SlideShare a Scribd company logo
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้นจาก
การดาเนิน งาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจได้ทันทีจะ
นาไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อ ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว
สารสนเทศ (Information) นั้นคือ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น หา
ค่าเฉลี่ย หรือใช้เทคนิค ขั้นสูง เช่นการวิจัยดาเนินงาน เป็นต้น เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ในรูปแบบที่มี
ความสัมพันธ์ หรือมีความ เกี่ยวข้องกัน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือตอบปัญหาต่าง ๆ ได้ สารสนเทศ
ประกอบด้วยข้อมูล เอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ในรูปที่มีความหมาย สารสนเทศไม่ใช่
จากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียง อย่างเดียวเท่านั้น
คุณสมบัติของข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีความพยายามและตั้งใจดาเนินการ หรือกล่าวได้ว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะนามาใช้
ประโยชน์ องค์การจาเป็นต้องลงทุน ทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมา
รองรับ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงถึงปัญหาเหล่านี้ และพยายามมองปัญหา
แบบที่เป็นจริง สามารถดาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ
ที่ดี ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้ไม่
กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาสผิดพลาด
ได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงาน เพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยา มากที่สุด โดยปกติ
ความผิดพลาดของสารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคน หรือเครื่องจักร การ
ออกแบบระบบจึงต้องคานึงถึงในเรื่องนี้
2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนอง
ต่อ ผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียนค้นและ
รายงานตาม ผู้ใช้
3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการ
ดาเนินการจัดทาสารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่
เหมาะสม
การจัดการสารสนเทศ
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจาเป็นต้อง
ออกแบบ โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้หรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ใน
ระบบ คอมพิวเตอร์
5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงาน
และองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ
ประเภทของข้อมูล
ข้อมูลสามารถแบ่งได้หลายลักษณะขึ้นกับว่าจะใช้เกณฑ์ใดในการแบ่ง เช่น
ก.แบ่งตามแหล่งที่มา ได้เป็น 2 ประเภท
1.ข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data)คือข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดที่ผู้เก็บข้อมูลลงมือเก็บด้วยตนเองได้มา จากแหล่งกาเนิด
ที่แท้จริง เช่น ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสังเกต การทดลอง การทดสอบหรือการวัดจากกลุ่มตัวอย่างโดยตรง
2.ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือข้อเท็จจริง หรือรายละเอียดที่ผู้อื่นรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ สามารถนามาเป็น
ข้อมูล โดยไม่ต้องลงมือเก็บรวบรวมเอง เช่น ข้อมูลจากระเบียนสะสม รายงานประจาปี สารานุกรม เอกสารเผยแพร่ เป็น
ต้น
ข.แบ่งตามลักษณะของข้อมูล
1.ข้อมูลเชิงปริมาณ ( Quantitative Data) คือข้อมูลที่วัดออกมาเป็นตัวเลข เช่นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาต่าง ๆ ความ
ถนัดด้านต่าง ๆ ที่วัดออกมาเป็นคะแนน คุณลักษณะด้านจิตพิสัย เช่นความสนใจ ความวิตกกังวล
คุณลักษณะทางกายเช่น ส่วนสูง ความเร็วในการวิ่ง
2.ข้อมูลเชิงคุณลักษณะหรือเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือข้อมูลที่ไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลขแต่จะแสดงถึง
คุณลักษณะของสิ่งนั้น เช่น เพศ ฐานะทางเศรษฐกิจ ศาสนา สถานภาพสมรส อาชีพ ข้อความที่เป็นความคิดเห็น ผลการ
สังเกตที่เขียนในรูปบรรยาย
วิธีการประมวลผลข้อมูล
วิธีการประมวลผลข้อมูลโดยอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 2 วิธี คือ
1. การประมวลผลแบบเชื่อมตรง
การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processiog) เป็นวิธีการนาข้อมูลแต่ละรายการที่ถูกบันทึกเข้ามา
ประมวลผลทันที นิยมใช้ในงานที่ต้องได้ผลลัพธ์ให้กับผู้ใช้ทันที หรือในงานที่ข้อมูลจะต้องทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เช่น เมื่อ
นักเรียนเบิกเงินจากตู้เอทีเอ็ม รายการการเบิกเงินของนักเรียนแต่ละครั้งจะไปประมวลผลที่เครื่องหลักที่อาจอยู่ห่างไกล
ทันที โดยข้อมูลจุถูกนาไปคานวณและบันทึกผอดคงเหลือในบัญชีเงินฝากของนักเรียนทันที เป็นต้น
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
การประมวลผลแบบเชื่อมตรง
2. การประมวลผลแบบกลุ่ม
การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละช่วงเวลาหนึ่ง และนาข้อมูล
ที่ได้รับในช่วงเวลาดังกล่าวมาประมวลผลพร้อมกัน เช่น การเก็บข้อมูลเวลาเข้าออกของนักเรียน และเมื่อถึงสิ้นเดือน
โรงเรียนจะนาข้อมูลมาประมวลผลเป็นรายงานการเข้าชั้นเรียนของนักเรียนประจาเดือน เป็นต้น
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
1. มีความถูกต้องแม่นยา (accuracy) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรงกับความเป็นจริงและเชื่อถือได้ สารสนเทศ
บางอย่างมีความสาคัญ หากไม่ตรงกับความเป็นจริงแล้ว อาจก่อให้เกิดความเสียหายได้ สารสนเทศที่ถูกต้องแม่นยาจะต้อง
เกิดจากการป้อนข้อมูลรวมถึงโปรแกรมที่ประมวลผลจะต้องถูกต้อง
2. ทันต่อเวลา (timeliness) สารสนเทศที่ดีต้องทันต่อการใช้งาน หมายถึง ข้อมูลที่ป้อนให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
ต้องมีความเป็นปัจจุบันทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง ตัวอย่างเช่น ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ของ
ผู้ปกครองนักเรียน จะต้องมีการปรับปรุงให้ทันสมัย หากหมายเลขโทรศัพท์ล้าสมัยก็จะไม่สามารถติดต่อกับผู้ปกครองได้
หากเกิดกรณีฉุกเฉิน
3. มีความสมบูรณ์ครอบถ้วน (complete) สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความครบถ้วน สารสนเทศที่มีความครบถ้วนเกิด
จากการเก็บข้อมูลได้ครบถ้วน หากเก็บข้อมูลเพียงบางส่วนก็จะไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารสนเทศได้เต็มประสิทธิภาพ
ตัวอย่าง เช่น ข้อมูลนักเรียน ก็จะต้องมีการเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับนักเรียนให้ได้มากที่สุด เช่น ชื่อ อายุ ที่อยู่ ชื่อ
ผู้ปกครอง หมายเลขโทรศัพท์ โรคประจาตัว คะแนนที่ได้รับในแต่ละวิชา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ครูสามารถนาข้อมูลไปใช้
ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ หากไม่มีข้อมูลของหมายเลขโทรศัพท์ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินก็จะไม่สามารถติดต่อกับผู้ปกครองได้
เช่นเดียวกัน
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
4. มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) สารสนเทศจะต้องสอดคล้องกับความต้องการของผุ้ใช้
กล่าวคือ การเก็บข้อมูลต้องมีการสอบถามการใช้งานของผู้ใช้ว่าต้องการในเรื่องใดบ้าง จึงจะสามารถสรุปสารสนเทศได้
ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ตัวอย่างเช่น หากต้องการเก็บข้อมูลของนักเรียนก็ต้องถามครูว่าต้องการเก็บข้อมูล
ใดบ้าง เพื่อให้ครูสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง
5. สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรวจสอบแหล่งที่มาได้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้ตรวจสอบความ
ถูกต้องของสารสนเทศได้
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ (Information System : IS) หมายถึง ระบบที่สามารถจัดการข้อมูลตั้งแต่การรวบรวมและ
ตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล รวมถึงการดูแลรักษาข้อมูล ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล การทาสาเนาข้อมูล การ
ปรับปรุงข้อมูล ตลอดจนการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ถูกต้องและทันต่อความต้องการใช้งานของผู้ใช้ และผู้ใช้
สามารถนาสารสนเทศที่ได้ไปประกอบการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งระบบในที่นี้อาจใช้มนุษย์จัดการข้อมูลหรือ
ใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลก็ได้ แต่ปัจจุบันนิยมใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูล เราอาจเรียกระบบสารสนเทศ
นี้ว่า Computer-based Information System
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
ระบบสารสนเทศ
คาว่า “ระบบ” จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลายองค์ประกอบอันจะทาให้ได้สารสนเทศที่ถูกต้องและรวดเร็ว
สาหรับองค์ประกอบของระบบสารสนเทศที่สาคัญ 5 องค์ประกอบ ดังนี้
1. ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ (hardware) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง ซึ่งฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 5
หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลัก หน่วยแสดงผล และหน่วยความจารอง ซึ่งผู้ใช้
ระบบสารสนเทศต้องเลือกฮาร์ดแวร์ให้เหมาะสมกับระบบสารสนเทศขององค์กร
ฮาร์ดแวร์
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
2. ซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ (software) คือ โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
ซอฟต์แวร์จะถูกเขียนขึ้นโดยนักเขียนโปรแกรม (programmer) ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (computer language) ซึ่งมีอยู่
มากมาย ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นโปรแกรมทุกโปรแกรมที่ทาหน้าที่ติดต่อกับฮาร์ดแวร์และมีเครื่องมือสาหรับให้ผู้ใช้
ทางานพื้นฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ และ
โปรแกรมแปลคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้กลายเป็นภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานต่าง ๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ดังนั้นการเขียน
ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้รองรับการทางานตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการ ทาให้มีการประยุกต์ใช้งาน
คอมพิวเตอร์ด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ซอฟต์แวร์ประยุกต์มี 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น
โปรแกรมทะเบียนรายชื่อนักเรียน เป็นต้น และซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป เช่น ไมโครซอฟต์เวิร์ด (Microsoft Word)
ไมโครซอฟต์เอ๊กเซล (Microsoft Excel) ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยด์ (Microsoft Power Point) เป็นต้น
ซอฟต์แวร์
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
3. ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูล (data) เป็นองค์ประกอบสาคัญสาหรับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลจนกลายเป็นสารสนเทศ
(information) ดังนั้นข้อมูลที่จะนามาใช้ในคอมพิวเตอร์ได้นั้น จะต้องมีการแปลงรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจให้เป็นรูปแบบที่
คอมพิวเตอร์เข้าใจ หรือเป็นสัญญาณดิจิทัล
4. บุคลากร
บุคลากร (peopleware) เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ ซึ่งบุคลากรต้องมีความรู้ความสามารถด้านการ
ใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้นจนถึงระดับสูง แตกต่างกันไปตามหน้าที่และความรับผิดชอบ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์มี
หลายระดับดังนี้
1. ระดับผู้ใช้งาน (user) เป็นผู้นาสารสนเทศที่ได้จากระบบสารสนเทศไปใช้งาน เช่น ครูประจาชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 1 ห้อง 1 สามารถพิมพ์รายชื่อนักเรียนไปเช็คชื่อเข้าชั้นเรียนได้
2. ระดับผู้พัฒนาระบบ (system analyst) เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ ได้แก่ นักวิเคราะห์ระบบ ทาหน้าที่
วิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับหน่วยงาน และนักเขียนโปรแกรม ทาหน้าที่เขียนคาสั่งด้วย
ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ระบบสารสนเทศทางานตามที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบ
3. ระดับผู้ปฏิบัติการ (operator) เป็นผู้ที่ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลให้กับระบบสารสนเทศ
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
บุคลการในระบบสารสนเทศ
5. กระบวนการทางาน
กระบวนการทางาน (procedure) เป็นขั้นตอนการทางานที่ผู้ใช้ต้องทาตาม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ
กระบวนการทางานจะอยู่ในรูปแบบของคู่มือการใช้งานสาหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ดังนั้นคู่มือจะต้องอธิบายการใช้งานระบบ
อย่างละเอียดและเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศต้องทางานสัมพันธ์กัน ซึ่งขาดองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งไม่ได้ เพื่อให้
เกิดการประมวลผลได้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
ระบบสารสนเทศ
ระดับของสารสนเทศ
ปัจจุบันข้อมูลและสารสนเทศมีความสาคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากสังคมในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นสังคมฐานความรู้
(Knowledge-based Society) กล่าวคือ คนในสังคมใช้ข้อมูลและสารสนเทศในการตัดสินใจ มีการเข้าถึงและใช้
ประโยชน์จากสารสนเทศจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสูงขึ้น ทั้งนี้เพราะสารสนเทศเป็นสิ่งที่ช่วยให้การตัดสินใจของผู้ใช้มี
ความแม่นยา ให้นักเรียนลองจินตนาการดูว่า หากนักเรียนต้องการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยการเดินเข้าไปที่ร้านและ
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
เลือกพิจารณาคอมพิวเตอร์ทีละยี่ห้อเพื่อเปรียบเทียบด้วยตนเองนั้น นักเรียนคงต้องใช้เวลาเป็นวันในการเทียบเคียงข้อมูล
แต่ปัจจุบันหากนักเรียนต้องการข้อมูลเพื่อตัดสินใจซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ เพียงแต่เข้าอินเทอร์เน็ต นักเรียนจะพบว่ามี
หลายเว็บไซต์ที่ให้นักเรียนกรอกความต้องการการใช้งานเครื่อง แล้วเว็บไซต์จะประมวลผลและนาเสนอเครื่องคอมพิวเตอร์
ที่มีคุณลักษณะและรุ่นใกล้เคียงกับความต้องการได้เพียงเสี้ยววินาที ซึ่งนี่เป็นแค่ตัวอย่างของการใช้งานสารสนเทศของผู้ใช้
เป็นรายบุคคลเท่านั้น ปัจจุบันหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ได้นาสารสนเทศมาใช้ในการตัดสินใจมากขึ้น ซึ่งระดับของ
สารสนเทศเป็นระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศ มีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ดังนี้
1. ระดับบุคคล
ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับบุคคลนั้น จะเป็นการที่แต่ละบุคคลในองค์กรจะสร้างและใช้
สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานส่วนตัวเท่านั้น เช่น การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดในการพิมพ์เอกสาร
การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ในงานนาเสนอสาหรับการสอนหรือบรรยาย โดยสามารถกรอกข้อความ
ตาราง ภาพ ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ที่ช่วยดึงดูดให้ผู้ฟังสนใจตลอดเวลา การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซลล์กรอก
ข้อมูล คานวณ สร้างกราฟ และทานายผลลัพธ์ของข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
สารสนเทศระดับบุคคล
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
2. ระดับกลุ่ม
ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับกลุ่มนั้น จะเป็นการที่กลุ่มของคนในองค์กรที่ต้องทางานร่วมกัน
จะสร้างและใช้สารสนเทศร่วมกัน ซึ่งจะส่งเสริมการดาเนินงานของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
หลักการ คือ นาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายระยะใกล้หรือระยะไกล ทาให้มีการใช้
ทรัพยากร ได้แก่ ข้อมูลและอุปกรณ์เทคโนโลยีพื้นฐานร่วมกัน
สารสนเทศระดับกลุ่ม
3. ระดับองค์กร
ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับองค์กรนั้น จะเป็นการที่แผนกต่าง ๆ ในองค์กร เช่น แผนการขาย
และการตลาด แผนการผลิต แผนกจัดซื้อ แผนกบุคคล แผนกการเงินและการบัญชี เป็นต้น มีการสร้างและส่งผ่าน
สารสนเทศจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่งได้โดยสร้างสารสนเทศในรูปแบบรายงาน หรือกราฟเพื่อให้ผู้บริหารนาไป
ประกอบการตัดสินใจได้
หลักการ คือ นาเครื่องคอมพิวเตอร์ของแผนกต่าง ๆ มาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูลร่วมกัน
สิ่งที่สาคัญของระบบสารสนเทศระดับกลุ่มและระดับองค์กร คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายทั้งภายใน
องค์กรและการเชื่อมโยงภายนอกองค์กร เพื่อให้มีการสื่อสารและส่งข้อมูลถึงกันได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
สารสนเทศระดับองค์กร
การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่จะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการ
ดาเนินการเริ่มตั้งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศและ
การดูแลรักษา สารสนเทศเพื่อการใช้งาน
1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่าง
ทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บ
อยู่เป็นจานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจใบลงทะเบียนที่
มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่าง ๆ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความ
ถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลาย
วิธี เช่น การใช้ผู้ป้อนข้อมูลสองคนป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วเปรียบเทียบกัน
2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้
2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมี
วิธีการ ที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัตินักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้า
เหลืองมีกรแบ่ง หมวดหมู่สินค้า และบริการ เพื่อความสะดวกในการค้นหา
2.2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือ
เพื่อให้เรียก ใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่นการจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้
บัตรรายการของห้องสมุด ตามลาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ ทาให้ค้นหาได้ง่าย
2.3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนาไปใช้
ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่นสถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น
2.4 การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมากข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์
บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย
3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย
3.1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เช่น แผ่น
บันทึกข้อมูล
นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูล เพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้
3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไปการค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้อง
แม่นยา
รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน ทาให้การเรียกค้นกระทาได้ทันเวลา
3.3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจัดเก็บ
ข้อมูลให้
ง่ายต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งไดโดยง่าย
3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสาคัญและมี
บทบาทที่สาคัญยิ่งที่จะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา
สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น
ตัวอย่าง

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
chaiwat vichianchai
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Warinrat Sangthong
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
Art Asn
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
Book st chapter1
Book st chapter1Book st chapter1
Book st chapter1
Sangdao Phrommat
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
kruchanon2555
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nattarikaii
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
Pumbaa Stk
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
Mnr Prn
 

What's hot (19)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูลหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ข้อมูลและระบบฐานข้อมูลวิชา การจัดการฐานข้อมูล
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Book st chapter1
Book st chapter1Book st chapter1
Book st chapter1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ 2 ถึง 8
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 

Similar to Unit033

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศrunjaun
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศrunjaun
 
เทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูเทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูnarongsak promwang
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1Nut Yuthapong
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2airly2011
 
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้KruJarin Mrw
 

Similar to Unit033 (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครูเทคโนโลยีสำหรับครู
เทคโนโลยีสำหรับครู
 
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
ผลการดำเนินงานจุดเน้นที่ 5
 
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
เอกสารประกอบการสอนบทที่ 1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
หน่วยที่ 1 แผนที่ 1
 
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
02ข้อมูลสารสนเทศความรู้
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

More from Maliwan Boonyen

สำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเองสำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเอง
Maliwan Boonyen
 
หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1
Maliwan Boonyen
 
Unit01
Unit01Unit01
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันMaliwan Boonyen
 
Computer
ComputerComputer
Computer
Maliwan Boonyen
 

More from Maliwan Boonyen (7)

สำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเองสำเร็จตนเอง
สำเร็จตนเอง
 
Unit03
Unit03Unit03
Unit03
 
หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวันคอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Unit033

  • 1. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น ข้อมูล (Data) คือ ข้อเท็จจริงหรือสาระต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับงานที่ปฏิบัติ อาจเป็นตัวเลขหรือข้อความที่เกิดขึ้นจาก การดาเนิน งาน หรือที่ได้จากหน่วยงานอื่น ๆ ข้อมูลเหล่านี้ ยังไม่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจได้ทันทีจะ นาไปใช้ได้ก็ต่อเมื่อ ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว สารสนเทศ (Information) นั้นคือ ข้อมูลที่ได้ผ่านกระบวนการประมวลผลแล้ว อาจใช้วิธีง่าย ๆ เช่น หา ค่าเฉลี่ย หรือใช้เทคนิค ขั้นสูง เช่นการวิจัยดาเนินงาน เป็นต้น เพื่อเปลี่ยนแปลงสภาพข้อมูลทั่วไปให้อยู่ในรูปแบบที่มี ความสัมพันธ์ หรือมีความ เกี่ยวข้องกัน เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจหรือตอบปัญหาต่าง ๆ ได้ สารสนเทศ ประกอบด้วยข้อมูล เอกสาร เสียง หรือรูปภาพต่าง ๆ แต่จัดเนื้อเรื่องให้อยู่ในรูปที่มีความหมาย สารสนเทศไม่ใช่ จากัดเฉพาะเพียงตัวเลขเพียง อย่างเดียวเท่านั้น คุณสมบัติของข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีความพยายามและตั้งใจดาเนินการ หรือกล่าวได้ว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะนามาใช้ ประโยชน์ องค์การจาเป็นต้องลงทุน ทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมา รองรับ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงถึงปัญหาเหล่านี้ และพยายามมองปัญหา แบบที่เป็นจริง สามารถดาเนินการได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้นการดาเนินงานเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ ที่ดี ข้อมูลจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทาให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้ไม่ กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาสผิดพลาด ได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคานึงถึงกรรมวิธีการดาเนินงาน เพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยา มากที่สุด โดยปกติ ความผิดพลาดของสารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคน หรือเครื่องจักร การ ออกแบบระบบจึงต้องคานึงถึงในเรื่องนี้ 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนอง ต่อ ผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียนค้นและ รายงานตาม ผู้ใช้ 3. ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฏิบัติด้วย ในการ ดาเนินการจัดทาสารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่ เหมาะสม การจัดการสารสนเทศ
  • 2. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น 4. ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บข้อมูลมากจึงจาเป็นต้อง ออกแบบ โครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้หรือย่นย่อข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อที่จะจัดเก็บเข้าไว้ใน ระบบ คอมพิวเตอร์ 5. ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงาน และองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ ประเภทของข้อมูล ข้อมูลสามารถแบ่งได้หลายลักษณะขึ้นกับว่าจะใช้เกณฑ์ใดในการแบ่ง เช่น ก.แบ่งตามแหล่งที่มา ได้เป็น 2 ประเภท 1.ข้อมูลปฐมภูมิ ( Primary Data)คือข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดที่ผู้เก็บข้อมูลลงมือเก็บด้วยตนเองได้มา จากแหล่งกาเนิด ที่แท้จริง เช่น ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสังเกต การทดลอง การทดสอบหรือการวัดจากกลุ่มตัวอย่างโดยตรง 2.ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือข้อเท็จจริง หรือรายละเอียดที่ผู้อื่นรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ สามารถนามาเป็น ข้อมูล โดยไม่ต้องลงมือเก็บรวบรวมเอง เช่น ข้อมูลจากระเบียนสะสม รายงานประจาปี สารานุกรม เอกสารเผยแพร่ เป็น ต้น ข.แบ่งตามลักษณะของข้อมูล 1.ข้อมูลเชิงปริมาณ ( Quantitative Data) คือข้อมูลที่วัดออกมาเป็นตัวเลข เช่นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาต่าง ๆ ความ ถนัดด้านต่าง ๆ ที่วัดออกมาเป็นคะแนน คุณลักษณะด้านจิตพิสัย เช่นความสนใจ ความวิตกกังวล คุณลักษณะทางกายเช่น ส่วนสูง ความเร็วในการวิ่ง 2.ข้อมูลเชิงคุณลักษณะหรือเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือข้อมูลที่ไม่ได้วัดออกมาเป็นตัวเลขแต่จะแสดงถึง คุณลักษณะของสิ่งนั้น เช่น เพศ ฐานะทางเศรษฐกิจ ศาสนา สถานภาพสมรส อาชีพ ข้อความที่เป็นความคิดเห็น ผลการ สังเกตที่เขียนในรูปบรรยาย วิธีการประมวลผลข้อมูล วิธีการประมวลผลข้อมูลโดยอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์ มี 2 วิธี คือ 1. การประมวลผลแบบเชื่อมตรง การประมวลผลแบบเชื่อมตรง (online processiog) เป็นวิธีการนาข้อมูลแต่ละรายการที่ถูกบันทึกเข้ามา ประมวลผลทันที นิยมใช้ในงานที่ต้องได้ผลลัพธ์ให้กับผู้ใช้ทันที หรือในงานที่ข้อมูลจะต้องทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เช่น เมื่อ นักเรียนเบิกเงินจากตู้เอทีเอ็ม รายการการเบิกเงินของนักเรียนแต่ละครั้งจะไปประมวลผลที่เครื่องหลักที่อาจอยู่ห่างไกล ทันที โดยข้อมูลจุถูกนาไปคานวณและบันทึกผอดคงเหลือในบัญชีเงินฝากของนักเรียนทันที เป็นต้น
  • 3. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น การประมวลผลแบบเชื่อมตรง 2. การประมวลผลแบบกลุ่ม การประมวลผลแบบกลุ่ม (batch processing) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในแต่ละช่วงเวลาหนึ่ง และนาข้อมูล ที่ได้รับในช่วงเวลาดังกล่าวมาประมวลผลพร้อมกัน เช่น การเก็บข้อมูลเวลาเข้าออกของนักเรียน และเมื่อถึงสิ้นเดือน โรงเรียนจะนาข้อมูลมาประมวลผลเป็นรายงานการเข้าชั้นเรียนของนักเรียนประจาเดือน เป็นต้น
  • 4. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น ลักษณะของสารสนเทศที่ดี 1. มีความถูกต้องแม่นยา (accuracy) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรงกับความเป็นจริงและเชื่อถือได้ สารสนเทศ บางอย่างมีความสาคัญ หากไม่ตรงกับความเป็นจริงแล้ว อาจก่อให้เกิดความเสียหายได้ สารสนเทศที่ถูกต้องแม่นยาจะต้อง เกิดจากการป้อนข้อมูลรวมถึงโปรแกรมที่ประมวลผลจะต้องถูกต้อง 2. ทันต่อเวลา (timeliness) สารสนเทศที่ดีต้องทันต่อการใช้งาน หมายถึง ข้อมูลที่ป้อนให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ต้องมีความเป็นปัจจุบันทันสมัยอยู่ตลอดเวลา เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง ตัวอย่างเช่น ข้อมูลหมายเลขโทรศัพท์ของ ผู้ปกครองนักเรียน จะต้องมีการปรับปรุงให้ทันสมัย หากหมายเลขโทรศัพท์ล้าสมัยก็จะไม่สามารถติดต่อกับผู้ปกครองได้ หากเกิดกรณีฉุกเฉิน 3. มีความสมบูรณ์ครอบถ้วน (complete) สารสนเทศที่ดีจะต้องมีความครบถ้วน สารสนเทศที่มีความครบถ้วนเกิด จากการเก็บข้อมูลได้ครบถ้วน หากเก็บข้อมูลเพียงบางส่วนก็จะไม่สามารถใช้ประโยชน์จากสารสนเทศได้เต็มประสิทธิภาพ ตัวอย่าง เช่น ข้อมูลนักเรียน ก็จะต้องมีการเก็บรายละเอียดเกี่ยวกับนักเรียนให้ได้มากที่สุด เช่น ชื่อ อายุ ที่อยู่ ชื่อ ผู้ปกครอง หมายเลขโทรศัพท์ โรคประจาตัว คะแนนที่ได้รับในแต่ละวิชา เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้ครูสามารถนาข้อมูลไปใช้ ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ หากไม่มีข้อมูลของหมายเลขโทรศัพท์ เมื่อเกิดเหตุฉุกเฉินก็จะไม่สามารถติดต่อกับผู้ปกครองได้ เช่นเดียวกัน
  • 5. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น 4. มีความสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) สารสนเทศจะต้องสอดคล้องกับความต้องการของผุ้ใช้ กล่าวคือ การเก็บข้อมูลต้องมีการสอบถามการใช้งานของผู้ใช้ว่าต้องการในเรื่องใดบ้าง จึงจะสามารถสรุปสารสนเทศได้ ตรงกับความต้องการของผู้ใช้มากที่สุด ตัวอย่างเช่น หากต้องการเก็บข้อมูลของนักเรียนก็ต้องถามครูว่าต้องการเก็บข้อมูล ใดบ้าง เพื่อให้ครูสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง 5. สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable) สารสนเทศที่ดีจะต้องตรวจสอบแหล่งที่มาได้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้ตรวจสอบความ ถูกต้องของสารสนเทศได้ ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information System : IS) หมายถึง ระบบที่สามารถจัดการข้อมูลตั้งแต่การรวบรวมและ ตรวจสอบข้อมูล การประมวลผลข้อมูล รวมถึงการดูแลรักษาข้อมูล ได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล การทาสาเนาข้อมูล การ ปรับปรุงข้อมูล ตลอดจนการสื่อสารข้อมูล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ถูกต้องและทันต่อความต้องการใช้งานของผู้ใช้ และผู้ใช้ สามารถนาสารสนเทศที่ได้ไปประกอบการตัดสินใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งระบบในที่นี้อาจใช้มนุษย์จัดการข้อมูลหรือ ใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูลก็ได้ แต่ปัจจุบันนิยมใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการข้อมูล เราอาจเรียกระบบสารสนเทศ นี้ว่า Computer-based Information System
  • 6. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น ระบบสารสนเทศ คาว่า “ระบบ” จะประกอบด้วยองค์ประกอบหลายองค์ประกอบอันจะทาให้ได้สารสนเทศที่ถูกต้องและรวดเร็ว สาหรับองค์ประกอบของระบบสารสนเทศที่สาคัญ 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. ฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์ (hardware) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์รอบข้าง ซึ่งฮาร์ดแวร์ประกอบด้วยหน่วยสาคัญ 5 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลัก หน่วยแสดงผล และหน่วยความจารอง ซึ่งผู้ใช้ ระบบสารสนเทศต้องเลือกฮาร์ดแวร์ให้เหมาะสมกับระบบสารสนเทศขององค์กร ฮาร์ดแวร์
  • 7. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น 2. ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (software) คือ โปรแกรมหรือชุดคาสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ซอฟต์แวร์จะถูกเขียนขึ้นโดยนักเขียนโปรแกรม (programmer) ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ (computer language) ซึ่งมีอยู่ มากมาย ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ เป็นโปรแกรมทุกโปรแกรมที่ทาหน้าที่ติดต่อกับฮาร์ดแวร์และมีเครื่องมือสาหรับให้ผู้ใช้ ทางานพื้นฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ระบบที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ และ โปรแกรมแปลคาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้กลายเป็นภาษาเครื่อง ซึ่งเป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นโปรแกรมที่สั่งให้คอมพิวเตอร์ทางานต่าง ๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ดังนั้นการเขียน ซอฟต์แวร์ประยุกต์เพื่อให้รองรับการทางานตามวัตถุประสงค์ต่าง ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการ ทาให้มีการประยุกต์ใช้งาน คอมพิวเตอร์ด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวาง ซอฟต์แวร์ประยุกต์มี 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน เช่น โปรแกรมทะเบียนรายชื่อนักเรียน เป็นต้น และซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป เช่น ไมโครซอฟต์เวิร์ด (Microsoft Word) ไมโครซอฟต์เอ๊กเซล (Microsoft Excel) ไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยด์ (Microsoft Power Point) เป็นต้น ซอฟต์แวร์
  • 8. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น 3. ข้อมูลและสารสนเทศ ข้อมูล (data) เป็นองค์ประกอบสาคัญสาหรับคอมพิวเตอร์ในการประมวลผลจนกลายเป็นสารสนเทศ (information) ดังนั้นข้อมูลที่จะนามาใช้ในคอมพิวเตอร์ได้นั้น จะต้องมีการแปลงรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจให้เป็นรูปแบบที่ คอมพิวเตอร์เข้าใจ หรือเป็นสัญญาณดิจิทัล 4. บุคลากร บุคลากร (peopleware) เป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ ซึ่งบุคลากรต้องมีความรู้ความสามารถด้านการ ใช้งานคอมพิวเตอร์เบื้องต้นจนถึงระดับสูง แตกต่างกันไปตามหน้าที่และความรับผิดชอบ บุคลากรด้านคอมพิวเตอร์มี หลายระดับดังนี้ 1. ระดับผู้ใช้งาน (user) เป็นผู้นาสารสนเทศที่ได้จากระบบสารสนเทศไปใช้งาน เช่น ครูประจาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ห้อง 1 สามารถพิมพ์รายชื่อนักเรียนไปเช็คชื่อเข้าชั้นเรียนได้ 2. ระดับผู้พัฒนาระบบ (system analyst) เป็นผู้พัฒนาระบบสารสนเทศ ได้แก่ นักวิเคราะห์ระบบ ทาหน้าที่ วิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศที่เหมาะสมกับหน่วยงาน และนักเขียนโปรแกรม ทาหน้าที่เขียนคาสั่งด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ระบบสารสนเทศทางานตามที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบ 3. ระดับผู้ปฏิบัติการ (operator) เป็นผู้ที่ทาหน้าที่ป้อนข้อมูลให้กับระบบสารสนเทศ
  • 9. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น บุคลการในระบบสารสนเทศ 5. กระบวนการทางาน กระบวนการทางาน (procedure) เป็นขั้นตอนการทางานที่ผู้ใช้ต้องทาตาม เพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ กระบวนการทางานจะอยู่ในรูปแบบของคู่มือการใช้งานสาหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ดังนั้นคู่มือจะต้องอธิบายการใช้งานระบบ อย่างละเอียดและเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย องค์ประกอบของระบบสารสนเทศต้องทางานสัมพันธ์กัน ซึ่งขาดองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งไม่ได้ เพื่อให้ เกิดการประมวลผลได้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ
  • 10. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น ระบบสารสนเทศ ระดับของสารสนเทศ ปัจจุบันข้อมูลและสารสนเทศมีความสาคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากสังคมในยุคปัจจุบันถือได้ว่าเป็นสังคมฐานความรู้ (Knowledge-based Society) กล่าวคือ คนในสังคมใช้ข้อมูลและสารสนเทศในการตัดสินใจ มีการเข้าถึงและใช้ ประโยชน์จากสารสนเทศจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสูงขึ้น ทั้งนี้เพราะสารสนเทศเป็นสิ่งที่ช่วยให้การตัดสินใจของผู้ใช้มี ความแม่นยา ให้นักเรียนลองจินตนาการดูว่า หากนักเรียนต้องการซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยการเดินเข้าไปที่ร้านและ
  • 11. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น เลือกพิจารณาคอมพิวเตอร์ทีละยี่ห้อเพื่อเปรียบเทียบด้วยตนเองนั้น นักเรียนคงต้องใช้เวลาเป็นวันในการเทียบเคียงข้อมูล แต่ปัจจุบันหากนักเรียนต้องการข้อมูลเพื่อตัดสินใจซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ เพียงแต่เข้าอินเทอร์เน็ต นักเรียนจะพบว่ามี หลายเว็บไซต์ที่ให้นักเรียนกรอกความต้องการการใช้งานเครื่อง แล้วเว็บไซต์จะประมวลผลและนาเสนอเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีคุณลักษณะและรุ่นใกล้เคียงกับความต้องการได้เพียงเสี้ยววินาที ซึ่งนี่เป็นแค่ตัวอย่างของการใช้งานสารสนเทศของผู้ใช้ เป็นรายบุคคลเท่านั้น ปัจจุบันหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ได้นาสารสนเทศมาใช้ในการตัดสินใจมากขึ้น ซึ่งระดับของ สารสนเทศเป็นระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศ มีอยู่ด้วยกัน 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับบุคคล ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับบุคคลนั้น จะเป็นการที่แต่ละบุคคลในองค์กรจะสร้างและใช้ สารสนเทศเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานส่วนตัวเท่านั้น เช่น การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดในการพิมพ์เอกสาร การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์พาวเวอร์พอยต์ในงานนาเสนอสาหรับการสอนหรือบรรยาย โดยสามารถกรอกข้อความ ตาราง ภาพ ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ที่ช่วยดึงดูดให้ผู้ฟังสนใจตลอดเวลา การใช้โปรแกรมไมโครซอฟต์เอ็กเซลล์กรอก ข้อมูล คานวณ สร้างกราฟ และทานายผลลัพธ์ของข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น สารสนเทศระดับบุคคล
  • 12. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น 2. ระดับกลุ่ม ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับกลุ่มนั้น จะเป็นการที่กลุ่มของคนในองค์กรที่ต้องทางานร่วมกัน จะสร้างและใช้สารสนเทศร่วมกัน ซึ่งจะส่งเสริมการดาเนินงานของกลุ่มให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น หลักการ คือ นาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายระยะใกล้หรือระยะไกล ทาให้มีการใช้ ทรัพยากร ได้แก่ ข้อมูลและอุปกรณ์เทคโนโลยีพื้นฐานร่วมกัน สารสนเทศระดับกลุ่ม 3. ระดับองค์กร ระดับของการเกี่ยวข้องกับสารสนเทศในระดับองค์กรนั้น จะเป็นการที่แผนกต่าง ๆ ในองค์กร เช่น แผนการขาย และการตลาด แผนการผลิต แผนกจัดซื้อ แผนกบุคคล แผนกการเงินและการบัญชี เป็นต้น มีการสร้างและส่งผ่าน สารสนเทศจากแผนกหนึ่งไปยังอีกแผนกหนึ่งได้โดยสร้างสารสนเทศในรูปแบบรายงาน หรือกราฟเพื่อให้ผู้บริหารนาไป ประกอบการตัดสินใจได้ หลักการ คือ นาเครื่องคอมพิวเตอร์ของแผนกต่าง ๆ มาเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูลร่วมกัน สิ่งที่สาคัญของระบบสารสนเทศระดับกลุ่มและระดับองค์กร คือ การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายทั้งภายใน องค์กรและการเชื่อมโยงภายนอกองค์กร เพื่อให้มีการสื่อสารและส่งข้อมูลถึงกันได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
  • 13. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น สารสนเทศระดับองค์กร การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่จะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จาเป็นต้องอาศัยเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการ ดาเนินการเริ่มตั้งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศและ การดูแลรักษา สารสนเทศเพื่อการใช้งาน 1. การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล ควรประกอบด้วย 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซึ่งมีจานวนมาก และต้องเก็บให้ได้อย่าง ทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บ อยู่เป็นจานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมูลจากรหัสแท่ง การตรวจใบลงทะเบียนที่ มีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่าง ๆ เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเช่นกัน
  • 14. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น 1.2 การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจสอบข้อมูล เพื่อตรวจสอบความ ถูกต้อง ข้อมูลที่เก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบที่ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลาย วิธี เช่น การใช้ผู้ป้อนข้อมูลสองคนป้อนข้อมูลชุดเดียวกันเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วเปรียบเทียบกัน 2. การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 2.1 การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพื่อเตรียมไว้สาหรับการใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมี วิธีการ ที่ชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัตินักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้า เหลืองมีกรแบ่ง หมวดหมู่สินค้า และบริการ เพื่อความสะดวกในการค้นหา 2.2 การจัดเรียงข้อมูล เมื่อจัดแบ่งกลุ่มเป็นแฟ้มแล้ว ควรมีการจัดเรียงข้อมูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือ เพื่อให้เรียก ใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่นการจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้ บัตรรายการของห้องสมุด ตามลาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อคนในสมุดรายนามผู้ใช้โทรศัพท์ ทาให้ค้นหาได้ง่าย 2.3 การสรุปผล บางครั้งข้อมูลที่จัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือสร้างรายงานย่อ เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์ ข้อมูลที่สรุปได้นี้อาจสื่อความหมายได้ดีกว่า เช่นสถิติจานวนนักเรียนแยกตามชั้นเรียนแต่ละชั้น 2.4 การคานวณ ข้อมูลที่เก็บมีเป็นจานวนมากข้อมูลบางส่วนเป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถนาไปคานวณเพื่อหาผลลัพธ์ บางอย่างได้ ดังนั้นการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณข้อมูลที่เก็บไว้ด้วย 3. การดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบด้วย 3.1 การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ในสื่อบันทึกต่างๆ เช่น แผ่น บันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูล เพื่อให้ใช้งานต่อไปในอนาคตได้ 3.2 การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไปการค้นหาข้อมูลจะต้องค้นได้ถูกต้อง แม่นยา รวดเร็ว จึงมีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการทางาน ทาให้การเรียกค้นกระทาได้ทันเวลา 3.3 การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพื่อที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไปแจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจัดเก็บ ข้อมูลให้ ง่ายต่อการทาสาเนา หรือนาไปใช้อีกครั้งไดโดยง่าย 3.4 การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูลจึงเป็นเรื่องสาคัญและมี บทบาทที่สาคัญยิ่งที่จะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ทาได้รวดเร็วและทันเวลา
  • 15. สื่อการเรียนการสอน วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.1 สอนโดย ครูมลิวัลย์ บุญเย็น ตัวอย่าง