในหน่วยความจา
หลักได้ เนื่องจากไม่มีพื้นที่เพียงพอ อีกทั้งข้อมูลที่เก็บจะหายไปเมื่อปิดเครื่อง หากต้องการเก็บข้อมูลที่
มากขึ้นและเอาไว้ใช้ประโยชน์ในภายหลัง ก็จาเป็นต้องหาอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น หน่วย
เก็บข้อมูลสารอง หรือที่เรียกว่า secondary storage
ปัจจุบันมีสื่อที่ผลิตมาสาหรับใช้เก็บข้อมูลสารองหลากหลายชนิด ซึ่งพอจะแบ่งตามรูปแบบของสื่อ
ที่เก็บข้อมูลออกได้เป็น 4 ประเภท
17
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
1. สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก ( Magnetic Disk device ) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลประเภทที่ใช้
งานเป็นลักษณะของจานบันทึก ( disk )ซึ่งมีหลายประเภท ดังนี้
1.1 ฟล็อปปี้ดิสก์ ( Floppy disks ) สื่อเก็บบันทึกข้อมูลที่ได้รับความนิยมและใช้งานอย่าง
แพร่หลาย สามารถหาซื้อใช้ได้ตามร้านขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดิสเก็ตต์
( diskette ) หรือแผ่นดิสก์ การเก็บข้อมูลจะมีจานบันทึก ซึ่งเป็นวัสดุอ่อนจาพวกพลาสติกที่เคลือบสาร
แม่เหล็กอยู่ด้านใน และห่อหุ้มด้วยกรอบพลาสติกแข็งอีกชั้นหนึ่ง แผ่นดิสก์ในอดีตจะมีขนาดจานบันทึกที่
ใหญ่มากถึง 5.25 นิ้ว ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมและเลิกใช้งานแล้ว จะเห็นได้เฉพาะขนาด 3.5 นิ้วแทน
ซึ่งมีขนาดเล็กและพกพาสะดวกกว่า โครงสร้างการทางานของแผ่นดิสก์จะต้องมีการจัดข้อมูลโดยการ
ฟอร์แมต ( format ) เมื่อใช้ครั้งแรกก่อนทุกครั้ง (ปัจจุบันบริษัทผู้ผลิตมักจะมีการฟอร์แมตแผ่นมาตั้งแต่อยู่
ในกระบวนการผลิตแล้ว (ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทาการฟอร์แมตก่อนใช้งานซ้าอีก) การฟอร์แมตเป็น
กระบวนการจัดพื้นที่เก็บไฟล์ข้อมูลก่อนใช้งาน หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ เป็นการเตรียมพื้นที่สาหรับเก็บบันทึก
ข้อมูลนั่นเอง โครงสร้างของแผ่นจานแม่เหล็กเมื่อทาการฟอร์แมตแล้วจะมีลักษณะดังนี้
โครงสร้างของดิสก์เมื่อทาการฟอร์แมตแล้ว
แทรค ( Track ) เป็นการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลออกเป็นส่วนตามแนววงกลมรอบแผ่นจาน
แม่เหล็ก จะมีมากหรือน้อยวงก็ขึ้นอยู่กับชนิดและประเภทของจานแม่เหล็กนั้น ซึ่งแผ่นแต่ละชนิดจะมี
ความหนาแน่นของสารแม่เหล็กแตกต่างกันทาให้ปริมาณความจุข้อมูลที่จะจัดเก็บต่างกันตามไปด้วย
เซกเตอร์ ( Sector ) เป็นการแบ่งแทรคออกเป็นส่วน ๆ สาหรับเก็บข้อมูล ซึ่งแต่ละเซกเตอร์
สามารถเก็บข้อมูลได้มากถึง 512 ไบต์ หากเปรียบเทียบแผ่นจานแม่เหล็กเป็นคอนโดมิเนียมหลังหนึ่งแล้ว
เซกเตอร์ก็เปรียบได้เหมือนกับห้องพักต่าง ๆ ที่แบ่งให้คนอยู่กันเป็นห้อง ๆ นั่นเอง แผ่นดิสเก็ตต์ที่พบ
ทั่วไปในปัจจุบันจะเป็นแบบความจุสูงหรือ high density สามารถเก็บข้อมูลได้ถึง 1.44 MB ซึ่งเราอาจ
คานวณหาความจุข้อมูลของแผ่นดิสก์ได้โดยการเอาจานวนด้านของแผ่นจานแม่เหล็ก ( side ) จานวนของ
แทรค ( track ) จานวนของเซคเตอร์ในแต่ละแทรค ( sector/track ) และความจุข้อมูลต่อ 1 เซกเตอร์
( byte/sector ) ว่ามีค่าเป็นเท่าไหร่ แล้วเอาตัวเลขทั้งหมดมาคูณกันก็จะได้ปริมาณความจุข้อมูลในแผ่น
ชนิดนั้น ๆ เมื่อเก็บหรือบันทึกข้อมูลแล้วสามารถที่จะป้องกันการเขียนทับใหม่ หรือป้องกันการลบข้อมูลที่
18
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
อาจเกิดขึ้น โดยเลือกใช้ปุ่มเปิด – ปิดการบันทึกที่อยู่ข้าง ๆ แผ่นได้ ซึ่งหากเลื่อนขึ้น (เปิดช่องทะลุ) จะ
หมายถึงการป้องกัน ( write-protected ) แต่หากเลื่อนปุ่มลงจะหมายถึง ไม่ต้องป้องกันการเขียนทับข้อมูล
( not write-protected ) นั่นเอง
1.2 ฮาร์ดดิสก์ ( Hard disks ) เป็นอุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูลที่มีโครงสร้างคล้ายกับดิสเก็ตต์ แต่จุข้อมูล
มากกว่าและมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่า ส่วนใหญ่จะถูกติดตั้งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อ
ใช้สาหรับเก็บตัวโปรแกรมระบบปฏิบัติการ ( operating system ) รวมถึงโปรแกรมประยุกต์อื่น
ๆ ฮาร์ดดิสก์ผลิตมาจากวัสดุแบบแข็งจานวนหลายแผ่นวางเรียงต่อกันเป็นชั้น จานแม่เหล็กแต่ละจาน
เรียกว่า แพลตเตอร์ ( platter ) ซึ่งอาจจะมีจานวนต่างกันได้ในฮาร์ดดิสก์แต่ละรุ่น
2. สื่อเก็บข้อมูลแสง ( Optical Storage Device )
เป็นสื่อเก็บข้อมูลสารองที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน ซึ่งใช้หลักการทางานของแสงเข้ามาช่วย
การจัดเก็บข้อมูลจะคล้ายกับแผ่นจานแม่เหล็ก แต่ต่างกันที่การแบ่งวงของแทรคจะแบ่งเป็นลักษณะคล้าย
รูปก้นหอยและเริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนด้านในออกมาด้านนอก และแบ่งส่วนย่อยของแทรคออกเป็น
เซกเตอร์เช่นเดียวกันกับแผ่นจานแม่เหล็ก
2.1 CD (Compact Disc) เป็นสื่อเก็บข้อมูลด้วยแสงแบบแรกที่ไดรับความนิยมอย่าง
แพร่หลายและปัจจุบันก็ยังเป็นที่นิยมอยู่ เนื่องจากมีราคาถูกลงกว่าสมัยก่อนมาก ซึ่งแยกออกได้ดังนี้
CD-ROM (Compact disc read only memory) เป็นสื่อเก็บบันทึกข้อมูลที่นิยมใช้สาหรับการเก็บ
บันทึกข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมประยุกต์เพื่อใช้สาหรับติดตั้งใน
คอมพิวเตอร์รวมถึงเก็บผลงานไฟล์มัลติมีเดีย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI – computer
assisted instruction ) หรือ CD-Training ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียวแต่ไม่สามารถเขียนหรือ
19
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
บันทึกข้อมูลซ้าได้ สามารถจุข้อมูลได้ถึง 650-750 MB โดยมากแล้วจะเป็นแผ่นที่ปั๊มมาจากโรงงานหรือ
บริษัทผู้ผลิตมาแล้ว
CD-R (Compact disc recordable) พบเห็นได้ตามร้านจาหน่ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป มี
ราคาถูกลงอย่างมาก แผ่นแบบนี้สามารถใช้ไดรซ์เขียนแผ่น ( CD Write ) บันทึกข้อมูลได้และหากเขียน
ข้อมูลลงไปแล้วยังไม่เต็มแผ่นก็สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ แต่ไม่สามารถลบข้อมูลที่เขียนไว้แล้วได้
เนื่องจากเนื้อที่บนแผ่นแต่ละจุดจะเขียนข้อมูลได้ครั้งเดียว เขียนแล้วเขียนเลยจะลบทิ้งอีกไม่ได้ เหมาะ
สาหรับผู้ที่ต้องการบันทึกไฟล์ข้อมูลเพื่อเก็บรักษาทั่วไป เช่น ภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล เพลง mp3 หรือ
ไฟล์งานข้อมูลซึ่งในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว
CD-RW (Compact disc rewritable) แผ่นชนิดนี้มีลักษณะหน้าตาเหมือนกับแผ่น CD-R ทุก
ประการแต่มีข้อดีกว่าคือ นอกจากเขียนบันทึกข้อมูลได้หลายครั้งแล้ว ยังสามารถลบข้อมูลและเขียนซ้า
ใหม่ได้เรื่อย ๆ เหมือนกับการบันทึกและเขียนซ้าของดิสเก็ตต์ อย่างไรก็ตามแผ่น CD-RW ขณะนี้ยังมี
ราคาสูงกว่า CD-R อยู่พอสมควร จึงเหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการบันทึกข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยและ
เก็บข้อมูลไว้ในระยะเวลาอันสั้น ไม่ถาวร ซึ่งจะช่วยทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไปได้มาก เพราะสามารถลบทิ้ง
แล้วเขียนใหม่อีกได้ถึงกว่าพันครั้ง
2.2 DVD (Digital Versatile Disc/Digital Video Disc) ผลิตมาเพื่อตอบสนองกับงานเก็บข้อมูล
ความจุสูง เช่น เพลงหรืองานมัลติมีเดียเพื่อให้เกิดความสมจริงและคมชัดมากที่สุด การเก็บข้อมูลจะมีการ
แบ่งออกเป็นชั้น ๆ เรียกว่า เลเยอร์ (Layer ) และสามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งสองด้าน (sides ) ความจุ
ของ DVD จะมีมากกว่า CD หลายเท่าตัว โดยมีตั้งแต่ 4.7 GB - 17 GB
การใช้งาน DVD มีแนวโน้มว่าจะได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นและคาดว่าจะเข้ามาแทน CD ใน
อนาคต เนื่องจากราคาของ DVD มีราคาถูกลงอย่างมาก ซึ่งในปัจจุบันมีการนาแผ่น DVD มาประยุกต์ใช้
กันอย่างแพร่หลายและมีมาตรฐานที่ค่อนข้างแตกต่างกันไม่เหมือนกับแผ่น CD ซึ่งพอจะแยกออกได้ดังนี้
20
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
 DVD-ROM เป็นแผ่น DVD ที่ผลิตจากบริษัทหรือโรงงานโดยตรง มักใช้สาหรับเก็บข้อมูลขนาด
ใหญ่มาก เช่น ภาพยนตร์ความคมชัดสูงและต้องการเสียงที่สมจริง รวมถึงการสารองข้อมูลขนาดใหญ่
ที่ CD-ROM ทั่วไปไม่สามารถจัดเก็บหรือบันทึกได้
 DVD-R และ DVD-RW เป็นแผ่น DVD ประเภทเขียนข้อมูลได้ตามมาตรฐานขององค์กร DVD
Forum (www.dvdforum.org) มีความจุข้อมูลสูงสุดขณะนี้ 4.7 GB เท่านั้น การเขียนข้อมูลสาหรับ DVD-
R สามารถเขียนและบันทึกข้อมูลได้เพียงครั้งเดียวเหมือนกับการเขียนแผ่น CD-R ส่วน DVD-RW จะ
เขียนและบันทึกข้อมูลซ้าหลาย ๆ ครั้ง วิธีการเขียนข้อมูลอาจเติมเฉพาะข้อมูลใหม่ลงไปโดยลบอันเก่าทิ้ง
ทั้งแผ่นหรือจะ import ข้อมูลอันเก่ามารวมกับของใหม่แล้วเขียนไปพร้อม ๆ กันก็ได้
 DVD+R และ DVD+RW เป็นกลุ่มของ DVD ที่เขียนข้อมูลได้เช่นเดียวกันแต่เป็นมาตรฐานของ
องค์กร DVD+RW Alliance (www.dvdrw.com) ซึ่งเกิดขึ้นภายหลัง มีความจุสูงสุดคือ 4.7 GB และอาจ
เพิ่มอีกในอนาคต การเขียนข้อมูลของ DVD+Rและ DVD+RW จะคล้าย ๆ กันกับกลุ่มมาตรฐานเดิมแต่
ความเร็วในการเขียนแผ่นจะมีมากกว่า
ไดรว์เขียนแผ่น DVD ปัจจุบันมักเขียนได้ทั้งแบบ +RW และ – RW เรียกกันว่าแบบ Dual
format นอกจากนี้ยังมีไดรว์และแผ่นรุ่นใหม่ที่บันทึกข้อมูลได้มากถึงเกือบสองเท่าของแบบธรรมดา คือจุ
ได้ 8.5 GB (เทียบเท่า DVD-9 ) โดยบันทึกข้อมูลสองชั้นซ้อนกันในด้านเดียว เรียกว่าแผ่นและไดรว์
แบบ Double Layer ( บางทีก็เรียก Dual Layer)
3. สื่อเก็บข้อมูลอื่น ๆ ( Other Storage Device )
อุปกรณ์หน่วนความจาแบบแฟรช ( Flash memory device ) ปัจจุบันนามาใช้บันทึกแทนสื่อเก็บ
ข้อมูลแบบดิสเก็ตต์มากขึ้น เพราะจุข้อมูลได้มากกว่า นิยมใช้กับเครื่องพีซีและคอมพิวเตอร์แบบพกพา
ทั่วไป มีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น flash drive, thumb drive หรือ handy drive โดยสามารถต่อพ่วงเข้ากับ
เครื่องคอมพิวเตอร์และอ่านค่าข้อมูลนั้นได้โดยตรง
อุปกรณ์หน่วยความจาแบบแฟรชนี้อาจอยู่ในรูปแบบของ memory card ที่ใช้สาหรับจัดเก็บข้อมูล
ประเภทภาพถ่ายหรือข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ในอุปกรณ์ดิจิตอลแบบพกพาทั้งหลาย เช่น กล้องถ่ายรูปดิจิตอล
หรือพีดีเอ ซึ่งมีหลายฟอร์แมต (ดังรูป) เช่นอ Compact Flash (CF), SmartMedia ( เลิกผลิตแล้ว),
Secure Digital และ Multimedia Memory Card (SD/MMC ซึ่งมีขนาดเท่ากัน) และ Memory Stick โดย
21
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
การอ่านข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ดิจิตอลนั้นต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือใช้อุปกรณ์พิเศษที่
เรียกว่า card reader ช่วยอ่านข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในได้เช่นเดียวกัน
4.สื่อเก็บข้อมูลแบบเทป(Tape device)
เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่เหมาะสมสาหรับการสารองข้อมูล(back up)มีราคาถูก และเก็บข้อมูลได้
จานวนมากเนื่องจากเป็นการเก็บข้อมูลในแผ่นแม่เหล็ก มีลักษณะการเข้าถึงแบบเรียงลาดับต่อเนื่องกันไป
เรื่อยๆ(sequential access)และมีข้อเสียคือ การค้นหาที่ยาก จึงเหมาะสมสาหรับการเข้าถึงข้อมูลแบบ
เรียงลาดับ เช่น การลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา เป็นต้น
อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์(Output Device)
อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ ( Output Device ) เป็นอุปกรณ์สาหรับแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่แสดงออกมาจะมีทั้งข้อมูลตัวอักษร, ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง เป็นต้น
อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้
1. อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ ( Display device ) เป็นอุปกรณ์สาหรับการแสดงผลในรูปแบบกราฟิกและ
ผู้ใช้สามารถเห็นผลลัพธ์ได้แค่ชั่วคราวเท่านั้น เมื่อไฟดับหรือปิดการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ลงไปจะ
ไม่สามารถเห็นได้อีก บางครั้งนิยมเรียกอุปกรณ์ประเภทนี้ว่าsoft copy นั่นเอง เช่น
เทอร์มินอล ( Terminal ) มักพบเห็นได้กับจุดบริการขาย ( POS-Point Of Sale ) ตาม
ห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซื้อ หรือจุดให้บริการลูกค้าเพื่อทารายการบางประเภท เช่น ตู้รายการฝาก
ถอน ATM อัตโนมัติ จอภาพของเทอร์มินอลจะมีขนาดเล็กกว่าจอภาพที่ใช้กับคอมพิวเตอร์
จอซีอาร์ที ( CRT Monitor ) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่นิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี การ
ทางานจะอาศัยหลอดแก้วแสดงผลขนาดใหญ่ที่เรียกว่าหลอดรังสีคาโธด ( cathode ray tube ) ซึ่งเป็น
เทคโนโลยีเดียวกับหลอดภาพของโทรทัศน์ และตัวจอภาพก็มีลักษณะเหมือนกับจอภาพของโทรทัศน์ มี
หลายขนาดตั้งแต่ 14,15,16,17,19,20 และ 21 นิ้ว เป็นต้น (แนวโน้มการใช้งานปัจจุบันจะเลือกใช้จอภาพ
ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อช่วยในการทางานได้ดีกว่าจอภาพขนาดเล็ก โดยเฉพาะงานที่ต้องใช้พื้นที่สาหรับ
ทางานบนจอภาพมาก ๆ เช่น การสร้างภาพกราฟิกหรือการออกแบบงาน 3 มิติ เป็นต้น)
จอแอลซีดี ( LCD Monitor ) เป็นอุปกรณ์แสดงผลอีกแบบหนึ่ง อาศัยการทางานของโมเลกุล
ชนิดพิเศษเรียกว่า “ ผลึกเหลว” หรือliquid crystal ในการแสดงผล (LCD = Liquid Crystal Display ) ซึ่ง
เมื่อมีสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังแต่ละจุดบนจอ ผลึกเหลว ณ จุดนั้นจะมีการบิดตัวของโมเลกุลเป็นองศาที่
22
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
แตกต่างกัน ทาให้แสงที่ส่องจากด้านหลังจอผ่านได้มากน้อยต่างกัน และเกิดภาพสีต่าง ๆ ขึ้น แต่เดิมนิยม
ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบโน๊ตบุ๊ค ปัจจุบันได้นามาใช้กับเครื่องพีซีทั่วไปบ้างแล้ว เนื่องจากมีขนาดบาง
เบาและสะดวกในการเคลื่อนย้ายมากกว่า อีกทั้งยังไม่เปลืองพื้นที่สาหรับการทางานด้วย แต่ปัจจุบันยังมี
ราคาที่แพงกว่าจอแบบซีอาร์ทีพอสมควร
โปรเจคเตอร์ ( Projector ) นิยมใช้สาหรับการจัดประชุม สัมมนา หรือการนาเสนอผลงาน
( presentation ) ที่ต้องการให้ผู้เข้าชมจานวนมากได้เห็นข้อมูลภาพกราฟิกต่าง ๆ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ทา
หน้าที่เป็นเหมือนอุปกรณ์ช่วยขยายภาพขนาดเล็กจากจอภาพธรรมดาให้ไปแสดงผลลัพธ์เป็นภาพขนาด
ใหญ่ที่บริเวณฉากรับภาพ
2. อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน ( Print Device )
เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่แสดงออกมาให้อยู่ในรูปแบบข้อมูล รายงาน รูปภาพ หรือแผนที่ซึ่งสามารถจับ
ต้องหรือเก็บรักษาไว้ได้อย่างถาวร นิยมเรียกอุปกรณ์เหล่านี้ Hard copy อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสาหรับการ
พิมพ์งานมีดังนี้
เครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์( Dot matrix Printer ) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้กันในองค์กรธุรกิจทั่วไป
เนื่องจากมีคุณสมบัติในการทางานพิมพ์โดยอาศัยหัวเข็มพิมพ์กระทบลงไปที่ผ้าหมึก( ribbon ) และตัว
กระดาษโดยตรงจึงเหมาะสมกับการพิมพ์เอกสารประเภทใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี ใบส่งของ หรือ
รายการสั่งซื้อที่จาเป็นต้องมีสาเนาเอกสาร(copy ) เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานทางการบัญชี นิยมเรียกอีกชื่อ
หนึ่งว่า เครื่องพิมพ์แบบกระทบ(impact printer ) แต่มีข้อจากัดในเรื่องการทางานที่เป็นสี นอกจากนี้
คุณภาพของงาน ความคมชัด และความเร็วยังต่ากว่าเครื่องพิมพ์แบบอื่นๆ จึงมีความนิยมใช้ลดลง ถึงแม้มี
ราคาไม่สูงนักก็ตาม
23
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์( Laser Printer ) ผลลัพธ์ที่ได้จากการพิมพ์เอกสารด้วยเครื่องพิมพ์แบ
บดอทเมตริกซ์ซึ่งอาศัยหัวพิมพ์กระทบลงไปในกระดาษเหมือหลักการของเครื่องพิมพ์ดีดนั้น ทาให้
คุณภาพงานพิมพ์ที่ได้ไม่ชัดเจน จึงนิยมใช้เครื่องพิมพ์ประเภทเลเซอร์เข้ามาแทนเนื่องจากมีความคมชัด
มากกว่าเครื่องพิมพ์แบบนี้อาศัยการทางานของแสงเลเซอร์ฉายลงไปยังหลอดสร้าง( drum ) ภาพที่ได้รับ
การกระตุ้นของแสง แล้วฉีดผงหมึกเข้าไปยังบริเวณที่มีประจุอยู่(ซึ่งเป็นหลักการเดียวกับเครื่องถ่าย
เอกสารนั่นเอง) จากนั้นให้กระดาษวิ่งมารับผงหมึก แล้วไปผ่านความร้อนเพื่อให้ภาพติดแน่น ข้อดีคือภาพ
ที่ได้มีความละเอียดสูงมาก และความเร็วก็สูง แต่มีข้อเสียคือไม่สามารถพิมพ์เอกสารที่เป็นแบบสาเนา
(copy ) เหมือนกับเครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์ได้ นอกจากนี้ปัจจุบันเริ่มมีเครื่องพิมพ์งานสีได้แล้ว โดย
ใช้ผงหมึก 4 สีผสมกัน ซึ่งราคาเครื่องเริ่มลดลงมากแล้ว แต่ผงหมึกก็ยังแพงอยู่
เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต ( Ink-jet Printer ) เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีการทางานโดยอาศัยน้าหมึกพ่น
ลงไปบนกระดาษตรงจุดที่ต้องการ และสามารถเลือกใช้ได้ทั้งหมึกสีและขาวดา เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก
อาจมีทั้งแบบราคาถูกที่ใช้งานตามบ้านทั่วไปสาหรับพิมพ์เอกสารที่ต้องการความสวยงาม เช่น ภาพถ่าย
โปสการ์ด ปฏิทิน หรือพิมพ์บนกระดาษแบบพิเศษแล้วนาไปติดกับเสื้อผ้าหรือแก้วกาแฟ หรืออาจพบเห็น
ได้กับเครื่องพิมพ์ในบางรุ่นที่นิยมใช้กันในงานธุรกิจ เช่น งานพิมพ์โปสเตอร์หรือภาพสีขนาดใหญ่ แต่ก็มี
ราคาที่แพงตามไปด้วย
24
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
พลอตเตอร์ ( Plotter ) เป็นเครื่องพิมพ์เพื่อแสดงผลลัพธ์อีกประเภทหนึ่ง มักใช้กับการพิมพ์
เอกสารที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่มากและไม่สามารถพิมพ์ด้วยเครื่องขนาดเล็กได้ การทางานใช้กลไกบังคับ
ปากกาให้ขีดลงบนกระดาษโดยตรง ส่วนใหญ่เป็นเอกสารที่ต้องการความละเอียดสูง เช่น ภาพโฆษณา
แผนที่ แผนผัง แบบแปลน เป็นต้น อย่างไรก็ดีอาจพบเห็นเครื่องพลอตเตอร์นี้ค่อนข้างน้อยในปัจจุบัน
เนื่องจากเครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ตได้เข้ามาแทนที่เกือบหมดแล้ว
3. อุปกรณ์ขับเสียง ( Audio Device )
ลาโพง ( Speaker ) ข้อมูลที่เป็นแบบเสียงจะไม่สามารถแสดงผลลัพธ์ไปยังจอภาพของ
คอมพิวเตอร์ได้ แต่จะอาศัยอุปกรณ์แสดงผลเฉพาะที่เรียกว่า ลาโพง ( speaker ) เพื่อช่วยขับเสียงออก
ปัจจุบันมีราคาถูกมากตั้งแต่ร้อยกว่าบาทจนถึงหลักพัน นิยมใช้สาหรับการแสดงผลในรูปของเสียงเพลง
หรือเสียงประกอบในภาพยนตร์รวมถึงเสียงที่ได้จากการพูดผ่านไมโครโฟน
หูฟัง ( Headphone ) เป็นอุปกรณ์สาหรับรับฟังข้อมูลประเภทเสียงเช่นเดียวกัน นิยมใช้สาหรับการ
ฟังเสียง เช่น ฟังเพลง หรือเสียงประกอบภาพยนตร์ที่เป็นแบบส่วนตัว ในบางรุ่นอาจพบได้ทั้งหูฟังและ
25
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved
ไมโครโฟนอยู่ในตัวเดียวกัน มีให้เลือกหลายชนิดทั้งแบบที่มีสายเชื่อมต่อและแบบไร้สาย ราคาของหูฟัง
อาจจะมีตั้งแต่ราคาไม่กี่ร้อยบาทจนถึงหลักพัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและยี่ห้อของบริษัทผู้ผลิตด้วย
โดยปกติทั้งหูฟังและลาโพงจะต่อสัญญาณเสียงแบบอนาล็อก ( analog ) คือสัญญาณเสียงทั่ว ๆ
ไปเหมือนในวิทยุหรือโทรทัศน์ จากช่องเสียบสัญญาณที่ซาวด์การ์ดในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่มีลาโพงและ
หูฟังบางแบบอาจใช้การต่อสัญญาณเสียงในแบบดิจิตอลจากพอร์ตUSB ของเครื่องออกมาแทน แล้วแปลง
กลับเป็นเสียงแบบที่เราได้ยินกัน โดยใช้วงจรภายในตัวเอง ซึ่งจะลดเสียงรบกวนจากอุปกรณ์อื่น ๆ ใน
คอมพิวเตอร์ แต่หูฟังหรือลาโพงแบบนี้ก็จะมีราคาแพงกว่า

More Related Content

What's hot

บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4tttotongg
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)micwatcharapong
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์micwatcharapong
 
อบรมวินโดว์ เทียนฟ้า
อบรมวินโดว์ เทียนฟ้าอบรมวินโดว์ เทียนฟ้า
อบรมวินโดว์ เทียนฟ้าThana Boon
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Oh Aeey
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์Guntima Pisaidsin
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์korn27122540
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Rijin7
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์Pises Tantimala
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2Owat
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์kruchanon2555
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์Guntima Pisaidsin
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์Rijin7
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์Kainuy Supranee Thiabpo
 

What's hot (18)

บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อบรมวินโดว์ เทียนฟ้า
อบรมวินโดว์ เทียนฟ้าอบรมวินโดว์ เทียนฟ้า
อบรมวินโดว์ เทียนฟ้า
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
H wintegration
H wintegrationH wintegration
H wintegration
 
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่5การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
Work3 48
Work3 48Work3 48
Work3 48
 
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ภายนอกของคอมพิวเตอร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 

Similar to IT-work3-20

นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์kruchanon2555
 
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...greatncr
 
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...greatncr
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Jab Zaa
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1mod2may
 
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลbellbodin3
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Chatree MChatree
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์krujee
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...soontornnamsain
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptxเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptxohmzariffer
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdfเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdfohmzariffer
 

Similar to IT-work3-20 (20)

คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
นวัตกรรม เรื่อง ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์
 
IT-2-55
IT-2-55IT-2-55
IT-2-55
 
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
 
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
À¸®à¸²à¸£à¹œà¸”แวร๜และอุปกรณ๜a...
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
%Ba%b7%b7%d5%e8 1 %a4%c7%d2%c1%c3%d9%e9%e0%ba%d7%e9ͧ%b5%e9%b9%e0%a1%d5%e8%c2ǡ...
 
Work3-43
Work3-43Work3-43
Work3-43
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptxเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pptx
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdfเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ pdf
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 

IT-work3-20

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved บทที่3
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ฮาร์ดแวร์ หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบขึ้นเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่าง สามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูล สารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมีหน้าที่การทางานแตกต่างกัน 1. ฮาร์ดแวร์สาคัญที่พบใน Case ได้แก่ 1.1 Power Supply 1.2 Mainboard และ ฮาร์ดแวร์ที่ติดตั้งหรือเป็นส่วนหนึ่งของ Mainboard ที่สาคัญ ได้แก่ 1.2.1 CPU 1.2.2 RAM 1.2.3 Expansion Slots 1.2.4 Ports 1.3 Hard Disk 1.4 Floppy Disk Drive 1.5 CD-ROM Drive 1.6 DVD-ROM Drive 1.7 Sound Card 1.8 Network Card 2. ฮาร์ดแวร์สาคัญที่อยู่นอก Case ที่สาคัญได้แก่ 2.1 Keyboard 2.2 Monitor 2.3 Mouse 2.4 Printer 2.5 Scanner 2.6 Digital Camera 2.7 Modem 2.8 UPS ความหมายของฮาร์ดแวร์
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เคส (Case) คือ ส่วนที่เป็นกล่องหรือตัวถังสาหรับบรรจุแผ่นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ตัวจ่ายไฟและอุปกรณ์ต่างๆ ของ คอมพิวเตอร์ให้เป็นระเบียบ เพื่อป้องกันการรั่วไหลของกระแสไฟฟ้า และป้องกันอุปกรณ์ภายในไม่ เสียหายจากแมลง หรือฝุ่นละอองต่างๆ เคสที่ดีไม่ใช่แค่สวยงามเท่านั้น แต่ต้องออกแบบให้ระบายความ ร้อนได้ดีอีกด้วย ปัจจุบัน Case มี 2 แบบ คือ แบบนอน (เรียกว่า Desktop ) และ แบบตั้ง (Tower) Case แบบนอน สามารถนาจอภาพมาตั้งไว้ข้างบนได้ เหมาะสาหรับผู้ที่มีเนื้อที่จากัดที่จะวาง เครื่องคอมพิวเตอร์ แต่มีข้อเสียที่ภายในมีเนื้อที่จากัด อาจเป็นอุปสรรค์เมื่อต้องการเพิ่มฮาร์ดแวร์ภายหลัง อย่างไรก็ตาม Case แบบนอนบางยี่ห้ออาจออกแบบมาดีจนเรื่องนี้ไม่ใช่อุปสรรคก็ได้ Case แบบตั้ง เปลืองเนื้อที่กว่า เพราะไม่สามารถวางจอภาพไว้ข้างบนได้ แต่มีข้อได้เปรียบ Case แบบนอน คือเนื้อที่ข้างในมากกว่า จึงเพิ่มฮาร์ดแวร์ได้มากชิ้นกว่า แต่อย่างที่กล่าวแล้วข้างบน ทั้งหมดขึ้นอยู่กับการออกแบบ Case แบบตั้งหากออกแบบไม่ดี อาจมีเนื้อที่เหลือให้เพิ่มฮาร์ดแวร์น้อยกว่า แบบนอนก็ได้ อุปกรณ์นาเข้า(Input Device) อุปกรณ์นาเข้า (InputDevice) เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการนาข้อมูลหรือชุดคาสั่งเข้ามายังระบบเพื่อให้ คอมพิวเตอร์ประมวลผลต่อไปได้ ซึ่งอาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร ภาพกราฟิก เสียง หรือวิดีโอ เป็นต้น อุปกรณ์นาข้อมูลเข้าที่พบเห็นได้ในปัจจุบันพอจะยกตัวอย่างได้ดังนี้ 1. อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) 1.1 คีย์บอร์ด (Keyboard) เป็นอุปกรณ์นาข้อมูลเข้าที่นิยมใช้กันมากที่สุดและพบเห็นในการใช้ งานทั่วไป โดยรับข้อมูลป้อนเข้าที่เป็นตัวอักษร อักขระพิเศษ ตัวเลข รวมถึงชุดคาสั่งต่าง ๆ ตัวอุปกรณ์จะ มีกลุ่มของแป้นพิมพ์วางเรียงต่อกันเหมือนกับเครื่องพิมพ์ดีด ผู้ใช้งานสามารถเลือกกดปุ่มใด ๆ ได้ทันที โดยข้อมูลทั้งหมดที่ป้อนเข้ามาจะถูกส่งเข้าไปเก็บยังหน่วยความจาของระบบและแปลงให้เป็นรหัสที่ คอมพิวเตอร์เข้าใจเสียก่อน จากนั้นจึงจะนาไปประมวลผลต่อไป ปัจจุบันอาจพบเห็นคีย์บอร์ดประเภทต่าง ๆ ได้ดังนี้
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved (1) คีย์บอร์ดมาตรฐาน ( Standard keyboard ) เป็นคีย์บอร์ดที่นิยมใช้กันโดยทั่วไป มี ลักษณะคล้ายกับแป้นพิมพ์บนเครื่องพิมพ์ดีด โดยปกติจะประกอบด้วยกลุ่มของแป้นพิมพ์หลัก ๆ ดังต่อไปนี้ • แป้นพิมพ์ตัวอักขระ ( alphabetic key ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์ซึ่งมีบริเวณใหญ่ที่สุด ประกอบด้วยแผงอักขระสาหรับการป้อนข้อมูลที่มีทั้งตัวอักษร ตัวเลขและอักขระแบบพิเศษทั่วไป • แป้นสาหรับควบคุมทิศทาง ( cursor-movement key ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์สาหรับควบคุม ทิศทางการเคลื่อนที่ของเคอร์เซอร์และเปลี่ยนจุดหรือบริเวณการทางาน • แป้นฟังก์ชัน ( function key ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์สาหรับการเลือกคาสั่งลัดที่มีอยู่ในบาง ประเภท แป้นเหล่านี้จะอยู่บนแถวแรกสุดของคีย์บอร์ด • แป้นควบคุม ( control key ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์สาหรับสั่งการบางอย่างร่วมกับปุ่มอื่น ๆ บางครั้งนิยมเรียกว่า modifier keys เช่นCtrl , Alt , Shift เป็นต้น • แป้นป้อนข้อมูลตัวเลข ( numeric keypad ) เป็นกลุ่มของแป้นพิมพ์สาหรับการป้อนค่าข้อมูลที่เป็น ตัวเลขเพื่อช่วยในการบันทึกข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น การป้อนข้อมูลเพื่อคานวณหรือหาผลลัพธ์ ทางบัญชี (2) คีย์บอร์ดติดตั้งภายใน ( Built-in keyboard ) เป็นคีย์บอร์ดที่ปรับขนาดของแป้นพิมพ์ให้ เล็กลง พบเห็นในการใช้งานกับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ประเภทพกพา เช่น โน๊ตบุ๊คหรือเดสก์โน๊ต ซึ่งมีพื้นที่ ในการใช้งานค่อนข้างจากัด แป้นพิมพ์นี้จะถูกติดตั้งมาพร้อมกับการผลิตเครื่องอยู่แล้ว
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved (3)คีย์บอร์ดเออร์โกโนมิกส์ ( Ergonomic keyboard ) เป็นคีย์บอร์ดที่มีการออกแบบโดย คานึงถึงความสะดวกสบายและความปลอดภัยของผู้ใช้งานเป็นหลัก เนื่องจากการป้อนข้อมูลเป็นเวลานาน ๆ อาจจะทาให้เกิดความเมื่อยล้าจากการพิมพ์จนเกิดการบาดเจ็บเนื่องจากเส้นอักเสบได้ จึงมีการ ออกแบบแป้นพิมพ์ใหม่ เช่น เพิ่มอุปกรณ์สาหรับการวางมือและออกแบบทิศทางสาหรับการจัดวาง แป้นพิมพ์ใหม่ให้สัมพันธ์กับสรีระของมนุษย์มากขึ้น ปัจจุบันจะพบเห็นคีย์บอร์ดชนิดนี้เข้ามาแทนที่ คีย์บอร์ดมาตรฐานกันมากขึ้น เนื่องจากช่วยลดปัญหาในเรื่องการบาดเจ็บของข้อมือได้เป็นอย่างดี (4) คีย์บอร์ดไร้สาย ( Cordless keyboard ) คีย์บอร์ดแบบมาตรฐานที่ใช้กันทั่วไป อาจไม่มี ความสะดวกสบายมากพอเมื่อต้องการใช้งานในระยะที่ไกลจากโต๊ะทางาน อีกทั้งการดึง ย้าย หรือเปลี่ยนที่ ของอุปกรณ์ยังทาให้เกิดความยุ่งยาก เนื่องจากตัวสายของคีย์บอร์ดเชื่อมต่ออยู่กับตัวเครื่องตลอดเวลา เมื่อเกิดหลุดก็ไม่สามารถทางานต่อไปได้ ดังนั้นจึงได้มีการคิดค้นเพื่อสร้างคีย์บอร์ดแบบใหม่ที่อาศัยการ ส่งผ่านข้อมูลโดยเทคโนโลยีไร้สายขึ้นและทางานโดยใช้พลังงานแบตเตอรี่แทน ทาให้สามารถย้าย คีย์บอร์ดไปวางยังตาแหน่งใด ๆ ที่อยู่ในรัศมีของสัญญาณนอกเหนือจากโต๊ะทางานได้ (5)คีย์บอร์ดพกพา ( Portable keyboard ) เมื่ออุปกรณ์ประเภทเครื่องพีดีเอได้รับความนิยม มากยิ่งขึ้น การทางานบางอย่างที่ต้องอาศัยการป้อนข้อมูลเข้าไป เช่น พิมพ์ข้อความรายงาน จดหมายหรือ บันทึกการประชุม จะเกิดความไม่สะดวก เพราะตัวเครื่องมีขนาดเล็ก หากใช้ปากกาช่วยเขียนก็จะทาได้ช้า กว่า จึงมีการสร้างคีย์บอร์ดที่สามารถพกพาไปยังที่ต่าง ๆ ได้ง่ายขึ้น เพียงแค่กางออกมาก็สามารถใช้ได้ เหมือนกับคีย์บอร์ดปกติ
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved (6) คีย์บอร์ดเสมือน ( Virtual keyboard ) เป็นอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้นสาหรับใช้ร่วมกับเครื่อง พีดีเอเช่นเดียวกันกับคีย์บอร์ดพกพา แต่ต่างกันตรงที่มีการจาลองภาพให้เป็นเสมือนคีย์บอร์ดจริง โดย อาศัยการทางานของแสงเลเซอร์ยิงลงไปบนโต๊ะหรืออุปกรณ์รองรับสัญญาณที่เป็นพื้นผิวเรียบ เมื่อ ต้องการใช้งานก็สามารถพิมพ์หรือป้อนข้อมูลที่เห็นเป็นภาพเหมือนแผงแป้นพิมพ์นั้นเข้าไปได้เลย ตัวรับ แสงในอุปกรณ์จะตรวจจับได้เองว่าผู้ใช้วางนิ้วไหนไปกดตรงตัวอักษรใด 2. อุปกรณ์ชี้ตาแหน่ง (Pointing Device) 2.1 เมาส์ ( Mouse ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ชี้ตาแหน่งการทางานรวมถึงสั่งการให้คอมพิวเตอร์ทางานบาง คาสั่งที่มีการโต้ตอบกันระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์ โดยใช้มือเป็นตัวบังคับทิศทางและใช้นิ้วสาหรับการกด เลือกคาสั่งงาน สามารถพบเห็นได้ 2 ประเภท ดังนี้ เมาส์แบบทั่วไป ( Mechanical mouse ) เป็นเมาส์ที่ได้รับการออกแบบโดยใช้ลูกบอลเป็น ตัวจับทิศทางที่เมาส์เลื่อนไป ลูกบอลของเมาส์มีลักษณะเป็นลูกกลม ๆ ทาจากยางกลิ้งอยู่ด้านล่าง ซึ่งจะ ลากผ่านแผ่นรองเมาส์ ( mouse pad ) และกลไกภายในจะจับได้ว่ามีการเลื่อนไปมากน้อยแค่ไหนและใน ทิศใด สาหรับส่วนบนจะมีปุ่มให้เลือกกดประมาณ 2-3 ปุ่ม ขึ้นอยู่กับบริษัทผู้ผลิต บางแบบอาจมีปุ่มล้อที่ หมุน (scroll ) และกดได้เพื่อควบคุมการทางานขึ้นลงของสโครลบาร์ในหน้าต่างโปรแกรมบางประเภท
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เมาส์แบบแสงหรือออปติคอลเมาส์ ( Optical mouse ) การใช้เมาส์แบบทั่วไปที่ใช้ลูก บอล มีข้อเสียคือ เมื่อใช้ไปนาน ๆ ลูกบอลจะกลิ้งผ่านและเก็บเอาฝุ่นละอองเข้าไปด้วย ฝุ่นเหล่านี้จะจับตัว กันหนาขึ้น ส่งผลให้กลไกในการทางานผิดเพี้ยนไปมาก จึงมีการสร้างเมาส์แบบใหม่ขึ้นมาเรียกว่า เมาส์ แบบแสง หรือ ออปติคอลเมาส์ เพื่อใช้แก้ปัญหานี้ เมาส์แบบใหม่นี้ทางานได้โดยไม่ต้องใช้ล้อหมุนแต่ใช้ แสงไปกระทบพื้นผิวด้านล่าง วงจรภายในจะวิเคราะห์แสงสะท้อนที่เปลี่ยนไปเมื่อเลื่อนเมาส์และแปลง ทิศทางเป็นการชี้ตาแหน่ง ซึ่งปัจจุบันมีทั้งที่เป็นแบบต่อกับคอมพิวเตอร์โดยใช้สายและแบบไม่ใช้สาย 2.2 ลูกกลมควบคุม (Track ball) เป็นอุปกรณ์ที่มีหลักการทางานคล้ายกับเมาส์ โดยมีลูกบอล ติดตั้งไว้ส่วนบนเพื่อใช้สาหรับควบคุมทิศทาง เมื่อผู้ใช้หมุนลูกบอลก็คือการย้ายตาแหน่งตัวชี้นั่นเอง ลักษณะของลูกบอลมีขนาดใหญ่กว่าเมาส์มาก ส่วนใหญ่จะนาไปใช้ติดตั้งแยกต่างหาก เพื่อช่วยให้การ ทางานกับคอมพิวเตอร์แบบพกพาสะดวกมากยิ่งขึ้น ในบางรุ่นอาจติดตั้งแทรคบอลอยู่ไว้ภายในด้วย แต่ ปัจจุบันไม่ค่อยนิยมใช้กันแล้ว
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2.3 แท่งชี้ควบคุมหรือพอยติงสติ๊ก ( Pointing stick ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับชี้ตาแหน่งข้อมูล เช่นเดียวกัน มีลักษณะเป็นก้อนเล็ก ๆ คล้ายกับยางลบดินสอ จะติดตั้งอยู่ตรงส่วนกลางของแป้นพิมพ์ใน คอมพิวเตอร์แบบพกพา การควบคุมทิศทางของตัวชี้จะใช้นิ้วมือเป็นตัวบังคับเพื่อเลื่อนทางานเช่นเดียวกัน โดยเมื่อดันให้แท่งนี้โยกไปทิศทางใด ลูกศรบนจอก็จะเลื่อนไปในทิศทางนั้น 2.4 จอยสติ๊ก ( Joystick ) เป็นอุปกรณ์ที่พบเห็นได้กับการทางานที่เกี่ยวข้องกับเกม คอมพิวเตอร์เป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากการใช้เมาส์เพื่อบังคับทิศทางนั้นอาจไม่รองรับกับรูปแบบของบางเกม ได้ จึงนาเอาจอยสติ๊กมาใช้แทน เช่น การบังคับทิศทางซ้าย ขวา หน้า หลัง หรือบังคับทิศทางในระดับ องศาที่แตกต่างกันในการควบคุมอากาศยานหรือท่าต่อสู้ของตัวละคร ซึ่งทาให้เกมมีความสมจริงมากกว่า การใช้เมาส์นั่นเอง 2.5 แผ่นรองสัมผัสหรือทัชแพด ( Touch pad ) เป็นอุปกรณ์ที่มีลักษณะเป็นแผ่นสี่เหลี่ยม บาง ๆ ติดตั้งไว้อยู่ในคอมพิวเตอร์แบบพกพา เพื่อใช้ทางานแทนเมาส์ เมื่อกดสัมผัสหรือใช้นิ้วลากผ่าน บริเวณดังกล่าวก็สามารถทางานแทนกันได้ โดยมากจะติดตั้งไว้บริเวณด้านล่างของแป้นพิมพ์
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2.6 จอสัมผัสหรือทัชสกรีน ( Touch screen ) เป็นอุปกรณ์ที่สามารถใช้นิ้วมือแตะบังคับหรือ สั่งการไปยังหน้าจอคอมพิวเตอร์ได้เลย โดยไม่จาเป็นต้องใช้เมาส์หรือแป้นพิมพ์ มักพบเห็นได้ตามตู้ ให้บริการข้อมูลนักท่องเที่ยว ตู้ ATM บางธนาคาร เครื่องออกบัตรโดยสาร รถไฟฟ้า หรือพบเห็นในตู้เกม บางประเภท เช่น เกมประเภทจับผิดภาพ เกมประเภททานายดวงชะตา เป็นต้น 2.7 พวงมาลัยพังคับทิศทาง (Wheel) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้กับการเล่นเกมเหมือนกับจอยสติ๊ก พบเห็นได้กับเกมจาลองประเภทแข่งรถหรือควบคุมทิศทางของยานพาหนะ มีลักษณะเหมือนกับ พวงมาลัยบังคับทิศทางในรถยนต์จริง เพื่อให้เกมจาลองนั้น ๆ มีความสมจริงมากยิ่งขึ้น อาจมีการใช้งาน ร่วมกับอุปกรณ์เหยียบเบรกจาลอง ( pedal ) และตัวเร่งความเร็วจาลอง ( accelerator ) ด้วย 3. ประเภทปากกา ( Pen-Based Device ) 3.1 ปากกาแสง ( Light pen ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับการกาหนดตาแหน่งบนจอภาพรวมถึงการป้อน ข้อมูลเข้าแทนแป้นพิมพ์ เอามาใช้เขียนหรือวางตาแหน่งบนจอภาพคอมพิวเตอร์ประเภทที่ใช้หลอดภาพ หรือ CRT ได้เลย มักใช้ร่วมกับโปรแกรมประเภทช่วยการออกแบบหรือ CAD (computer aided design) เพื่อให้การทางานมีความสะดวกมากยิ่งขึ้น เนื่องจากสามารถลากหรือวาดทิศทางได้ง่าย แต่มี ความละเอียดแม่นยาไม่สูงนัก เพราะถูกจากัดด้วยความละเอียดของจอภาพ ปัจจุบันได้รับความนิยม น้อยลง
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 3.2 ดิจิไทเซอร์ ( Digitizer ) หรืออุปกรณ์อ่านพิกัด มักใช้ร่วมกับอุปกรณ์ประเภทปากกาหรือในงาน ความละเอียดสูงจะใช้กับหัวอ่านที่เป็นกากบาทเส้นบาง ( crosshair ) เพื่อให้ชี้ตาแหน่งโดยละเอียด ทา หน้าที่เป็นเสมือนกระดานรองรับการเขียนข้อความ วาดภาพหรือออกแบบงานที่เกี่ยวกับกราฟิกเป็นหลัก ทาให้มีความคล่องตัวและสะดวกต่อการใช้งานมากยิ่งขึ้น 3.3 สไตลัส ( Stylus ) เป็นอุปกรณ์ประเภทปากกาป้อนข้อมูลชนิดหนึ่งที่นิยมใช้กันมากใน คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เช่น พีดีเอ แท็บเล็ตพีซี หรืออาจพบเห็นในสมาร์ทโฟนบางรุ่น ผลิตมาเพื่อใช้เขียน หนังสือด้วยลายมือหรือวาดเส้นลงบนหน้าจออุปกรณ์ได้โดยตรง ซึ่งปัจจุบันมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ อานวยความสะดวกในการทางานมากยิ่งขึ้น โดยจะทาหน้าที่แปลงรหัสในการเขียน (ที่คล้ายจดชวเลขใน สมัยก่อน) ไปเป็นตัวอักษรที่คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลและใช้งานต่อได้ทันที เช่น นาไปจัดเก็บใน สมุดรายชื่อ หรือเก็บบันทึกข้อความที่เขียนไว้เป็นไฟล์เพื่อเรียกใช้งานต่อไป 4. ประเภทข้อมูลมัลติมีเดีย ( Multimedia Input Device)
  • 11. 11 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 4.1 ไมโครโฟน ( Microphone ) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลประเภทเสียงพูด ( Voice ) เข้าสู่ระบบ ใช้ บันทึกหรืออัดข้อมูลเสียงในสตูดิโอหรือตามบ้านทั่วไป การทางานจะใช้ร่วมกับซอฟต์แวร์ด้านมัลติมีเดีย นอกจากนี้ไมโครโฟนยังสามารถใช้ร่วมกับระบบจดจาเสียงพูดหรือvoice recognition (แต่ในขณะนี้ยังไม่ สนับสนุนเสียงภาษาไทย) เพื่อทางานบางอย่างได้ เช่น ใช้เสียงพูดผ่านไมโครโฟนเข้าไปแทนการพิมพ์ ข้อมูลรายงานได้เลย โดยที่คอมพิวเตอร์จะทาการแปลงความหมายและประมวลผลผ่านเสียงที่ผ่านเข้ามา เป็นตัวอักษรโดยอัตโนมัติ เป็นต้น 4.2 กล้องถ่ายวิดีโอดิจิตอล ( Digital Video camera ) เรียกย่อ ๆ ว่ากล้องประเภท DV ซึ่งเป็น กล้องวิดีโอแบบดิจิตอลนั่นเอง กล้องประเภทนี้สามารถถ่ายภาพเคลื่อนไหวและบันทึกเก็บหรือโอนถ่ายลง คอมพิวเตอร์ได้เช่นเดียวกัน แต่จาเป็นต้องใช้พื้นที่เก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่พอสมควร โดยมากจะบันทึกลง เทปขนาดเล็กในรูปแบบดิจิตอลก่อน (บางรุ่นอาจลงแผ่น CD-R หรือ DVD-R ที่บันทึกได้แทน) จากนั้นจะ ถ่ายโอนวิดีโอไปลงคอมพิวเตอร์ หรือจะเรียกดูภายหลังจากในกล้องก็ได้ 4.3 กล้องถ่ายรูปดิจิตอล ( Digital camera ) เป็นอุปกรณ์รับข้อมูลประเภทภาพถ่ายดิจิตอล ซึ่ง ปัจจุบันได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากราคาของกล้องประเภทนี้ถูกลงและสามารถบันทึกเก็บหรือ ถ่ายโอนลงคอมพิวเตอร์ได้โดยง่าย อีกทั้งภาพถ่ายที่ได้ในกล้องบางรุ่นยังมีความละเอียด ความคมชัด เทียบเคียงหรือมากกว่ากล้องธรรมดาบางรุ่น หรือหากจะนาไปอัดขยายต่อเป็นภาพถ่ายปกติก็สามารถทา ได้เช่นเดียวกัน
  • 12. 12 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 4.4 เว็บแคม ( Web cam ) เป็นกล้องถ่ายวิดีโออีกประเภทหนึ่งที่ใช้สาหรับการถ่ายภาพ เคลื่อนไหวเช่นเดียวกัน แต่ภาพที่ได้จะหยาบและมีขนาดไฟล์เล็กกว่ากล้องแบบ DV มาก จึงนิยมใช้ สาหรับการเผยแพร่ข้อมูลลงบนอินเทอร์เน็ตหรือนาไปใช้ประโยชน์กับโปรแกรมสนทนาบนเว็บบาง ประเภท เพื่อให้เห็นหน้าตาของคู่สนทนาระหว่างที่พิมพ์โต้ตอบกัน ปัจจุบันเว็บแคมมีราคาถูกลงอย่างมาก และยังสามารถบันทึกได้ทั้งภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่งด้วย 5. ประเภทสแกนและอ่านข้อมูลด้วยแสง(Scanner and Optical Reader) 5.1 สแกนเนอร์ ( Scanner ) เป็นอุปกรณ์อ่านข้อมูลประเภทภาพถ่าย โดยผู้ใช้เพียงแค่วางภาพถ่าย หรือเอกสารลงไปบนแท่นวางแล้วสั่งให้เครื่องอ่านหรือสแกน ก็สามารถเก็บรูปภาพหรือเอกสารสาคัญต่าง ๆ เหล่านั้นไว้ในคอมพิวเตอร์ได้ หลักการทางานจะเหมือนกับเครื่องถ่ายเอกสารคือ ใช้ลาแสงกวาด แผ่นกระดาษหรือเอกสารนั้น แล้วส่งภาพเข้าคอมพิวเตอร์เพื่อแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอลและเรียกใช้ต่อไป 5.2 โอเอ็มอาร์ ( OMR – Optical Mark Reader ) เป็นเครื่องที่นาไปใช้ประโยชน์ในการ ตรวจข้อสอบหรือคะแนนของกลุ่มบุคคลจานวนมาก เช่น การสอบเอ็นทรานซ์ การสอบวัดระดับ
  • 13. 13 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ภาษาอังกฤษ การสอบเข้ารับราชการของสานักงาน ก.พ. โดยจะอ่านเครื่องหมาย (Mark ) ที่ผู้เข้าสอบได้ ระบายไว้ในกระดาษคาตอบ ซึ่งโดยปกติจะต้องใช้ดินสอที่มีความเข้มมากพอที่จะให้เครื่องอ่านได้ (ปกติจะ อยู่ที่ความเข้มระดับ 2 B ขึ้นไป) หากใช้ดินสอที่มีความเข้มต่ากว่าระดับที่กาหนด อาจทาให้เครื่องไม่ สามารถอ่านได้ชัดเจน 5.3 เครื่องอ่านบาร์โค้ด ( Bar code reader ) ตัวเลขของรหัสสินค้าที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลของ ระบบสินค้าคงคลังจะมีจานวนหลักค่อนข้างมาก เมื่อต้องการเรียกใช้หรือตรวจสอบโดยการป้อนข้อมูลผ่าน แป้นพิมพ์จะทาให้เกิดความผิดพลาดได้ง่าย (เช่น ป้อนตัวเลขผิด) จึงเกิดแนวความคิดในการพิมพ์ รหัสสินค้าออกมาเป็นรหัสแท่งสีดาและขาวต่อเนื่องกันไปเรียกว่า บาร์โค้ด ( bar code ) ซึ่งนาไปใช้พิมพ์ แทนรหัสตัวเลขของสินค้าอุปโภค บริโภคทั่วไป เพื่อสะดวกต่อการตรวจเช็คข้อมูลสินค้าคงเหลือรวมไปถึง การคิดเงินนั่นเอง เครื่องที่อ่านรหัสนี้เราเรียกว่า เครื่องอ่านบาร์โค้ด ( bar code reader ) มีหลายรูปแบบ เช่น หัวอ่านมีด้ามจับคล้ายปืน หรือบางแบบก็ฝังในแท่นของเครื่องเก็บเงินสดเลย พบเห็นได้ตามจุด บริการขาย ( POS – Point Of Sale ) ในร้านอาหาร ร้านสะดวกซื้อ หรือห้างสรรพสินค้าทั่วไป 5.4 เอ็มไอซีอาร์ ( MICR – Magnetic-Ink Character Recognition ) เรียกย่อ ๆ ว่าเครื่อง เอ็ม ไอซีอาร์ ( MICR – Magnetic-Ink Character Recognition ) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้อ่านตัวอักษรด้วยแสงของ เอกสารสาคัญ เช่น เช็คธนาคาร ซึ่งมีการพิมพ์หมายเลขเช็คด้วยผงหมึกสารแม่เหล็ก ( magnetic ink ) เป็นแบบอักษรเฉพาะ มีลักษณะเป็นลายเส้นเหลี่ยม (ดังรูป) พบเห็นได้ในการประมวลผลเช็คสาหรับ ธุรกิจด้านธนาคาร
  • 14. 14 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 6. ประเภทตรวจสอบข้อมูลทางกายภาพ ( Biometric Input Device ) ไบโอเมตริกส์ ( biometric ) เป็นลักษณะของการตรวจสอบข้อมูลส่วนตัวบุคคลเฉพาะอย่าง เช่น ลายนิ้วมือ รูปแบบของม่านตา (เรตินา -ratina ) ฝ่ามือ หรือแม้กระทั่งเสียงพูด ซึ่งนามาใช้กับงานป้องกัน และรักษาความปลอดภัยในหน่วยงานที่ต้องการความปลอดภัยในระดับสูง เนื่องจากระบบการตรวจสอบ ประเภทนี้จะปลอมแปลงได้ยาก เครื่องที่ใช้อ่านข้อมูลพวกนี้จะมีอยู่หลายประเภทขึ้นอยู่กับลักษณะการ ตรวจสอบ เช่น เครื่องอ่านลายนิ้วมือ เครื่องตรวจม่านตา เครื่องวิเคราะห์เสียงพูด เป็นต้น อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประมวลผลหลักๆดังนี้ ซีพียู (CPU) คือ อุปกรณ์ตัวหนึ่งที่มีความสาคัญและจาเป็นในการทางานของคอมพิวเตอร์ซึ่ง อาจจะเรียกว่าเป็นหัวใจของคอมพิวเตอร์เลยก็ได้ ซีพียู เป็นตัวควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่างๆ ไม่ว่า จะเป็นอุปกรณ์ที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ต่อพ่วงที่ต่อร่วมกับคอมพิวเตอร์ โดย จะเป็นตัวกาหนด ความสาคัญของอุปกรณ์ว่าตัวใดมีความสาคัญมากกว่าซึ่งหากติดตั้งอุปกรณ์ 2 ตัวที่อินเทอรัพ, การแจ้ง กับซีพียูว่าจะขอเฉพาะอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากกว่าเท่านั้น ส่วนตัวที่สาคัญน้อยกว่าจะไม่สามารถใช้ อุปกรณ์ประมวลผล(Process Device)
  • 15. 15 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved งานได้ เช่น ถ้าเราต่อการ์ดจอภาพกับการ์ดเสียงที่อินเทอรัพเดียวกัน ซีพียู จะเลือกให้ใช้ได้เฉพาะการ์ด จอภาพเท่านั้น หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็น อุปกรณ์ ที่มีความสาคัญมากที่สุด ของฮาร์ดแวร์เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ผู้ใช้ป้อน เข้ามา ทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคาสั่งหรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วย หน่วยความจาหลัก(Primary Storage) แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. หน่วยความจาหลักแบบอ่านได้อย่างเดียว (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจาแบบสารกึ่งตัวนาชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็นสื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึกซ้าได้ (อย่างง่ายๆ) เป็นความจาที่ซอฟต์แวร์หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะ นามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจาประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่ หายไปจากน่วยความจา (nonvolatile) โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีการแก้ไขอีกแล้วเช่น เก็บ โปรแกรมไบออส (Basic Input output System : BIOS) หรือเฟิร์มแวร์ ที่ควบคุมการทางานของ คอมพิวเตอร์ใช้เก็บโปรแกรมการทางานสาหรับเครื่องคิดเลขใช้เก็บโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ที่ทางาน เฉพาะด้าน เช่น ในรถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่องซักผ้า เป็นต้น 2. หน่วยความจาหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory - RAM) เป็นหน่วยความจาหลักที่จาเป็น หน่วยความจา ชนิดนี้จะสามารถเก็บข้อมูลได้ เฉพาะเวลาที่มี กระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้นเมื่อใดก็ตามที่ไม่มีกระแสไฟฟ้า มาเลี้ยง ข็อมูลที่อยู่ภายในหน่วยความจา ชนิดจะหายไปทันที หน่วยควมจาแรม ทาหน้าที่เก็บชุดคาสั่งและข้อมูลที่ระบบคอมพิวเตอร์กาลังทางาน อยู่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นการนาเข้าข้อมูล (Input) หรือ การนาออกข้อมูล (Output) โดยที่เนื้อที่ของ หน่วยความจาหลักแบบแรมนี้ถูกแบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ 1. Input Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลนาเข้าที่ได้รับมาจากหน่วยรับข้อมูลเข้าโดย ข้อมูลนี้จะ ถูกนาไปใช้ในการประมวลผลต่อไป 2. Working Storage Area เป็นส่วนที่เก็บข้อมูลที่อยู่ในระหว่างการประมวลผล 3. Output Storage Area เป็นส่วนที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล ตามความต้องการของผู้ใช้ เพื่อรอที่จะถูกส่งไปแสดงออก ยังหน่วยแสดงผลอื่นที่ผู้ใช้ต้องการ 4. Program Storage Area เป็นส่วนที่ใช้เก็บชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการจะส่งเข้ามา เพื่อใช้ คอมพิวเตอร์ปฏิบัติตามคาสั่ง ชุดดังกล่าว หน่วยควบคุมจะทาหน้าที่ดึงคาสั่งจากส่วน นี้ไปที่ละคาสั่งเพื่อ ทาการแปลความหมาย ว่าคาสั่งนั้นสังให้ทาอะไร จากนั้นหน่วยควบคุม จะไปควบคุมฮาร์ดแวร์ที่ต้องการ ทางานดังกล่าวให้ทางานตามคาสั่งนั้นๆ เมนบอร์ด (Mainboard, mother board)
  • 16. 16 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เมนบอร์ด (Mainboard, mother board) หรือ แผงวงจรหลัก เป็นหัวใจสาคัญที่สุดที่อยู่ภายใน เครื่อง เมื่อเปิดฝาเครื่องออกมาจะเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่วางนอนอยู่ นั่นคือส่วนที่เรียกว่า "เมนบอร์ด" ส่วนประกอบหลักที่สาคัญบนเมนบอร์ดคือ ซ็อคเก็ตสาหรับซีพียู ชิปเซ็ต (Chip set) ซ็อคเก็ตสาหรับหน่วยความจา ระบบบัสและสล็อต Bios สัญญาณนาฬิกาของระบบ ถ่านหรือแบตเตอรี่ ขั้วต่อสายแหล่งจ่ายไฟ ขั้วต่อสวิทช์และไฟหน้าเครื่อง จัมเปอร์สาหรับกาหนดการทางานของ เมนบอร์ด ขั้วต่อ IDE ขั้วต่อ Floppy disk drive พอร์ตอนุกรมและพอร์ตขนาน พอร์ตคีย์บอร์ดและเมาส์ พอร์ต USB ชิปเซต (Chipset) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานต่างๆ ของอุปกรณ์ภายในทั้งหมดที่อยู่เมนบอร์ด (Mainboard) และชิปเซตจะเป็นตัวกาหนดว่าใช่่ร่วมกับซีพียู(Central Processing Unit) ตัวไหน เพราะ ชิปเซตแต่ละตัวนั้นจะถูกออกแบบมาเพื่อรองรับการทางานของซีพียู(Central Processing Unit) ตัวนั้น ให้มีประสิทธิภาพ ชิปเซตนั้นจะมีอยู่ 2 แบบ คือ North Bridge ที่ทาหน้าที่รับ/ส่งการทางานของซีพียู (CPU)และแรม(RAM)และ South Bridge ที่มีขนาด เล็กกว่า North Bridge มีหน้าที่ควบคุมสล็อต PCI , ดิสก์ไดรว์ต่างๆ รวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงทั้งหมดไม่ว่าจะ เป็น คีย์บอร์ดเมาส์ หรือพอร์ตต่างๆ ที่อยู่ด้านหลัง เครื่อง หน่วยเก็บข้อมูลสารอง(Secondary Storage Device) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง ( Secondary Storage Device ) การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์นั้น เมื่อต้องการเก็บบันทึกข้อมูล หรือกลุ่มคาสั่งต่าง ๆ ไว้ใช้ในอนาคตจะไม่สามารถเก็บไว้ในหน่วยความจา หลักได้ เนื่องจากไม่มีพื้นที่เพียงพอ อีกทั้งข้อมูลที่เก็บจะหายไปเมื่อปิดเครื่อง หากต้องการเก็บข้อมูลที่ มากขึ้นและเอาไว้ใช้ประโยชน์ในภายหลัง ก็จาเป็นต้องหาอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น หน่วย เก็บข้อมูลสารอง หรือที่เรียกว่า secondary storage ปัจจุบันมีสื่อที่ผลิตมาสาหรับใช้เก็บข้อมูลสารองหลากหลายชนิด ซึ่งพอจะแบ่งตามรูปแบบของสื่อ ที่เก็บข้อมูลออกได้เป็น 4 ประเภท
  • 17. 17 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 1. สื่อเก็บข้อมูลแบบจานแม่เหล็ก ( Magnetic Disk device ) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลประเภทที่ใช้ งานเป็นลักษณะของจานบันทึก ( disk )ซึ่งมีหลายประเภท ดังนี้ 1.1 ฟล็อปปี้ดิสก์ ( Floppy disks ) สื่อเก็บบันทึกข้อมูลที่ได้รับความนิยมและใช้งานอย่าง แพร่หลาย สามารถหาซื้อใช้ได้ตามร้านขายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ดิสเก็ตต์ ( diskette ) หรือแผ่นดิสก์ การเก็บข้อมูลจะมีจานบันทึก ซึ่งเป็นวัสดุอ่อนจาพวกพลาสติกที่เคลือบสาร แม่เหล็กอยู่ด้านใน และห่อหุ้มด้วยกรอบพลาสติกแข็งอีกชั้นหนึ่ง แผ่นดิสก์ในอดีตจะมีขนาดจานบันทึกที่ ใหญ่มากถึง 5.25 นิ้ว ปัจจุบันไม่ได้รับความนิยมและเลิกใช้งานแล้ว จะเห็นได้เฉพาะขนาด 3.5 นิ้วแทน ซึ่งมีขนาดเล็กและพกพาสะดวกกว่า โครงสร้างการทางานของแผ่นดิสก์จะต้องมีการจัดข้อมูลโดยการ ฟอร์แมต ( format ) เมื่อใช้ครั้งแรกก่อนทุกครั้ง (ปัจจุบันบริษัทผู้ผลิตมักจะมีการฟอร์แมตแผ่นมาตั้งแต่อยู่ ในกระบวนการผลิตแล้ว (ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องทาการฟอร์แมตก่อนใช้งานซ้าอีก) การฟอร์แมตเป็น กระบวนการจัดพื้นที่เก็บไฟล์ข้อมูลก่อนใช้งาน หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ เป็นการเตรียมพื้นที่สาหรับเก็บบันทึก ข้อมูลนั่นเอง โครงสร้างของแผ่นจานแม่เหล็กเมื่อทาการฟอร์แมตแล้วจะมีลักษณะดังนี้ โครงสร้างของดิสก์เมื่อทาการฟอร์แมตแล้ว แทรค ( Track ) เป็นการแบ่งพื้นที่เก็บข้อมูลออกเป็นส่วนตามแนววงกลมรอบแผ่นจาน แม่เหล็ก จะมีมากหรือน้อยวงก็ขึ้นอยู่กับชนิดและประเภทของจานแม่เหล็กนั้น ซึ่งแผ่นแต่ละชนิดจะมี ความหนาแน่นของสารแม่เหล็กแตกต่างกันทาให้ปริมาณความจุข้อมูลที่จะจัดเก็บต่างกันตามไปด้วย เซกเตอร์ ( Sector ) เป็นการแบ่งแทรคออกเป็นส่วน ๆ สาหรับเก็บข้อมูล ซึ่งแต่ละเซกเตอร์ สามารถเก็บข้อมูลได้มากถึง 512 ไบต์ หากเปรียบเทียบแผ่นจานแม่เหล็กเป็นคอนโดมิเนียมหลังหนึ่งแล้ว เซกเตอร์ก็เปรียบได้เหมือนกับห้องพักต่าง ๆ ที่แบ่งให้คนอยู่กันเป็นห้อง ๆ นั่นเอง แผ่นดิสเก็ตต์ที่พบ ทั่วไปในปัจจุบันจะเป็นแบบความจุสูงหรือ high density สามารถเก็บข้อมูลได้ถึง 1.44 MB ซึ่งเราอาจ คานวณหาความจุข้อมูลของแผ่นดิสก์ได้โดยการเอาจานวนด้านของแผ่นจานแม่เหล็ก ( side ) จานวนของ แทรค ( track ) จานวนของเซคเตอร์ในแต่ละแทรค ( sector/track ) และความจุข้อมูลต่อ 1 เซกเตอร์ ( byte/sector ) ว่ามีค่าเป็นเท่าไหร่ แล้วเอาตัวเลขทั้งหมดมาคูณกันก็จะได้ปริมาณความจุข้อมูลในแผ่น ชนิดนั้น ๆ เมื่อเก็บหรือบันทึกข้อมูลแล้วสามารถที่จะป้องกันการเขียนทับใหม่ หรือป้องกันการลบข้อมูลที่
  • 18. 18 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved อาจเกิดขึ้น โดยเลือกใช้ปุ่มเปิด – ปิดการบันทึกที่อยู่ข้าง ๆ แผ่นได้ ซึ่งหากเลื่อนขึ้น (เปิดช่องทะลุ) จะ หมายถึงการป้องกัน ( write-protected ) แต่หากเลื่อนปุ่มลงจะหมายถึง ไม่ต้องป้องกันการเขียนทับข้อมูล ( not write-protected ) นั่นเอง 1.2 ฮาร์ดดิสก์ ( Hard disks ) เป็นอุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูลที่มีโครงสร้างคล้ายกับดิสเก็ตต์ แต่จุข้อมูล มากกว่าและมีความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลสูงกว่า ส่วนใหญ่จะถูกติดตั้งอยู่ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อ ใช้สาหรับเก็บตัวโปรแกรมระบบปฏิบัติการ ( operating system ) รวมถึงโปรแกรมประยุกต์อื่น ๆ ฮาร์ดดิสก์ผลิตมาจากวัสดุแบบแข็งจานวนหลายแผ่นวางเรียงต่อกันเป็นชั้น จานแม่เหล็กแต่ละจาน เรียกว่า แพลตเตอร์ ( platter ) ซึ่งอาจจะมีจานวนต่างกันได้ในฮาร์ดดิสก์แต่ละรุ่น 2. สื่อเก็บข้อมูลแสง ( Optical Storage Device ) เป็นสื่อเก็บข้อมูลสารองที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน ซึ่งใช้หลักการทางานของแสงเข้ามาช่วย การจัดเก็บข้อมูลจะคล้ายกับแผ่นจานแม่เหล็ก แต่ต่างกันที่การแบ่งวงของแทรคจะแบ่งเป็นลักษณะคล้าย รูปก้นหอยและเริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนด้านในออกมาด้านนอก และแบ่งส่วนย่อยของแทรคออกเป็น เซกเตอร์เช่นเดียวกันกับแผ่นจานแม่เหล็ก 2.1 CD (Compact Disc) เป็นสื่อเก็บข้อมูลด้วยแสงแบบแรกที่ไดรับความนิยมอย่าง แพร่หลายและปัจจุบันก็ยังเป็นที่นิยมอยู่ เนื่องจากมีราคาถูกลงกว่าสมัยก่อนมาก ซึ่งแยกออกได้ดังนี้ CD-ROM (Compact disc read only memory) เป็นสื่อเก็บบันทึกข้อมูลที่นิยมใช้สาหรับการเก็บ บันทึกข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการหรือโปรแกรมประยุกต์เพื่อใช้สาหรับติดตั้งใน คอมพิวเตอร์รวมถึงเก็บผลงานไฟล์มัลติมีเดีย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( CAI – computer assisted instruction ) หรือ CD-Training ผู้ใช้สามารถอ่านข้อมูลได้อย่างเดียวแต่ไม่สามารถเขียนหรือ
  • 19. 19 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved บันทึกข้อมูลซ้าได้ สามารถจุข้อมูลได้ถึง 650-750 MB โดยมากแล้วจะเป็นแผ่นที่ปั๊มมาจากโรงงานหรือ บริษัทผู้ผลิตมาแล้ว CD-R (Compact disc recordable) พบเห็นได้ตามร้านจาหน่ายอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั่วไป มี ราคาถูกลงอย่างมาก แผ่นแบบนี้สามารถใช้ไดรซ์เขียนแผ่น ( CD Write ) บันทึกข้อมูลได้และหากเขียน ข้อมูลลงไปแล้วยังไม่เต็มแผ่นก็สามารถเขียนเพิ่มเติมได้ แต่ไม่สามารถลบข้อมูลที่เขียนไว้แล้วได้ เนื่องจากเนื้อที่บนแผ่นแต่ละจุดจะเขียนข้อมูลได้ครั้งเดียว เขียนแล้วเขียนเลยจะลบทิ้งอีกไม่ได้ เหมาะ สาหรับผู้ที่ต้องการบันทึกไฟล์ข้อมูลเพื่อเก็บรักษาทั่วไป เช่น ภาพถ่ายจากกล้องดิจิตอล เพลง mp3 หรือ ไฟล์งานข้อมูลซึ่งในเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนตัว CD-RW (Compact disc rewritable) แผ่นชนิดนี้มีลักษณะหน้าตาเหมือนกับแผ่น CD-R ทุก ประการแต่มีข้อดีกว่าคือ นอกจากเขียนบันทึกข้อมูลได้หลายครั้งแล้ว ยังสามารถลบข้อมูลและเขียนซ้า ใหม่ได้เรื่อย ๆ เหมือนกับการบันทึกและเขียนซ้าของดิสเก็ตต์ อย่างไรก็ตามแผ่น CD-RW ขณะนี้ยังมี ราคาสูงกว่า CD-R อยู่พอสมควร จึงเหมาะสาหรับผู้ที่ต้องการบันทึกข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงบ่อยและ เก็บข้อมูลไว้ในระยะเวลาอันสั้น ไม่ถาวร ซึ่งจะช่วยทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายไปได้มาก เพราะสามารถลบทิ้ง แล้วเขียนใหม่อีกได้ถึงกว่าพันครั้ง 2.2 DVD (Digital Versatile Disc/Digital Video Disc) ผลิตมาเพื่อตอบสนองกับงานเก็บข้อมูล ความจุสูง เช่น เพลงหรืองานมัลติมีเดียเพื่อให้เกิดความสมจริงและคมชัดมากที่สุด การเก็บข้อมูลจะมีการ แบ่งออกเป็นชั้น ๆ เรียกว่า เลเยอร์ (Layer ) และสามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งสองด้าน (sides ) ความจุ ของ DVD จะมีมากกว่า CD หลายเท่าตัว โดยมีตั้งแต่ 4.7 GB - 17 GB การใช้งาน DVD มีแนวโน้มว่าจะได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นและคาดว่าจะเข้ามาแทน CD ใน อนาคต เนื่องจากราคาของ DVD มีราคาถูกลงอย่างมาก ซึ่งในปัจจุบันมีการนาแผ่น DVD มาประยุกต์ใช้ กันอย่างแพร่หลายและมีมาตรฐานที่ค่อนข้างแตกต่างกันไม่เหมือนกับแผ่น CD ซึ่งพอจะแยกออกได้ดังนี้
  • 20. 20 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved  DVD-ROM เป็นแผ่น DVD ที่ผลิตจากบริษัทหรือโรงงานโดยตรง มักใช้สาหรับเก็บข้อมูลขนาด ใหญ่มาก เช่น ภาพยนตร์ความคมชัดสูงและต้องการเสียงที่สมจริง รวมถึงการสารองข้อมูลขนาดใหญ่ ที่ CD-ROM ทั่วไปไม่สามารถจัดเก็บหรือบันทึกได้  DVD-R และ DVD-RW เป็นแผ่น DVD ประเภทเขียนข้อมูลได้ตามมาตรฐานขององค์กร DVD Forum (www.dvdforum.org) มีความจุข้อมูลสูงสุดขณะนี้ 4.7 GB เท่านั้น การเขียนข้อมูลสาหรับ DVD- R สามารถเขียนและบันทึกข้อมูลได้เพียงครั้งเดียวเหมือนกับการเขียนแผ่น CD-R ส่วน DVD-RW จะ เขียนและบันทึกข้อมูลซ้าหลาย ๆ ครั้ง วิธีการเขียนข้อมูลอาจเติมเฉพาะข้อมูลใหม่ลงไปโดยลบอันเก่าทิ้ง ทั้งแผ่นหรือจะ import ข้อมูลอันเก่ามารวมกับของใหม่แล้วเขียนไปพร้อม ๆ กันก็ได้  DVD+R และ DVD+RW เป็นกลุ่มของ DVD ที่เขียนข้อมูลได้เช่นเดียวกันแต่เป็นมาตรฐานของ องค์กร DVD+RW Alliance (www.dvdrw.com) ซึ่งเกิดขึ้นภายหลัง มีความจุสูงสุดคือ 4.7 GB และอาจ เพิ่มอีกในอนาคต การเขียนข้อมูลของ DVD+Rและ DVD+RW จะคล้าย ๆ กันกับกลุ่มมาตรฐานเดิมแต่ ความเร็วในการเขียนแผ่นจะมีมากกว่า ไดรว์เขียนแผ่น DVD ปัจจุบันมักเขียนได้ทั้งแบบ +RW และ – RW เรียกกันว่าแบบ Dual format นอกจากนี้ยังมีไดรว์และแผ่นรุ่นใหม่ที่บันทึกข้อมูลได้มากถึงเกือบสองเท่าของแบบธรรมดา คือจุ ได้ 8.5 GB (เทียบเท่า DVD-9 ) โดยบันทึกข้อมูลสองชั้นซ้อนกันในด้านเดียว เรียกว่าแผ่นและไดรว์ แบบ Double Layer ( บางทีก็เรียก Dual Layer) 3. สื่อเก็บข้อมูลอื่น ๆ ( Other Storage Device ) อุปกรณ์หน่วนความจาแบบแฟรช ( Flash memory device ) ปัจจุบันนามาใช้บันทึกแทนสื่อเก็บ ข้อมูลแบบดิสเก็ตต์มากขึ้น เพราะจุข้อมูลได้มากกว่า นิยมใช้กับเครื่องพีซีและคอมพิวเตอร์แบบพกพา ทั่วไป มีชื่อเรียกแตกต่างกัน เช่น flash drive, thumb drive หรือ handy drive โดยสามารถต่อพ่วงเข้ากับ เครื่องคอมพิวเตอร์และอ่านค่าข้อมูลนั้นได้โดยตรง อุปกรณ์หน่วยความจาแบบแฟรชนี้อาจอยู่ในรูปแบบของ memory card ที่ใช้สาหรับจัดเก็บข้อมูล ประเภทภาพถ่ายหรือข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ในอุปกรณ์ดิจิตอลแบบพกพาทั้งหลาย เช่น กล้องถ่ายรูปดิจิตอล หรือพีดีเอ ซึ่งมีหลายฟอร์แมต (ดังรูป) เช่นอ Compact Flash (CF), SmartMedia ( เลิกผลิตแล้ว), Secure Digital และ Multimedia Memory Card (SD/MMC ซึ่งมีขนาดเท่ากัน) และ Memory Stick โดย
  • 21. 21 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การอ่านข้อมูลอาจใช้อุปกรณ์ดิจิตอลนั้นต่อพ่วงเข้ากับคอมพิวเตอร์โดยตรงหรือใช้อุปกรณ์พิเศษที่ เรียกว่า card reader ช่วยอ่านข้อมูลที่เก็บอยู่ภายในได้เช่นเดียวกัน 4.สื่อเก็บข้อมูลแบบเทป(Tape device) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่เหมาะสมสาหรับการสารองข้อมูล(back up)มีราคาถูก และเก็บข้อมูลได้ จานวนมากเนื่องจากเป็นการเก็บข้อมูลในแผ่นแม่เหล็ก มีลักษณะการเข้าถึงแบบเรียงลาดับต่อเนื่องกันไป เรื่อยๆ(sequential access)และมีข้อเสียคือ การค้นหาที่ยาก จึงเหมาะสมสาหรับการเข้าถึงข้อมูลแบบ เรียงลาดับ เช่น การลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา เป็นต้น อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์(Output Device) อุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ ( Output Device ) เป็นอุปกรณ์สาหรับแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่แสดงออกมาจะมีทั้งข้อมูลตัวอักษร, ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหว หรือเสียง เป็นต้น อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ 1. อุปกรณ์แสดงผลหน้าจอ ( Display device ) เป็นอุปกรณ์สาหรับการแสดงผลในรูปแบบกราฟิกและ ผู้ใช้สามารถเห็นผลลัพธ์ได้แค่ชั่วคราวเท่านั้น เมื่อไฟดับหรือปิดการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ลงไปจะ ไม่สามารถเห็นได้อีก บางครั้งนิยมเรียกอุปกรณ์ประเภทนี้ว่าsoft copy นั่นเอง เช่น เทอร์มินอล ( Terminal ) มักพบเห็นได้กับจุดบริการขาย ( POS-Point Of Sale ) ตาม ห้างสรรพสินค้า ร้านสะดวกซื้อ หรือจุดให้บริการลูกค้าเพื่อทารายการบางประเภท เช่น ตู้รายการฝาก ถอน ATM อัตโนมัติ จอภาพของเทอร์มินอลจะมีขนาดเล็กกว่าจอภาพที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ จอซีอาร์ที ( CRT Monitor ) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่นิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ประเภทพีซี การ ทางานจะอาศัยหลอดแก้วแสดงผลขนาดใหญ่ที่เรียกว่าหลอดรังสีคาโธด ( cathode ray tube ) ซึ่งเป็น เทคโนโลยีเดียวกับหลอดภาพของโทรทัศน์ และตัวจอภาพก็มีลักษณะเหมือนกับจอภาพของโทรทัศน์ มี หลายขนาดตั้งแต่ 14,15,16,17,19,20 และ 21 นิ้ว เป็นต้น (แนวโน้มการใช้งานปัจจุบันจะเลือกใช้จอภาพ ที่มีขนาดใหญ่ขึ้น เพื่อช่วยในการทางานได้ดีกว่าจอภาพขนาดเล็ก โดยเฉพาะงานที่ต้องใช้พื้นที่สาหรับ ทางานบนจอภาพมาก ๆ เช่น การสร้างภาพกราฟิกหรือการออกแบบงาน 3 มิติ เป็นต้น) จอแอลซีดี ( LCD Monitor ) เป็นอุปกรณ์แสดงผลอีกแบบหนึ่ง อาศัยการทางานของโมเลกุล ชนิดพิเศษเรียกว่า “ ผลึกเหลว” หรือliquid crystal ในการแสดงผล (LCD = Liquid Crystal Display ) ซึ่ง เมื่อมีสัญญาณไฟฟ้าส่งไปยังแต่ละจุดบนจอ ผลึกเหลว ณ จุดนั้นจะมีการบิดตัวของโมเลกุลเป็นองศาที่
  • 22. 22 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved แตกต่างกัน ทาให้แสงที่ส่องจากด้านหลังจอผ่านได้มากน้อยต่างกัน และเกิดภาพสีต่าง ๆ ขึ้น แต่เดิมนิยม ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบโน๊ตบุ๊ค ปัจจุบันได้นามาใช้กับเครื่องพีซีทั่วไปบ้างแล้ว เนื่องจากมีขนาดบาง เบาและสะดวกในการเคลื่อนย้ายมากกว่า อีกทั้งยังไม่เปลืองพื้นที่สาหรับการทางานด้วย แต่ปัจจุบันยังมี ราคาที่แพงกว่าจอแบบซีอาร์ทีพอสมควร โปรเจคเตอร์ ( Projector ) นิยมใช้สาหรับการจัดประชุม สัมมนา หรือการนาเสนอผลงาน ( presentation ) ที่ต้องการให้ผู้เข้าชมจานวนมากได้เห็นข้อมูลภาพกราฟิกต่าง ๆ ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ทา หน้าที่เป็นเหมือนอุปกรณ์ช่วยขยายภาพขนาดเล็กจากจอภาพธรรมดาให้ไปแสดงผลลัพธ์เป็นภาพขนาด ใหญ่ที่บริเวณฉากรับภาพ 2. อุปกรณ์สาหรับพิมพ์งาน ( Print Device ) เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่แสดงออกมาให้อยู่ในรูปแบบข้อมูล รายงาน รูปภาพ หรือแผนที่ซึ่งสามารถจับ ต้องหรือเก็บรักษาไว้ได้อย่างถาวร นิยมเรียกอุปกรณ์เหล่านี้ Hard copy อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องสาหรับการ พิมพ์งานมีดังนี้ เครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์( Dot matrix Printer ) เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้กันในองค์กรธุรกิจทั่วไป เนื่องจากมีคุณสมบัติในการทางานพิมพ์โดยอาศัยหัวเข็มพิมพ์กระทบลงไปที่ผ้าหมึก( ribbon ) และตัว กระดาษโดยตรงจึงเหมาะสมกับการพิมพ์เอกสารประเภทใบเสร็จรับเงิน ใบกากับภาษี ใบส่งของ หรือ รายการสั่งซื้อที่จาเป็นต้องมีสาเนาเอกสาร(copy ) เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานทางการบัญชี นิยมเรียกอีกชื่อ หนึ่งว่า เครื่องพิมพ์แบบกระทบ(impact printer ) แต่มีข้อจากัดในเรื่องการทางานที่เป็นสี นอกจากนี้ คุณภาพของงาน ความคมชัด และความเร็วยังต่ากว่าเครื่องพิมพ์แบบอื่นๆ จึงมีความนิยมใช้ลดลง ถึงแม้มี ราคาไม่สูงนักก็ตาม
  • 23. 23 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์( Laser Printer ) ผลลัพธ์ที่ได้จากการพิมพ์เอกสารด้วยเครื่องพิมพ์แบ บดอทเมตริกซ์ซึ่งอาศัยหัวพิมพ์กระทบลงไปในกระดาษเหมือหลักการของเครื่องพิมพ์ดีดนั้น ทาให้ คุณภาพงานพิมพ์ที่ได้ไม่ชัดเจน จึงนิยมใช้เครื่องพิมพ์ประเภทเลเซอร์เข้ามาแทนเนื่องจากมีความคมชัด มากกว่าเครื่องพิมพ์แบบนี้อาศัยการทางานของแสงเลเซอร์ฉายลงไปยังหลอดสร้าง( drum ) ภาพที่ได้รับ การกระตุ้นของแสง แล้วฉีดผงหมึกเข้าไปยังบริเวณที่มีประจุอยู่(ซึ่งเป็นหลักการเดียวกับเครื่องถ่าย เอกสารนั่นเอง) จากนั้นให้กระดาษวิ่งมารับผงหมึก แล้วไปผ่านความร้อนเพื่อให้ภาพติดแน่น ข้อดีคือภาพ ที่ได้มีความละเอียดสูงมาก และความเร็วก็สูง แต่มีข้อเสียคือไม่สามารถพิมพ์เอกสารที่เป็นแบบสาเนา (copy ) เหมือนกับเครื่องพิมพ์แบบดอทเมตริกซ์ได้ นอกจากนี้ปัจจุบันเริ่มมีเครื่องพิมพ์งานสีได้แล้ว โดย ใช้ผงหมึก 4 สีผสมกัน ซึ่งราคาเครื่องเริ่มลดลงมากแล้ว แต่ผงหมึกก็ยังแพงอยู่ เครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ต ( Ink-jet Printer ) เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีการทางานโดยอาศัยน้าหมึกพ่น ลงไปบนกระดาษตรงจุดที่ต้องการ และสามารถเลือกใช้ได้ทั้งหมึกสีและขาวดา เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก อาจมีทั้งแบบราคาถูกที่ใช้งานตามบ้านทั่วไปสาหรับพิมพ์เอกสารที่ต้องการความสวยงาม เช่น ภาพถ่าย โปสการ์ด ปฏิทิน หรือพิมพ์บนกระดาษแบบพิเศษแล้วนาไปติดกับเสื้อผ้าหรือแก้วกาแฟ หรืออาจพบเห็น ได้กับเครื่องพิมพ์ในบางรุ่นที่นิยมใช้กันในงานธุรกิจ เช่น งานพิมพ์โปสเตอร์หรือภาพสีขนาดใหญ่ แต่ก็มี ราคาที่แพงตามไปด้วย
  • 24. 24 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved พลอตเตอร์ ( Plotter ) เป็นเครื่องพิมพ์เพื่อแสดงผลลัพธ์อีกประเภทหนึ่ง มักใช้กับการพิมพ์ เอกสารที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่มากและไม่สามารถพิมพ์ด้วยเครื่องขนาดเล็กได้ การทางานใช้กลไกบังคับ ปากกาให้ขีดลงบนกระดาษโดยตรง ส่วนใหญ่เป็นเอกสารที่ต้องการความละเอียดสูง เช่น ภาพโฆษณา แผนที่ แผนผัง แบบแปลน เป็นต้น อย่างไรก็ดีอาจพบเห็นเครื่องพลอตเตอร์นี้ค่อนข้างน้อยในปัจจุบัน เนื่องจากเครื่องพิมพ์แบบอิงค์เจ็ตได้เข้ามาแทนที่เกือบหมดแล้ว 3. อุปกรณ์ขับเสียง ( Audio Device ) ลาโพง ( Speaker ) ข้อมูลที่เป็นแบบเสียงจะไม่สามารถแสดงผลลัพธ์ไปยังจอภาพของ คอมพิวเตอร์ได้ แต่จะอาศัยอุปกรณ์แสดงผลเฉพาะที่เรียกว่า ลาโพง ( speaker ) เพื่อช่วยขับเสียงออก ปัจจุบันมีราคาถูกมากตั้งแต่ร้อยกว่าบาทจนถึงหลักพัน นิยมใช้สาหรับการแสดงผลในรูปของเสียงเพลง หรือเสียงประกอบในภาพยนตร์รวมถึงเสียงที่ได้จากการพูดผ่านไมโครโฟน หูฟัง ( Headphone ) เป็นอุปกรณ์สาหรับรับฟังข้อมูลประเภทเสียงเช่นเดียวกัน นิยมใช้สาหรับการ ฟังเสียง เช่น ฟังเพลง หรือเสียงประกอบภาพยนตร์ที่เป็นแบบส่วนตัว ในบางรุ่นอาจพบได้ทั้งหูฟังและ
  • 25. 25 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ไมโครโฟนอยู่ในตัวเดียวกัน มีให้เลือกหลายชนิดทั้งแบบที่มีสายเชื่อมต่อและแบบไร้สาย ราคาของหูฟัง อาจจะมีตั้งแต่ราคาไม่กี่ร้อยบาทจนถึงหลักพัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคุณภาพและยี่ห้อของบริษัทผู้ผลิตด้วย โดยปกติทั้งหูฟังและลาโพงจะต่อสัญญาณเสียงแบบอนาล็อก ( analog ) คือสัญญาณเสียงทั่ว ๆ ไปเหมือนในวิทยุหรือโทรทัศน์ จากช่องเสียบสัญญาณที่ซาวด์การ์ดในเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่มีลาโพงและ หูฟังบางแบบอาจใช้การต่อสัญญาณเสียงในแบบดิจิตอลจากพอร์ตUSB ของเครื่องออกมาแทน แล้วแปลง กลับเป็นเสียงแบบที่เราได้ยินกัน โดยใช้วงจรภายในตัวเอง ซึ่งจะลดเสียงรบกวนจากอุปกรณ์อื่น ๆ ใน คอมพิวเตอร์ แต่หูฟังหรือลาโพงแบบนี้ก็จะมีราคาแพงกว่า