SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
โดย
นางสาว สัจจพร วงศ์ตระกูลยนต์
ชั้น.ม.6/2 เลขที่.24
องศ์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
โดยปกติแล้วการทางานของคอมพิวเตอร์ จะมีองค์ประกอบ 4 อย่างคือ ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ บุคลากร และข้อมูล สารสนเทศ ซึ่งแต่ละอย่างมีรายละเอียด ดังนี้
1.ฮาร์ดแวร์ Hardrare
เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้เป็นรูปธรรม คอมพิวเตอร์จะ
มีทั้งติดตั้งอยู่ภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ซีพียู เมนบอร์ด แรม และที่ติดตั้งอยู่
ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ด จอภาพ เครื่องพิมพ์
2.ซอฟต์แวร์ Software
เป็นส่วนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บรรจุคาสั่งเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ตามที่ต้องการแล้วจะ
ถูกสร้างโดยบุคคลที่เรียกว่า นักโปรแกรม
2.1ซอฟต์แวร์ระบบ System Software
เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ควบคุมระบบการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ
ระบบปฎิบัติการหรือ OS Operating system กลุ่มซอฟต์แวร์ประเภทนี้มีทั้งต้องเสียเงินอย่างเช่น
Windows และมีทั้งประเภทที่ให้ใช้กันฟรี เช่น Linux เป็นต้น
2.2ซอฟต์แวร์ประยุกต์ Application Software
เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ที่สามารถติดตั้งได้ในภายหลัง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและการประยุกต์ใช้เป็น
หลัก โดยปกติจะมุ่งใช้กับงานเฉพาะด้าน เช่น งานด้านบัญชี การด้านเอกสาร หรือการควบคลุมสินค้าคลังโดยอาจมี
บริษัทผู้ผลิตขึ้นมาโดยจาหน่ายโดยตรงทั้งที่ให้เลือกใช้ฟรี ซื้อ ทาเอง หรือจ้างเขียนโดยเฉพาะ เป็นต้น
สาหรับประเทศไทย ได้มี่การติดตั้งหน่วยงานที่เรียกว่า เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ หรือที่เรียกว่า
Software Park (www.swpark.or.th) ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งสนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์
3.บุคลากร People
บุคคลากรที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เป็นองศ์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์อีกอย่างหนึ่งที่สาคัญมาก เพราะ
หากบุคคลากรไม่มีความรูความเข้าใจในการใช้การเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ กลุ่มบุคคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกันคือ สานักงาน งานป้อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสาพันธ์ call center เป็นต้น
ในการวางระบบคอมพิวเตอร์ขององค์กร ผู้ใช้งานถือได้ว่ามีบทบาทที่สาคัญมาก เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการ
ใช้งานโดยตรง ซึ่งผู้ทาหน้าที่ออกแบบและวางระบบ เช่น นักวิเคราะห์ระบบ หรือ System analyst
4.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ
ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์
โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นบุคคลากรที่มีความชานาญทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะ บางครั้งก็เรียกว่า ช่าง
เทคนิคคอมพิวเตอร์ กลุ่มคนประเภทนี้จะต้องมีทักษะและประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเป็นอย่างดี
เพราะการปฎิบัติงานกับผู้ใช้อาจเกิดปัญหาในการใช้งานได้ตลอดเวลา
นักวิเคราะห์ระบบ System Analyst
บุคลากรด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน จะมีหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการผู้ใช้รวมไปถึง
ผู้บริหารของหน่วยงานนั้นๆ เพื่อจะพัฒนาระบบงานให้ตรงตามความต้องการมากที่สุด
หน้าที่การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานทางด้านคอมพิวเตอร์ อาจเหมือนลักษณะการทางานของ
สถาปนิกที่ออกแบบอาคารบ้านเรือนนั้นเองซึ่งบ้านหรืออาคารแต่ละหลัง จะออกเป็นให้ดีได้ก็ต้องไป เก็บข้อมูล
หรือสอบถามความต้องการของเจ้าของบ้านเสียก่อน
5.กลุ่มผู้บริหาร
ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ CIO - Chief information
Officer
CO จะทาหน้าที่กาหนดทิศทาง นโยบายและแผนงานทางคอมพิวเตอร์ในองค์กร
ทั้งหมดว่าควรเป็นไปในรูปแบบใด การขยายงานทางด้านธุรกิจขององค์กรที่รวดเร็ว ควรจะมีการ
ปรับ เพิ่ม ลด องค์ประกอบทางด้านคอมพิวเตอร์ส่วนใดอีกบ้างที่จะทาให้เป็นไปตามเป้าหมาย
โดยรวมมากที่สุด
หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ Computer center Manager Technology
Manager
เป็นผู้จัดการหรือหัวหน้างานทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีขององค์กร มีหน้าที่
ดูแลและกากับงานทางด้านคอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงานและทิศทางที่วางไว้โดย
CIO
6.ข้อมูล/สารสนเทศ Data/Information
ข้อมูล data เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกอย่างหนึ่ง การทางานของคอมพิวเตอร์จะ
เกี่ยวข้องกับข้อมูลตั้งแต่การนาข้อมูลเข้าจนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถที่ใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่
เรียกว่า สารสนเทศ information
ซึ่งข้อมูลเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ เช่น ภาพ เสียง เป็นต้น
สถานะการทางานแบบดิจิตอลจะอาศัยการประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐานสอง หรือ
ที่เรียกว่า binary system ซึ่งประกอบตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้น คือ 0 กับ 1
ตัวเลข 0 กับ 1 นี้ เราเรียกว่าเป็นตัวเลขฐานสองหรือไบนารีดิจิต binary digit มักเรียก
ย่อๆว่า บิตนั่นเอง
เมื่อจานวนของเลขฐานสองหรือบิตที่รวมกันครบ 8 ตัวเราจะเรียกหน่วยจัดเก็บข้อมูล
นี้ใหม่ว่าเป็น ไบต์ ซึ่งจะสามารถใช้แทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่เราต้องการป้อนข้อมูล
เข้าไปในเครื่องแต่ละตัวได้
7.กระบวนการแปลงข้อมูล
เพื่อให้ภาพของการทางานในกระบวนการแปลงข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลปกติ ให้อยู่
รูปแบบเลขฐานสอง ไดชัดเจนยิ่งขึ้น จะขออธิบายและยกตัวอย่างเพิ่มเติมเป็นขั้นตอนดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 ผู้ใช้งานป้อนข้อมูลอักษร D ตัวใหญ่เข้าไปยังระบบโดยการกดคีย์ shift + D พร้อมกัน
ขั้นตอนที่ 2 สัญญาณอีเล็กทรอนิกส์ของตัวอักษณ D จะถูกส่งไปยังระบบการทางานของคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนที่ 3 สัญญาณที่ส่งต่อเข้ามายังตัวอักษร D จะถูกแปลงให้อยุ่ในรูปแบบมาตรฐานของรหัสแอสกี
ASCII และเก็บไว้ในหน่วยความจาเพื่อประมวลผลต่อไป
ขั้นตอนที่ 4 เมื่อประมวลผลเรียบร้อยแล้ว กลุ่มรหัสดังกล่าวจะถูกแปลงกลับให้ออกมาอยู่ในรูแบบของภาพที่
สามารถมองเห็นได้ผ่านอุปกรณ์แสดงผล เช่น จอภาพ เป็นต้น
8.หน่วยวัดความจุข้อมูล
จากเนื้อหาที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจข้อมูลได้ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้อยู่ในรูป
ระบบเลขฐานสองแล้วเท่านั้น ดังนั้นเมื่อจะวัดความจุข้อมูล จึงอ้างอิงโดยใช้ระบบเลขฐานสองเป็นหลักและมี
หน่วยเป็น ไบต์ ซึ่งอาจเทียบได้กับตัวอักษร 1 ตัว โดยที่คอมพิวเตอร์จะต้องมีการคิดหน่วยความจุในปริมาณ
มากดังนั้นจึงต้องมีการกาหนดหน่วยวัดความจุข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นมากอีก เช่น กิโลไบต์ เมกะไบต์ กิกะไบต์ เป็น
ต้น
9.การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์
ในยุคอดีตที่มีการคิดค้นวิธีการควบคลุมลวดลายการทอผ้าให้เป็นไปตามความต้องการโดยใช้บัตรเจาะรู
หรือที่เรียกว่า punched card เครื่องมือชนิดนี้เป็นวิธีการนาข้อมูลเข้าเครื่องยุคแรกๆที่ได้รับความนิยมกัน
มากในสมัยนั้น ต่อมาก็มีผู้พัฒนาบัตรเจาะรูแบบอื่นๆ เพื่อให้สาหรับการประมวณผลในลักษณะอื่นออกมาอีก เช่น
บัตร IBM 80 Column บัตร IBM 96 Column ตามลาดับ
- กานนาเข้าโดยผ่านอุปกรณ์นาเข้า input Device วิธีนี้เป็นวิธีง่ายและสะดวกที่สุดสาหรับนา
ข้อมูลเข้าไปยังคอมพิวเตอร์โดยตรง ผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลหลายชนิด ขึ้นอยู่กับรูปแบบของข้อมูลด้วยว่าเป็น
แบบใดและข้อมูลนาเข้าเหล่านั้นสามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์เหล่านั้นหรือไม่ เช่น
- คีย์บอร์ด Keyboard สาหรับการป้อนข้อมูลประเภทตัวอักษร ตัวเลขหรือักขระพิเศษอื่นๆ
- สแกนเนอร์ สาหรับการนาเข้าข้อมูลประเภทภาพถ่าย
- ไมโครโฟน microphone สาหรับการนาเข้าข้อมูลประเภทเสียง
- การนาเข้าโดยใช้สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสารอง Secondary storage การนาข้อมูลวิธีนี้อาจดึง
เอาข้อมูลที่ได้บันทึกหรือเก็บข้อมูลไว้ก่อนแล้วจากสื่อบันทึกข้อมูลอย่างใดอย่างหนึ่งมา
10.กิจกรรมและความสันพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ
ระบบคอมพิวเตอร์ในการทางานจริง จะมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่างองค์ประกอบแต่
ละส่วนอยู่เสมอ กิจกรรมและความสัมพันธ์ต่างๆ จะเริ่มตั้งแต่การนาข้อมูลเข้า input จนถึงการแสดง
ผลลัพธ์และทางานเกี่ยวข้องกันทั้งหมด
คอมพิวเตอร์เกี่ยวกับการจัดพิมพ์เอกสาร และสรุปเป็นขั้นตอนได้ดังต่อไปนี้
- ป้อนข้อมูลเข้า ผู้ใช้ของระบบในตัวอย่างนี้ต้องการทารายงาน
- ร้องขอบริการ โปรแกรมประยุกต์จะส่งคาร้องเพื่อขออนุญาตทางานบนคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ไปยัง
โปรมแกรมระบบปฏิบัติงาน
11.พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์
ดังที่กล่าวในบทที่ 1 แล้วว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ต่างๆ
มากมายซึ่งช่วยให้การทางานของมนุษย์สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น
คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปตามแบบสถาปัตยกรรมของจอห์น วอน นิวแมนน์ ที่เน้นให้มีการคิดตั้ง
ชุดคาสั่งโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องได้นั้น Stored program concept มีหลักการทางานซึ่ง
ประกอบด้วยหน่วยที่เกี่ยวข้องแบ่งออกได้เป็น 5 หน่วย ดังนี้
- หน่วยประมวลผลกลาง Central processing Unit
- หน่วยความจาหลัก Primary Storage
- หน่วยความสารอง Secondary Storage
- หน่วยรับและแสดงข้อมูล Input/ output Unit
- ทางเดินของระบบ System Bus
12.หน่วยประมวลผลกลาง Central Processing Unit
คอมพิวเตอร์จะมีหน่วยประมวลผลกลางหรือที่เรียกว่า ซีพียู CPU: Central Processing
Unit ซึ่งส่วนหนึ่งของอุปกรณ์การประมวลผล โดยมีหน้าที่หลักก็คือ ประมวลผลคาสั่งที่ได้รับมาว่าจัให้ทาอะไรบ้าง
กระบวนการดังกล่าวซีพียูจะจัดการเองทั้งหมด
- หน่วยควบคุม Control Unit ทาหน้าที่ควบคุมการทางานทุกๆหน่วยในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วง
- หน่วยคานวณและตรรกะ ALU : Arithmetic and Logic Unit เป็นส่วนที่ทาหน้าที่ที่ในการคานวณ
ทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกะศาสตร์ ว่า เป็นจริงหรือเท็จ
- รีจีสเตอร์ Register เป็นพื้นที่สาหรับเก็บข้อมูลชุดคาสั่ง ผลลัพธ์ ประมวลผลเพียงชั่วคราวเท่านั้น ถือ
ว่าเป็นหน่วยความจาแต่อย่างใด รีจีสเตอร์จะรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง และทางานภายใต้การควบคุมของหน่วย
ควบคุมเช่นเดียวกันหน่วยอื่นๆ รีจีสเตอร์ ที่สาคัญโดยทั่วไป มีดังนี้
1. Accumulate Register เป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ
2. Storage Register เก็บข้อมูลและคาสั่งชั่วคราวที่ผ่านจากหน่วยความจาหลัก
3. Instruction Register เก็บคาสั่งในการประมวลผล
4. Address Register บอกตาแหน่งของข้อมูลและคาสั่งในหน่วยความจา
13.หน่วยความจาหลัก Primary Storage
ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและคาสั่งตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้รับจากกการประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วคราว
หน่วยความจาหลักแตกต่างจากดิจิตอลตรงที่เป็นการเก็บข้อมูลและคาสั่งเพื่อที่จะเรียกใช้ได้ในอนาคตอันใกล้ไกล
เหมือนกับดิจิตอลที่เป็นเพียงแหล่งพักข้อมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเท่านั้น
หน่วยความจาหลักแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทด้วยกันคือ
1.รอม ROM : Read Only Memory เป็นหน่วยความจาที่อ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียน
หรือบันทึกเพิ่มเติมได้ โดยปกติจะเป็นการเก็บคาสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคาสั่งเฉพาะข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่อง
อย่างถาวร ถึงแม้ไฟจะดับ หรือปิดเครื่องไปก้อไม่สามารถทาให้ข้อมูลหรือคาสั่งในการทางานต่างๆหายไปได้
2. แรม RAM : Random Access Memory เป็นหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งซึ่งต่างจาก
ROM คือ จะจดจาข้อมูลคาสั่งในระหว่างระบบกาลังทางานอยู่ ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลา แต่เมื่อใด
ก็ตามที่ระบบขัดข้องเช่น ไฟดับหรือมีการปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจานี้ก็จะถูกลบหายไป จึงเรียกว่า volatile
memory
14.หน่วยความจาสารอง Secondary Storage
เมื่อการทาการของหน่วยประมวลผลเสร็จสิ้นลง จะต้องมีพื้นที่และอุปกรณ์สาหรับและบันทึกข้อมูลไว้ใน
คอมพิวเตอร์ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเก็บไว้ใช้ในอนาคต สื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ในลักษณะนี้มีหลายชนิดมาก เช่น ฮาร์ดดิสก์
ฟล็อปปี้ดิสก์
15.หน่วยรับข้อมูลและคาสั่ง Input Unit
คอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีหน่วยรับข้อมูลและคาสั่งเข้าสู่ระบบ ซึ่งข้อมูลต่างๆเหล่านี้จะอยู่ใน
รูปแบบดิจิตอลที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้เท่านั้น ซึ่งโดยปกติแล้วก็จะแปลงข้อมูลผ่านอุปกรณ์นา
ข้อมูลเข้าหรือที่เรียกว่า input device เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ เป็นต้น
16.หน่วยแสดงผลลัพธ์ Output Unit
ในการทางานของคอมพิวเตอร์ เมื่อหน่วยประมวลผลกลางจัดการกับข้อมูลแล้ว ก่อนที่
จะแสดงผลที่ได้จะต้องมีการส่งต่อไปยังหน่วยแสดงผลลัพธ์อีกต่อไป ซึ่งจะแสดงผลออกไปซึ่ง
อุปกรณ์ที่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า soft copy เช่น จอภาพ
คอมพิวเตอร์
17.ทางเดินของระบบ System Bus
เป็นเหมือนกับเส้นทางผ่านของสัญญาณเพื่อให้อุปกรณ์ระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง
และหน่วยความจาระบบสามารถเชื่อมต่อกันได้ อาจเปรียบ system bus เหมือนกับถนนที่
จะให้รถยนต์วิ่งไปยังสถานที่ใดที่หนึ่ง ยิ่งถนนกว้างหรือมีมากเห่าไหร่ กางส่งข้อมูลต่อครั้งก็ยิ่งเร็ว
และมากขึ้นเท่านั้น ทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับจานวนเส้นทางที่ใช้วิ่ง ซึ่งเรียกว่า บิต นั่นเอง
วงรอบการทางานของซีพียู
โดยปกติหน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียูจะสามารถประมวลผลคาสั่งได้เพียงทีละ 1 คาสั่งเท่านั้น และ
ทางานได้ด้วยความเร็วสูงมาก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเร็วของซีพียูด้วย
ความเร็วของซีพียูมีหน่วยวัดอย่างหยาบๆที่เรียกว่า Megahertz (MHz) ซึ่งเป็น
ความเร็วของสัญญาณนาฬิกาที่ป้อนไปให้จังหวะในการทางานของซีพียู 1 MHz จะเท่ากับความเร็ว
1 ล้านรอบต่อวินาที
วงรอบการทางานของซีพียูจะเกี่ยวข้องกับการประมวลผลหลักๆโดยการอ่านและดึงข้อมูล
มาจากหน่วยความจาหลักส่งต่อการทางานที่ได้ให้กับส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ซึ่งสามารถแบ่ง
ออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่1 .การดึงข้อมูล Fetch
ขั้นตอนที่ 2 การแปลความหมาย Decode
ขั้นตอนที่ 3 การปฎิบัติการ Execute
ขั้นตอนที่ 4 การเก็บผลลัพธ์ Store
สรุปท้ายบท
การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 อย่างด้วยกันคือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
บุคลากร และข้อมูล องค์ประกอบแต่ละอย่างล้วนมีความสาคัญและเกี่ยวข้องกันทั้งสิ้น หากขาดอย่าวใดอย่างหนึ่ง
การทางานจะไม่มีความสมบูรณ์เต็มที่
พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วยทางาน 5 หน่วยด้วยกันคือ หน่วยประมวลผล
กลาง
หน่วยความจาหลัก หน่วยความจาสารอง หน่วยรับแสดงข้อมูล และทางเดินของระบบ การทางานของซีพียูจะเปรียบ
เหมือนกับสมองที่ใช้สั่งการของมนุษย์ ซึ่งทาหน้าที่ในการประมวลผล หน่วยความจาสารองจะใช้เป็นที่เก็บและ
บันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์เพื่อสามารถเรียกใช้ได้ในภายหลัง และมีทางเดินของระบบทางานเป็นเหมือนเส้นทาง
เดินระบบทางานเป็นเหมือนเส้นทางส่งผ่านข้อมูลระหว่างซีพียูและหน่วยความจา ให้สามารถเชื่อมต่อกันได้

More Related Content

What's hot

Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2
Owat
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
Pa'rig Prig
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
Noomim
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
Pa'rig Prig
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
Rijin7
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
mayochikijo
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
Pa'rig Prig
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
AomJi Math-ed
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
micwatcharapong
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
micwatcharapong
 

What's hot (18)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ (1)
 
Lab
LabLab
Lab
 
Chapter 1 information technology
Chapter 1 information technologyChapter 1 information technology
Chapter 1 information technology
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
หน่วยที่ 1 ซอฟแวร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 

Similar to Word3 24

Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
kruniid
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
kruniid
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
mod2may
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
ThanThai Sangwong
 
บทที่ 0 information technology
บทที่ 0 information technologyบทที่ 0 information technology
บทที่ 0 information technology
Jate Paw
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Chatree MChatree
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Oh Aeey
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
SPipe Pantaweesak
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
jennysarida
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
jennysarida
 

Similar to Word3 24 (20)

Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
Basiccom
BasiccomBasiccom
Basiccom
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Basiccom1
Basiccom1Basiccom1
Basiccom1
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
Com
ComCom
Com
 
Lab
LabLab
Lab
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ เรื่อง ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 0 information technology
บทที่ 0 information technologyบทที่ 0 information technology
บทที่ 0 information technology
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 

Word3 24

  • 2. องศ์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ โดยปกติแล้วการทางานของคอมพิวเตอร์ จะมีองค์ประกอบ 4 อย่างคือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร และข้อมูล สารสนเทศ ซึ่งแต่ละอย่างมีรายละเอียด ดังนี้ 1.ฮาร์ดแวร์ Hardrare เป็นอุปกรณ์ที่จับต้อง สัมผัส และสามารถมองเห็นได้เป็นรูปธรรม คอมพิวเตอร์จะ มีทั้งติดตั้งอยู่ภายในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น ซีพียู เมนบอร์ด แรม และที่ติดตั้งอยู่ ภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ด จอภาพ เครื่องพิมพ์
  • 3. 2.ซอฟต์แวร์ Software เป็นส่วนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่บรรจุคาสั่งเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้ตามที่ต้องการแล้วจะ ถูกสร้างโดยบุคคลที่เรียกว่า นักโปรแกรม 2.1ซอฟต์แวร์ระบบ System Software เป็นซอฟต์แวร์ที่ทาหน้าที่ควบคุมระบบการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างที่รู้จักกันเป็นอย่างดีคือ ระบบปฎิบัติการหรือ OS Operating system กลุ่มซอฟต์แวร์ประเภทนี้มีทั้งต้องเสียเงินอย่างเช่น Windows และมีทั้งประเภทที่ให้ใช้กันฟรี เช่น Linux เป็นต้น 2.2ซอฟต์แวร์ประยุกต์ Application Software เป็นกลุ่มซอฟต์แวร์ที่สามารถติดตั้งได้ในภายหลัง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและการประยุกต์ใช้เป็น หลัก โดยปกติจะมุ่งใช้กับงานเฉพาะด้าน เช่น งานด้านบัญชี การด้านเอกสาร หรือการควบคลุมสินค้าคลังโดยอาจมี บริษัทผู้ผลิตขึ้นมาโดยจาหน่ายโดยตรงทั้งที่ให้เลือกใช้ฟรี ซื้อ ทาเอง หรือจ้างเขียนโดยเฉพาะ เป็นต้น สาหรับประเทศไทย ได้มี่การติดตั้งหน่วยงานที่เรียกว่า เขตอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ หรือที่เรียกว่า Software Park (www.swpark.or.th) ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งสนับสนุนการพัฒนาซอฟต์แวร์ 3.บุคลากร People บุคคลากรที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เป็นองศ์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์อีกอย่างหนึ่งที่สาคัญมาก เพราะ หากบุคคลากรไม่มีความรูความเข้าใจในการใช้การเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ กลุ่มบุคคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งหมด แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มด้วยกันคือ สานักงาน งานป้อนข้อมูล งานบริการลูกค้าสาพันธ์ call center เป็นต้น ในการวางระบบคอมพิวเตอร์ขององค์กร ผู้ใช้งานถือได้ว่ามีบทบาทที่สาคัญมาก เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการ ใช้งานโดยตรง ซึ่งผู้ทาหน้าที่ออกแบบและวางระบบ เช่น นักวิเคราะห์ระบบ หรือ System analyst 4.กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ โดยส่วนใหญ่มักจะเป็นบุคคลากรที่มีความชานาญทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะ บางครั้งก็เรียกว่า ช่าง เทคนิคคอมพิวเตอร์ กลุ่มคนประเภทนี้จะต้องมีทักษะและประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเป็นอย่างดี เพราะการปฎิบัติงานกับผู้ใช้อาจเกิดปัญหาในการใช้งานได้ตลอดเวลา นักวิเคราะห์ระบบ System Analyst บุคลากรด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน จะมีหน้าที่วิเคราะห์ความต้องการผู้ใช้รวมไปถึง ผู้บริหารของหน่วยงานนั้นๆ เพื่อจะพัฒนาระบบงานให้ตรงตามความต้องการมากที่สุด หน้าที่การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานทางด้านคอมพิวเตอร์ อาจเหมือนลักษณะการทางานของ สถาปนิกที่ออกแบบอาคารบ้านเรือนนั้นเองซึ่งบ้านหรืออาคารแต่ละหลัง จะออกเป็นให้ดีได้ก็ต้องไป เก็บข้อมูล หรือสอบถามความต้องการของเจ้าของบ้านเสียก่อน
  • 4. 5.กลุ่มผู้บริหาร ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ CIO - Chief information Officer CO จะทาหน้าที่กาหนดทิศทาง นโยบายและแผนงานทางคอมพิวเตอร์ในองค์กร ทั้งหมดว่าควรเป็นไปในรูปแบบใด การขยายงานทางด้านธุรกิจขององค์กรที่รวดเร็ว ควรจะมีการ ปรับ เพิ่ม ลด องค์ประกอบทางด้านคอมพิวเตอร์ส่วนใดอีกบ้างที่จะทาให้เป็นไปตามเป้าหมาย โดยรวมมากที่สุด หัวหน้างานด้านคอมพิวเตอร์ Computer center Manager Technology Manager เป็นผู้จัดการหรือหัวหน้างานทางด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีขององค์กร มีหน้าที่ ดูแลและกากับงานทางด้านคอมพิวเตอร์ให้บรรลุเป้าหมายตามแผนงานและทิศทางที่วางไว้โดย CIO 6.ข้อมูล/สารสนเทศ Data/Information ข้อมูล data เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกอย่างหนึ่ง การทางานของคอมพิวเตอร์จะ เกี่ยวข้องกับข้อมูลตั้งแต่การนาข้อมูลเข้าจนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถที่ใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่ เรียกว่า สารสนเทศ information ซึ่งข้อมูลเหล่านี้อาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอื่นๆ เช่น ภาพ เสียง เป็นต้น สถานะการทางานแบบดิจิตอลจะอาศัยการประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐานสอง หรือ ที่เรียกว่า binary system ซึ่งประกอบตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่านั้น คือ 0 กับ 1
  • 5. ตัวเลข 0 กับ 1 นี้ เราเรียกว่าเป็นตัวเลขฐานสองหรือไบนารีดิจิต binary digit มักเรียก ย่อๆว่า บิตนั่นเอง เมื่อจานวนของเลขฐานสองหรือบิตที่รวมกันครบ 8 ตัวเราจะเรียกหน่วยจัดเก็บข้อมูล นี้ใหม่ว่าเป็น ไบต์ ซึ่งจะสามารถใช้แทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่เราต้องการป้อนข้อมูล เข้าไปในเครื่องแต่ละตัวได้ 7.กระบวนการแปลงข้อมูล เพื่อให้ภาพของการทางานในกระบวนการแปลงข้อมูลตัวเลขหรือข้อมูลปกติ ให้อยู่ รูปแบบเลขฐานสอง ไดชัดเจนยิ่งขึ้น จะขออธิบายและยกตัวอย่างเพิ่มเติมเป็นขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ผู้ใช้งานป้อนข้อมูลอักษร D ตัวใหญ่เข้าไปยังระบบโดยการกดคีย์ shift + D พร้อมกัน ขั้นตอนที่ 2 สัญญาณอีเล็กทรอนิกส์ของตัวอักษณ D จะถูกส่งไปยังระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนที่ 3 สัญญาณที่ส่งต่อเข้ามายังตัวอักษร D จะถูกแปลงให้อยุ่ในรูปแบบมาตรฐานของรหัสแอสกี ASCII และเก็บไว้ในหน่วยความจาเพื่อประมวลผลต่อไป ขั้นตอนที่ 4 เมื่อประมวลผลเรียบร้อยแล้ว กลุ่มรหัสดังกล่าวจะถูกแปลงกลับให้ออกมาอยู่ในรูแบบของภาพที่ สามารถมองเห็นได้ผ่านอุปกรณ์แสดงผล เช่น จอภาพ เป็นต้น
  • 6. 8.หน่วยวัดความจุข้อมูล จากเนื้อหาที่ผ่านมา จะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจข้อมูลได้ก็ต่อเมื่อมีการแปลงให้อยู่ในรูป ระบบเลขฐานสองแล้วเท่านั้น ดังนั้นเมื่อจะวัดความจุข้อมูล จึงอ้างอิงโดยใช้ระบบเลขฐานสองเป็นหลักและมี หน่วยเป็น ไบต์ ซึ่งอาจเทียบได้กับตัวอักษร 1 ตัว โดยที่คอมพิวเตอร์จะต้องมีการคิดหน่วยความจุในปริมาณ มากดังนั้นจึงต้องมีการกาหนดหน่วยวัดความจุข้อมูลที่ใหญ่ขึ้นมากอีก เช่น กิโลไบต์ เมกะไบต์ กิกะไบต์ เป็น ต้น 9.การนาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ ในยุคอดีตที่มีการคิดค้นวิธีการควบคลุมลวดลายการทอผ้าให้เป็นไปตามความต้องการโดยใช้บัตรเจาะรู หรือที่เรียกว่า punched card เครื่องมือชนิดนี้เป็นวิธีการนาข้อมูลเข้าเครื่องยุคแรกๆที่ได้รับความนิยมกัน มากในสมัยนั้น ต่อมาก็มีผู้พัฒนาบัตรเจาะรูแบบอื่นๆ เพื่อให้สาหรับการประมวณผลในลักษณะอื่นออกมาอีก เช่น บัตร IBM 80 Column บัตร IBM 96 Column ตามลาดับ - กานนาเข้าโดยผ่านอุปกรณ์นาเข้า input Device วิธีนี้เป็นวิธีง่ายและสะดวกที่สุดสาหรับนา ข้อมูลเข้าไปยังคอมพิวเตอร์โดยตรง ผ่านอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลหลายชนิด ขึ้นอยู่กับรูปแบบของข้อมูลด้วยว่าเป็น แบบใดและข้อมูลนาเข้าเหล่านั้นสามารถใช้ร่วมกับอุปกรณ์เหล่านั้นหรือไม่ เช่น - คีย์บอร์ด Keyboard สาหรับการป้อนข้อมูลประเภทตัวอักษร ตัวเลขหรือักขระพิเศษอื่นๆ - สแกนเนอร์ สาหรับการนาเข้าข้อมูลประเภทภาพถ่าย - ไมโครโฟน microphone สาหรับการนาเข้าข้อมูลประเภทเสียง - การนาเข้าโดยใช้สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสารอง Secondary storage การนาข้อมูลวิธีนี้อาจดึง เอาข้อมูลที่ได้บันทึกหรือเก็บข้อมูลไว้ก่อนแล้วจากสื่อบันทึกข้อมูลอย่างใดอย่างหนึ่งมา 10.กิจกรรมและความสันพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบ ระบบคอมพิวเตอร์ในการทางานจริง จะมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันระหว่างองค์ประกอบแต่ ละส่วนอยู่เสมอ กิจกรรมและความสัมพันธ์ต่างๆ จะเริ่มตั้งแต่การนาข้อมูลเข้า input จนถึงการแสดง ผลลัพธ์และทางานเกี่ยวข้องกันทั้งหมด
  • 7. คอมพิวเตอร์เกี่ยวกับการจัดพิมพ์เอกสาร และสรุปเป็นขั้นตอนได้ดังต่อไปนี้ - ป้อนข้อมูลเข้า ผู้ใช้ของระบบในตัวอย่างนี้ต้องการทารายงาน - ร้องขอบริการ โปรแกรมประยุกต์จะส่งคาร้องเพื่อขออนุญาตทางานบนคอมพิวเตอร์เครื่องนี้ไปยัง โปรมแกรมระบบปฏิบัติงาน 11.พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์ ดังที่กล่าวในบทที่ 1 แล้วว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถนามาใช้ประโยชน์ต่างๆ มากมายซึ่งช่วยให้การทางานของมนุษย์สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น คอมพิวเตอร์โดยทั่วไปตามแบบสถาปัตยกรรมของจอห์น วอน นิวแมนน์ ที่เน้นให้มีการคิดตั้ง ชุดคาสั่งโปรแกรมเก็บไว้ในเครื่องได้นั้น Stored program concept มีหลักการทางานซึ่ง ประกอบด้วยหน่วยที่เกี่ยวข้องแบ่งออกได้เป็น 5 หน่วย ดังนี้ - หน่วยประมวลผลกลาง Central processing Unit - หน่วยความจาหลัก Primary Storage - หน่วยความสารอง Secondary Storage - หน่วยรับและแสดงข้อมูล Input/ output Unit - ทางเดินของระบบ System Bus
  • 8. 12.หน่วยประมวลผลกลาง Central Processing Unit คอมพิวเตอร์จะมีหน่วยประมวลผลกลางหรือที่เรียกว่า ซีพียู CPU: Central Processing Unit ซึ่งส่วนหนึ่งของอุปกรณ์การประมวลผล โดยมีหน้าที่หลักก็คือ ประมวลผลคาสั่งที่ได้รับมาว่าจัให้ทาอะไรบ้าง กระบวนการดังกล่าวซีพียูจะจัดการเองทั้งหมด - หน่วยควบคุม Control Unit ทาหน้าที่ควบคุมการทางานทุกๆหน่วยในซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วง - หน่วยคานวณและตรรกะ ALU : Arithmetic and Logic Unit เป็นส่วนที่ทาหน้าที่ที่ในการคานวณ ทางคณิตศาสตร์ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบข้อมูลทางตรรกะศาสตร์ ว่า เป็นจริงหรือเท็จ - รีจีสเตอร์ Register เป็นพื้นที่สาหรับเก็บข้อมูลชุดคาสั่ง ผลลัพธ์ ประมวลผลเพียงชั่วคราวเท่านั้น ถือ ว่าเป็นหน่วยความจาแต่อย่างใด รีจีสเตอร์จะรับส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูง และทางานภายใต้การควบคุมของหน่วย ควบคุมเช่นเดียวกันหน่วยอื่นๆ รีจีสเตอร์ ที่สาคัญโดยทั่วไป มีดังนี้ 1. Accumulate Register เป็นผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ 2. Storage Register เก็บข้อมูลและคาสั่งชั่วคราวที่ผ่านจากหน่วยความจาหลัก 3. Instruction Register เก็บคาสั่งในการประมวลผล 4. Address Register บอกตาแหน่งของข้อมูลและคาสั่งในหน่วยความจา 13.หน่วยความจาหลัก Primary Storage ทาหน้าที่เก็บข้อมูลและคาสั่งตลอดจนผลลัพธ์ที่ได้รับจากกการประมวลผลของซีพียูเพียงชั่วคราว หน่วยความจาหลักแตกต่างจากดิจิตอลตรงที่เป็นการเก็บข้อมูลและคาสั่งเพื่อที่จะเรียกใช้ได้ในอนาคตอันใกล้ไกล เหมือนกับดิจิตอลที่เป็นเพียงแหล่งพักข้อมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผลเท่านั้น หน่วยความจาหลักแบ่ง ออกเป็น 2 ประเภทด้วยกันคือ 1.รอม ROM : Read Only Memory เป็นหน่วยความจาที่อ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียน หรือบันทึกเพิ่มเติมได้ โดยปกติจะเป็นการเก็บคาสั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคาสั่งเฉพาะข้อมูลใน ROM จะอยู่กับเครื่อง อย่างถาวร ถึงแม้ไฟจะดับ หรือปิดเครื่องไปก้อไม่สามารถทาให้ข้อมูลหรือคาสั่งในการทางานต่างๆหายไปได้ 2. แรม RAM : Random Access Memory เป็นหน่วยความจาอีกประเภทหนึ่งซึ่งต่างจาก ROM คือ จะจดจาข้อมูลคาสั่งในระหว่างระบบกาลังทางานอยู่ ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ตลอดเวลา แต่เมื่อใด ก็ตามที่ระบบขัดข้องเช่น ไฟดับหรือมีการปิดเครื่อง ข้อมูลในหน่วยความจานี้ก็จะถูกลบหายไป จึงเรียกว่า volatile memory 14.หน่วยความจาสารอง Secondary Storage เมื่อการทาการของหน่วยประมวลผลเสร็จสิ้นลง จะต้องมีพื้นที่และอุปกรณ์สาหรับและบันทึกข้อมูลไว้ใน คอมพิวเตอร์ หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเก็บไว้ใช้ในอนาคต สื่อเก็บข้อมูลต่างๆ ในลักษณะนี้มีหลายชนิดมาก เช่น ฮาร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์
  • 9. 15.หน่วยรับข้อมูลและคาสั่ง Input Unit คอมพิวเตอร์ทั่วไปจะมีหน่วยรับข้อมูลและคาสั่งเข้าสู่ระบบ ซึ่งข้อมูลต่างๆเหล่านี้จะอยู่ใน รูปแบบดิจิตอลที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้เท่านั้น ซึ่งโดยปกติแล้วก็จะแปลงข้อมูลผ่านอุปกรณ์นา ข้อมูลเข้าหรือที่เรียกว่า input device เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ สแกนเนอร์ เป็นต้น 16.หน่วยแสดงผลลัพธ์ Output Unit ในการทางานของคอมพิวเตอร์ เมื่อหน่วยประมวลผลกลางจัดการกับข้อมูลแล้ว ก่อนที่ จะแสดงผลที่ได้จะต้องมีการส่งต่อไปยังหน่วยแสดงผลลัพธ์อีกต่อไป ซึ่งจะแสดงผลออกไปซึ่ง อุปกรณ์ที่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า soft copy เช่น จอภาพ คอมพิวเตอร์ 17.ทางเดินของระบบ System Bus เป็นเหมือนกับเส้นทางผ่านของสัญญาณเพื่อให้อุปกรณ์ระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยความจาระบบสามารถเชื่อมต่อกันได้ อาจเปรียบ system bus เหมือนกับถนนที่ จะให้รถยนต์วิ่งไปยังสถานที่ใดที่หนึ่ง ยิ่งถนนกว้างหรือมีมากเห่าไหร่ กางส่งข้อมูลต่อครั้งก็ยิ่งเร็ว และมากขึ้นเท่านั้น ทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับจานวนเส้นทางที่ใช้วิ่ง ซึ่งเรียกว่า บิต นั่นเอง วงรอบการทางานของซีพียู
  • 10. โดยปกติหน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียูจะสามารถประมวลผลคาสั่งได้เพียงทีละ 1 คาสั่งเท่านั้น และ ทางานได้ด้วยความเร็วสูงมาก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเร็วของซีพียูด้วย ความเร็วของซีพียูมีหน่วยวัดอย่างหยาบๆที่เรียกว่า Megahertz (MHz) ซึ่งเป็น ความเร็วของสัญญาณนาฬิกาที่ป้อนไปให้จังหวะในการทางานของซีพียู 1 MHz จะเท่ากับความเร็ว 1 ล้านรอบต่อวินาที วงรอบการทางานของซีพียูจะเกี่ยวข้องกับการประมวลผลหลักๆโดยการอ่านและดึงข้อมูล มาจากหน่วยความจาหลักส่งต่อการทางานที่ได้ให้กับส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ ซึ่งสามารถแบ่ง ออกได้เป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่1 .การดึงข้อมูล Fetch ขั้นตอนที่ 2 การแปลความหมาย Decode ขั้นตอนที่ 3 การปฎิบัติการ Execute ขั้นตอนที่ 4 การเก็บผลลัพธ์ Store สรุปท้ายบท การทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 4 อย่างด้วยกันคือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุคลากร และข้อมูล องค์ประกอบแต่ละอย่างล้วนมีความสาคัญและเกี่ยวข้องกันทั้งสิ้น หากขาดอย่าวใดอย่างหนึ่ง การทางานจะไม่มีความสมบูรณ์เต็มที่ พื้นฐานการทางานของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วยทางาน 5 หน่วยด้วยกันคือ หน่วยประมวลผล กลาง หน่วยความจาหลัก หน่วยความจาสารอง หน่วยรับแสดงข้อมูล และทางเดินของระบบ การทางานของซีพียูจะเปรียบ เหมือนกับสมองที่ใช้สั่งการของมนุษย์ ซึ่งทาหน้าที่ในการประมวลผล หน่วยความจาสารองจะใช้เป็นที่เก็บและ บันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์เพื่อสามารถเรียกใช้ได้ในภายหลัง และมีทางเดินของระบบทางานเป็นเหมือนเส้นทาง เดินระบบทางานเป็นเหมือนเส้นทางส่งผ่านข้อมูลระหว่างซีพียูและหน่วยความจา ให้สามารถเชื่อมต่อกันได้