SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 5    ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอที   และผลกระทบต่อองค์กร ,[object Object],[object Object],[object Object]
ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร   ในระบบโลกาภิวัฒน์     เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในทุกสาขาอาชีพการติดต่อสื่อสาร   ในทุก ๆ    ด้านสามารถติดต่อกันได้ตลอดเวลาไม่จำกัดด้วยระยะทางทำให้เกิดการแข่งขันกันอย่างปราศจากขอบเขต    ดังนั้น    ข้อมูลข่าวสาร จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น    ข้อมูลที่ดีต้องมีการจัดการข้อมูลได้รวดเร็ว ง่าย สะดวก   โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย           ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ก็เช่นเดียวกัน    ได้พัฒนาในด้านของความครอบคลุม ในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ    มาเป็นระยะเวลายาวนาน โดยปรับระบบให้ทันกับยุคโลกาภิวัฒน์   โดยเริ่มต้นจัดระบบงานข้อมูลข่าวสารสุขภาพตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกระทรวงสาธารณสุข     ตั้งแต่แผนพัฒนาการสาธารณสุข    ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่  4  ( พ . ศ .  2520-2524)  จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขกลาง    องค์ประกอบของระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพในขณะนั้นมี  3  เรื่อง ได้แก่ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการ    การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร และระเบียนและรายงาน    จนถึงปัจจุบันในช่วงแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่    9  ( พ . ศ . 2545-2549)  ได้พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ     โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยเพื่อเป็นการประหยัดเวลาในการจัดทำรายงาน     ได้พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขจากระบบการส่งรายงานเป็นระบบฐานข้อมูลจากสถานบริการ  เป็นรายบุคคล
ความสำคัญของข้อมูลข่าวสาร ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ     ในปัจจุบันมีจุดแข็งคือมีความชัดเจน    ลดความซ้ำซ้อน  ประหยังบประมาณในการจัดพิมพ์ ระเบียนและรายงาน     มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้กว้างขวางยิ่งขึ้น     ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ จึงมีความจำเป็นต่อการระบุปัญหา    ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลสนับสนุน ควบคุมกำกับและประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพของงานสาธารณสุขในทุกระดับ    ลักษณะที่ดีของข้อมูลสารสนเทศ   1.     ต้องมีความเที่ยงตรง   2.     ทันเวลาการใช้งาน 3.     ตรงตามความต้องการ ทุกระดับมีความต้องการข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจ ที่แตกต่างกันไป    จึงมีการจัดระบบ ข้อมูลข่าวสาร    กำหนดตัวชี้วัดสำหรับการประเมินผลที่แตกต่างกันไปในแต่ละระดับ    ได้แก่ ระดับนโยบาย ระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ
กระทรวงสาธารณสุข    หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบเกี่ยวกับระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ    และ เป็นศูนย์กลางการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ    เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข    กำกับ ติดตามและประเมินผล ตลอดจนการสนับสนุนข้อมูลเพื่อการกำหนดนโยบายและวางแผนด้าสุขภาพ      ได้แก่ กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ    สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์    หน่วยงานเป้าหมายที่จัดเก็บข้อมูลข่าวสุขภาพ ได้แก่ สถานบริการทางการแพทย์ ทั้งภาครัฐและเอกชน    ตั้งแต่ระดับจังหวัด    รพศ / รพท . รพช .  จนถึงสถานีอนามัย              การตัดสินใจว่า    จะจัดเก็บข้อมูลข่าวสารสุขภาพใดหรือไม่    จะต้องมีกระบวนการพิจารณา อย่างรอบคอบระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   ข้อมูลที่จะจัดเก็บนั้นต้องมีคุณค่าเพียงพอแก่การจัดเก็บ    วิธีการจัดเก็บ การรายงาน การวิเคราะห์ได้พัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยในการบริหาจัดการ      และใช้ประโยชน์เมื่อได้รับข้อมูลนั้นมา ข้อมูลข่าวสารสุขภาพที่มีอยู่ในระบบจึงเป็นข้อมูลข่าวสารที่ต้องการเท่านั้น  
ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร โครงสร้างกำลังเปลี่ยนแปลง   ในยุคสมัยเมื่อยี่สิบปีที่แล้ว การประมวลผลข้อมูลข่าวสารในองค์กรส่วนใหญ่ใช้ระบบรวมศูนย์   (centralize)  กล่าวคือ มีศูนย์คอมพิวเตอร์ขององค์กรเป็นสถานที่จัดการข้อมูลข่าวสาร ประมวลผลกับที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นระบบมินิคอมพิวเตอร์หรือ เมนเฟรม ดังนั้นจึงมีใช้กันเฉพาะในองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น   ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี ขีดความสามารถของพีซีสูงขึ้น การใช้งานในระดับส่วนตัวทำได้ดี เกิดการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล โดยเฉพาะงานที่ผู้ใช้เป็นผู้ดำเนินการเอง มีโปรแกรมสำเร็จรูปให้ใช้มากมาย   หลังจากปี ค . ศ .  1990  เครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มแพร่หลาย มีการนำคอมพิวเตอร์ระดับพีซีมาสร้างเป็นเครือข่าย ก่อให้เกิดการทำงานแบบรวมกลุ่ม หรือที่เรียกว่า เวอร์กกรุฟ และรวมหลายเวอร์กรุฟเรียกว่า  Enterprise  แนวคิดจึงมีลักษณะการกระจายฟังก์ชันการทำงานออกไป เริ่มมีการกระจายระบบเซิร์ฟเวอร์ไปยังหน่วยงานย่อยต่าง ๆ ให้แต่ละหน่วยงานย่อยมีระบบเครือข่ายแลนของตนเอง และเชื่อมโยงเครือข่ายแลนย่อยเข้าด้วยกันด้วยอุปกรณ์สื่อสารจำพวกสวิตชิ่งหรือเราเตอร์ เครือข่ายขององค์กรจึงเกิดขึ้น
เมื่อเวลาผ่านไป การปรับเปลี่ยนระบบการใช้งานคอมพิวเตอร์ก็แปรเปลี่ยนไปด้วย มีเทคโนโลยีหลายอย่างที่เข้ามาทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับเปลี่ยน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องโครงสร้างการประมวลผลระบบสารสนเทศในองค์กร     ทั้งนี้เพราะเซิร์ฟเวอร์มีขนาดใหญ่ขึ้น มีประสิทธิภาพดี ขีดความสามารถของเซิร์ฟเวอร์จึงรองรับงานได้มากขึ้น แนวคิดในเรื่องการรวมข้อมูลไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางจึงเกิดขึ้น แต่ก็ยังกระจายฟังก์ชันการทำงาน โดยมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นเสมือนตัวเชื่อมการไหลกระแสข้อมูลข่าวสารในองค์กร อินทราเน็ตจึงเป็นระบบที่องค์กรสมัยใหม่เลือกนำมาใช้     การทำงานแบบนี้พยายามตอบสนองผู้ใช้ในลักษณะกระจายหรือทำให้เกิดระบบที่เรียกว่า   Mobile/Remote Work  ก่อให้เกิดการทำงานแบบ  Virtual Workplace  ลักษระงานจึงมีลักษณะเป็นแบบลูกค้าเป็นจุดศูนย์กลาง หรือ  Customer Centricity  ลูกค้าสามารถรับบริการที่ใดก็ได้ ดังเช่นการใช้งานเอทีเอ็มของธนาคาร     เทคโนโลยีเครือข่ายยังเป็นตัวเร่งทำให้ระบบอินทราเน็ตขององค์กรแพร่กระจายได้เร็ว ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์เข้ามาสนับสนุนผู้ใช้ในฐานะที่เป็น   End User  ได้มาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่เรียกว่า  Web Technology    เทคโนโลยีเว็บ ใช้เซิร์ฟเวอร์ที่รองรับระบบข้อมูลข่าวสารเป็นจำนวนมาก และเชื่อมโยงเครือข่ายข่าวสารในองค์กรได้ดี การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารมีมาตรฐานที่ชัดเจนขึ้น ข้อมูล ข่าวสารที่เรียกดูบนเว็บใช้มาตรฐาน   HTML  ขณะเดียวกันมีการสร้างระบบเชื่อมโยงต่อกับระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้เรียกผ่านเข้าดูในลักษณะเว็บได้ ถนนหลายสายของการพัฒนาระบบข้อมูล ข่าวสารในองค์กรจึงเดินทางมาในรูปแบบที่ใช้เทคโนโลยีเว็บ
แนวโน้มเทคโนโลยีที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ พีซีมีลักษณะเป็น  Client  ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น จนมีผู้กล่าวขนานนามว่า  Fat Client  การใช้งานพีซีจึงทำงานได้มาก จุดนี้เองเป็นแรงสำคัญที่ทำให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่พึงพอใจ และเมื่ออยู่บนเครือข่ายขององค์กร แนวโน้มการทำงานแบบเวอร์กโฟลว์ก็เด่นชัดขึ้น     ซอฟต์แวร์ของค่ายดังหลายแห่งทั้งไมโครซอฟต์ โลตัส ไอบีเอ็ม ต่างเน้นให้เกิดการทำงานแบบเวอร์กโฟล์วบนเครือข่าย ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ เช่น ออฟฟิส  97  โลตัสโน้ต  ( โดมิโน )  แม้แต่ในระบบการพัฒนาฐานข้อมูลของค่ายดัง ทั้งโอราเคิล อินฟอร์มิกซ์ ไซเบส ฯลฯ ล้วนแล้วแต่สนับสนุนการทำงานแบบเวอร์กโฟล์วบนเครือข่าย ผู้ใช้สามารถใช้งานผ่านทางบราวเซอร์เพื่อดำเนินกิจกรรมการทำงานต่าง ๆ ของตนได้     โมเดลขององค์กรในเรื่องการจัดการสารสนเทศจึงมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนไปตามกระแสเทคโนโลยีที่สำคัญคือ ระบบจะรวมศูนย์ในลักษณะการมองแบบการรวมทรัพยากรต่าง ๆ ให้เห็นเสมือนหนึ่งว่าทรัพยากรนั้นเป็นของรวมที่แบ่งกันใช้ ขณะเดียวกันก็กระจายการทำงาน กระจายการบริการ มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานระดับส่วนตัว แต่ก็ประสานรวมกับของทั้งองค์กรได้     องค์กรสมัยใหม่จึงเริ่มปรับฐานด้วยการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางระบบสื่อสารภายในองค์กร โดยเฉพาะเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบแลนพัฒนาระบบงานบนพื้นฐาน การเรียกเข้าหาจากเครือข่ายและที่สำคัญก็คือ ทุกองค์กรมุ่งมาตรฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับโลกภายนอกได้ นั่นคือ  TCP/IP  หรืออินเทอร์เน็ต     จากกรณีการพัฒนาขององค์การต่าง ๆ ที่พบเห็น บริษัท  Gartner Group  ได้สรุปผลไว้ว่า   " องค์กรต่าง ๆ ได้แสวงหาวิธีการสมัยใหม่ ในอันที่จะลดต้นทุนของระบบสารสนเทศ โดยการปรับปรุงระบบภายในให้มีลักษณะเป็นแบบการรวมทรัพยากรข่าวสาร โดยมีเครือข่ายกระจายไปยังผู้ใช้เพื่อกระจายการบริการข่าวสาร ”
[object Object]
โครงสร้างองค์กรกับระบบสารสนเทศ ปัจจุบันมีการกล่าวถึงวิธีการรื้อปรับระบบองค์กรใหม่ ในรูปแบบที่เรียกว่า   business reinvention  กล่าวคือ การปรับปรุงและสร้างค์องค์กรใหม่ โดยนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในองค์กร   สารสนเทศเป็นสิ่งที่มีความสำคัญยิ่ง เราแบ่งระดับสารสนเทศออกเป็น  4  ระดับคือ ระดับส่วนบุคคล ระดับกลุ่มหรือแผนก ระดับองค์กรและระดับระหว่างองค์กร โดยทุกระดับจะเกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่จำเป็นต้องนำมาใช้เพื่อประกอบกัน และให้ได้ประโยชน์จากสารสนเทศ ประกอบด้วยอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ชั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่ กฏระเบียบต่าง ๆ และตัวบุคลากรเอง   ศูนย์สารสนเทศขององค์กร คือหน่วยงานที่จะบริหารและจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ที่ต้องลงทุนทั้ง  5  องค์ประกอบนี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ศูนย์สารสนเทศขององค์กรตามแนวความคิดใหม่ จึงต้องประสานกับธรรมชาติของการทำงานขององค์กรที่มีบุคลากรเป็นแกนนำ เพราะบุคลากรทุกคนย่อมเป็นผู้ใช้สารสนเทศ และยังต้องมองเลยไปเป็นระดับกลุ่ม ระดับองค์กร และระดับระหว่างองค์กร การทำงานในทุกระดับจะต้องประสานการใช้ประโยชน์ให้เกิดกับองค์กรได้สูงสุด
ลักษณะและจุดมุ่งหมายของศูนย์สารสนเทศ คอมพิวเตอร์มีการพัฒนาการมาจากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีราคาแพง โดยการใช้ประโยชน์จึงเริ่มจากการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันในอดีต มีศูนย์คอมพิวเตอร์กลาง ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี แนวคิดจึงเริ่มจากการพัฒฒนาให้ระบบใช้งานส่วนตัว และต่อมาพัฒนาเป็นเครือข่ายที่ทำงานร่วมกัน ดังนี้นลักษณะของการใช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีลักษณะตามสภาพของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยี โดยเฉพาะระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่าย รูปแบบการช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบดังนี้   การใช้แบบเครื่องหลัก  ( Host base)  ในยุคที่เครื่องคอมพิวเตอร์มีราคาแพง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นเมนเฟรม ซึ่งมีการจัดการฐานข้อมูลอยู่ส่วนกลางและแบ่งการใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์หลักเป็นเครื่องที่รวมทรัพยากรทั้งหมดไว้ที่ศูนย์กลาง ผู้ใช้เพียงแต่ต่อสายออนไลน์ และใช้กำลังการคำนวณทั้งหมดจากเครื่องหลัก สถานีปลายทางจึงเป็นเพียงแค่เทอร์มินัลเท่านั้น รูปที่  1  การใช้งานแบบเครื่องหลัก  เพื่อเป็นการสนับสนุนข้อมูลข่าวสารขององค์กร
การใช้งานแบบเครื่องเดี่ยว  ( stand alone)   เมื่อมีการพัฒนาพีซีให้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล จึงมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สนับสนุนพีซีให้ช่วยงานระดับบุคคล ดังนั้นการประยุกต์ใช้งานระดับบุคคลจึงเป็นที่นิยมแพร่หลาย ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์พื้นฐนที่เรียกว่าโปรแกรมสำเร็จรูปให้ใช้งานได้มาก เช่น ใช้ช่วยในการพิมพ์เอกสารหรือเรียกว่า  เวิร์ดโปรเซสเซอร์  ใช้คำนวณบนตารางที่เรียกว่า  สเปรตซีต  ใช้ในการเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลขนาดเล็ก ใช้เพื่อนำเสนอผลงาน รูปที่  2  เครื่องพีซีทำให้เกิดระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
ระบบแลนและไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์  เมื่อพีซีมีขีดความสามารถสูงขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยีได้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เชื่อมโยงเข้าถึงกัน และใช้งานร่วมกัน ระบบแลนที่ใช้จึงเริ่มจากการสนับสนุนงานระดับกลุ่ม ระดับแผนกที่มีการทำงานร่วมกัน ใช้ทรัพยากรบางอย่างร่วมกัน เช่น ใช้ไฟล์ใช้ข้อมูล ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ตลอดจนเครื่องพิมพ์ร่วมกัน สภาพการทำงานบนเลนส่วนหนึ่งมีลักษณะการทำงานแบบ ไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ กล่าวคือมีสถานีบริการกลางที่ให้บริการร่วมกันทั้งกลุ่ม โดยผู้ใช้จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีของตนเองเชื่อมโยงกับเครือข่ายแลน เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เรียกว่า  ไคลแอนด์  ส่วนสถานีบริการกลางเรียกว่า  เซิร์ฟเวอร์  เช่น ถ้ามีระบบฐานข้อมูลกลางที่ให้บริการกลางร่วมกันก็เรียกว่า  ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์  ผู้ใช้สามารถใช้เครื่องไคลแอนต์เรียกค้นข้อมูลข่าวสารจากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได ้รูปแบบการทำงานแบบนี้จึงเป็นการลดขนาดของเซิร์ฟเวอร์ลงจากโฮสเบส เพราะสถานีย่อยคือไคลแอนต์สามารถช่วยดำเนินการบางอย่างเองได้ และการทำงานในระดับไคลแอนต์ที่สำคัญคือ มีส่วนช่วยในการติดต่อกับผู้ใช้ที่จะแสดงผลแบบกราฟฟิก รูปที่  3  เครือข่ายแลนสนับสนุนการทำงานเป็นกลุ่ม
การเชื่อมต่อแลนเป็นอินทราเน็ต  เมื่อนำเวอร์กกรุ๊ปหรือเครือข่ายแลนย่อย ๆ หลายเครือข่ายต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายขององค์กร มีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารหลักที่เรียกว่าแบคโบน  ( backbone)  เครือข่ายนี้จึงเป็นเครือข่ายที่สนับสนุนการทำงานขององค์กร ซึ่งอาจเรียกว่าเอ็นเตอร์ไพรสเน็ตเวอร์กหรืออินทราเน็ต ในระดับองค์กรจึงมีการบริหารจัดการเครือข่ายขององค์กร มีหน่วยงานดูแลเครือข่ายกลาง และดูแลทรัพยากรที่สนับสนุนการใช้งานในองค์กร ลักษณะการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานอาจข้ามออกไปยังหน่วยงานที่อยู่ห่างไกล โดยเชื่อมต่อด้วยเครือข่ายสาธารณะแบบแวน  ( wan)  สภาพการทำงานภายในองค์กรยังมีลักษณะการใช้ทรัพยากรร่วมกันมีสถานีบริการที่เรียกว่าเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้ใช้พีซีที่ต่ออยู่บนเครือข่ายเชื่อมโยงเรียกใช้บริการเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ภายในองค์กรอาจมีฐานข้อมูลเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางหรืออาจจะมีหลายเซิร์ฟเวอร์กระจายกันอยู่ก็ได้ ลักษณะการใช้งานบนเครือข่ายจึงสนับสนุนการทำงานตั้งแต่งานในระดับบุคคลที่ใช้พีซีของตนเองเป็นหลัก เชื่อมต่อใช้งานร่วมกันเป็นเครือข่ายในแผนก ในกลุ่มงานของตน ใช้สถานทีบริการเซิร์ฟเวอร์ในแผนกของตน และยังเชื่อมโยงกับองค์กรใช้งานในลักษณะร่วมกับส่วนกลางขององค์กร ดังนั้นทุกคนในองค์กรที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายจึงสามารถเลือกใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ข้อมูลข่าวสารทั้งของกลุ่มและขององค์กรได้
รูปที่  4  การใช้เครือข่ายเพื่อสนับสนุนการทำงานในองค์กร   เครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กรต้องเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของแต่ละแผนกเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูลร่วมกัน นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากรฮาร์ดแวร์ร่วมกันได้อีกด้วย ในเชิงเทคนิคนั้นระบบสารสนเทศระดับองค์กรจะมีระบบคอมพิวเตอร์ที่ดูแลแฟ้มข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันไว้ในไฟล์เซิร์ฟเวอร์ มีการใช้เครือข่ายแลนเชื่อมโยงเครื่องมือพื้นฐาน อีกประการหนึ่งของระบบข้อมูลข่าวสาร คือระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งเป็นโปรแกรมที่สำคัญในการช่วยดูแลระบบข้อมูลและการประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ
การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร  การบริหารและการจัดการระบบสารสนเทศสมัยใหม่ ยังเน้นให้เกิดการทำงานแบบ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์  ( eBusiness)   และมีการค้าขายแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่าางองค์กรเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน   การเชื่อมโยงระหว่างกันในปัจจุบัน เน้นการใช้เส้นทางร่วมแบบสาธารณะ เช่น ใช้อินเทอร์เน็ต ลักษณะการเชื่อมโยงออกสู่ภายนอก จึงมีลักษณะที่ต้องการสร้างวงจรเฉพาะการเชื่อมโยงระหว่างองค์กร หรือการวิ่งผ่านเส้นทางสาธารณร่วมกัน รูปที่  5  การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร
อินเทอร์เน็ตจึงเป็นเครือข่ายสากลที่เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยขององค์กรจำนวนมหาศาลเข้าด้วยกัน ทำให้ทุกองค์กรที่เชื่อมโยงเข้าถึงอินเทอร์เน็ตติดต่อถึงกันได้ และหากถ้ามีองค์กรใดสร้างเครือข่ายและเชื่อมโยงต่อออกไปภายนอก โดยเน้นการทำงานในขอบเขตจำกัด เช่น ให้บริการลูกค้าติดต่อเข้ามาได้ และไม่สามารถออกไปนอกเครือข่ายอย่างอิสระเหมือนอินเทอร์เน็ต เราก็เรียกว่า เอ็กซ์ทราเน็ต

More Related Content

What's hot

แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
Sircom Smarnbua
 
มายแมพการสื่อสารข้อมูล
มายแมพการสื่อสารข้อมูลมายแมพการสื่อสารข้อมูล
มายแมพการสื่อสารข้อมูลnun31march
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการWatcharin Chongkonsatit
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
Aopja
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
WitthayaMihommi
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
Pornwipa Onlamul
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Wanphen Wirojcharoenwong
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
ละมุล รื่นรวย
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Khunakon Thanatee
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
สื่อการสอนโครงการ
สื่อการสอนโครงการสื่อการสอนโครงการ
สื่อการสอนโครงการ
Sangduan12345
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
คุณครูพี่อั๋น
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
Nontaporn Pilawut
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
Jariya
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
Net Thanagon
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
สำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุมแผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
แผ่นพับโครงงานความหลากหลายของแมงมุม
 
มายแมพการสื่อสารข้อมูล
มายแมพการสื่อสารข้อมูลมายแมพการสื่อสารข้อมูล
มายแมพการสื่อสารข้อมูล
 
11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ11 การเขียนโครงการ
11 การเขียนโครงการ
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
สรุปเนื้อหาวิชาการออกแบบและเทคโนโลยี ม.4-5
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
 
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
สื่อการสอนโครงการ
สื่อการสอนโครงการสื่อการสอนโครงการ
สื่อการสอนโครงการ
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุขโครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
โครงการโรงเรียนสีขาว ปลอดอบายมุข
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับห้องสมุด
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
 
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์  ป. 6 2550.1
ข้อสอบอัจฉริยภาพ ทางวิทยาศาสตร์ ป. 6 2550.1
 

Viewers also liked

การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
Satapon Yosakonkun
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่5
บทที่5 บทที่5
บทที่5
airly2011
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Saiiew
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์supatra2011
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 

Viewers also liked (9)

การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
การบริหารจัดการข้อมูลข่าวสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่5
บทที่5 บทที่5
บทที่5
 
ข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสารข้อมูลข่าวสาร
ข้อมูลข่าวสาร
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
สรุปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 

Similar to บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร

บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศPrakaywan Tumsangwan
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศKo Kung
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Kasamesak Posing
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพรjunyapron
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
Wanphen Wirojcharoenwong
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
Pintuphon Tharavanich
 

Similar to บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร (20)

บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 2 ระบบสารสนเทศ
 
1
11
1
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
1
11
1
 
1
11
1
 
1
11
1
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
งานบทท 2
งานบทท  2งานบทท  2
งานบทท 2
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
จรรยพร
จรรยพรจรรยพร
จรรยพร
 
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 

บทที่5 ระบบข้อมูลข่าสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร

  • 1.
  • 2. ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร ในระบบโลกาภิวัฒน์    เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทในทุกสาขาอาชีพการติดต่อสื่อสาร ในทุก ๆ   ด้านสามารถติดต่อกันได้ตลอดเวลาไม่จำกัดด้วยระยะทางทำให้เกิดการแข่งขันกันอย่างปราศจากขอบเขต   ดังนั้น   ข้อมูลข่าวสาร จึงเป็นสิ่งที่จำเป็น   ข้อมูลที่ดีต้องมีการจัดการข้อมูลได้รวดเร็ว ง่าย สะดวก   โดยใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย        ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ ก็เช่นเดียวกัน   ได้พัฒนาในด้านของความครอบคลุม ในการรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่สำคัญ   มาเป็นระยะเวลายาวนาน โดยปรับระบบให้ทันกับยุคโลกาภิวัฒน์ โดยเริ่มต้นจัดระบบงานข้อมูลข่าวสารสุขภาพตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกระทรวงสาธารณสุข    ตั้งแต่แผนพัฒนาการสาธารณสุข   ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4  ( พ . ศ . 2520-2524) จัดตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขกลาง   องค์ประกอบของระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพในขณะนั้นมี 3 เรื่อง ได้แก่ ข้อมูลข่าวสารที่ต้องการ   การไหลเวียนของข้อมูลข่าวสาร และระเบียนและรายงาน   จนถึงปัจจุบันในช่วงแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่   9  ( พ . ศ . 2545-2549) ได้พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ    โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัยเพื่อเป็นการประหยัดเวลาในการจัดทำรายงาน    ได้พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขจากระบบการส่งรายงานเป็นระบบฐานข้อมูลจากสถานบริการ เป็นรายบุคคล
  • 3. ความสำคัญของข้อมูลข่าวสาร ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ    ในปัจจุบันมีจุดแข็งคือมีความชัดเจน   ลดความซ้ำซ้อน ประหยังบประมาณในการจัดพิมพ์ ระเบียนและรายงาน    มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้กว้างขวางยิ่งขึ้น    ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ จึงมีความจำเป็นต่อการระบุปัญหา   ตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลสนับสนุน ควบคุมกำกับและประเมินประสิทธิผล ประสิทธิภาพของงานสาธารณสุขในทุกระดับ   ลักษณะที่ดีของข้อมูลสารสนเทศ 1.     ต้องมีความเที่ยงตรง   2.     ทันเวลาการใช้งาน 3.     ตรงตามความต้องการ ทุกระดับมีความต้องการข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจ ที่แตกต่างกันไป   จึงมีการจัดระบบ ข้อมูลข่าวสาร   กำหนดตัวชี้วัดสำหรับการประเมินผลที่แตกต่างกันไปในแต่ละระดับ   ได้แก่ ระดับนโยบาย ระดับบริหารและระดับปฏิบัติการ
  • 4. กระทรวงสาธารณสุข   หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบเกี่ยวกับระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ   และ เป็นศูนย์กลางการจัดเก็บรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ   เพื่อการบริหารงานสาธารณสุข   กำกับ ติดตามและประเมินผล ตลอดจนการสนับสนุนข้อมูลเพื่อการกำหนดนโยบายและวางแผนด้าสุขภาพ     ได้แก่ กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ   สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์   หน่วยงานเป้าหมายที่จัดเก็บข้อมูลข่าวสุขภาพ ได้แก่ สถานบริการทางการแพทย์ ทั้งภาครัฐและเอกชน   ตั้งแต่ระดับจังหวัด   รพศ / รพท . รพช . จนถึงสถานีอนามัย            การตัดสินใจว่า   จะจัดเก็บข้อมูลข่าวสารสุขภาพใดหรือไม่   จะต้องมีกระบวนการพิจารณา อย่างรอบคอบระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   ข้อมูลที่จะจัดเก็บนั้นต้องมีคุณค่าเพียงพอแก่การจัดเก็บ   วิธีการจัดเก็บ การรายงาน การวิเคราะห์ได้พัฒนาโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมช่วยในการบริหาจัดการ     และใช้ประโยชน์เมื่อได้รับข้อมูลนั้นมา ข้อมูลข่าวสารสุขภาพที่มีอยู่ในระบบจึงเป็นข้อมูลข่าวสารที่ต้องการเท่านั้น  
  • 5. ระบบข้อมูลข่าวสารขององค์กร โครงสร้างกำลังเปลี่ยนแปลง ในยุคสมัยเมื่อยี่สิบปีที่แล้ว การประมวลผลข้อมูลข่าวสารในองค์กรส่วนใหญ่ใช้ระบบรวมศูนย์ (centralize) กล่าวคือ มีศูนย์คอมพิวเตอร์ขององค์กรเป็นสถานที่จัดการข้อมูลข่าวสาร ประมวลผลกับที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นระบบมินิคอมพิวเตอร์หรือ เมนเฟรม ดังนั้นจึงมีใช้กันเฉพาะในองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี ขีดความสามารถของพีซีสูงขึ้น การใช้งานในระดับส่วนตัวทำได้ดี เกิดการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล โดยเฉพาะงานที่ผู้ใช้เป็นผู้ดำเนินการเอง มีโปรแกรมสำเร็จรูปให้ใช้มากมาย หลังจากปี ค . ศ . 1990 เครือข่ายคอมพิวเตอร์เริ่มแพร่หลาย มีการนำคอมพิวเตอร์ระดับพีซีมาสร้างเป็นเครือข่าย ก่อให้เกิดการทำงานแบบรวมกลุ่ม หรือที่เรียกว่า เวอร์กกรุฟ และรวมหลายเวอร์กรุฟเรียกว่า Enterprise แนวคิดจึงมีลักษณะการกระจายฟังก์ชันการทำงานออกไป เริ่มมีการกระจายระบบเซิร์ฟเวอร์ไปยังหน่วยงานย่อยต่าง ๆ ให้แต่ละหน่วยงานย่อยมีระบบเครือข่ายแลนของตนเอง และเชื่อมโยงเครือข่ายแลนย่อยเข้าด้วยกันด้วยอุปกรณ์สื่อสารจำพวกสวิตชิ่งหรือเราเตอร์ เครือข่ายขององค์กรจึงเกิดขึ้น
  • 6. เมื่อเวลาผ่านไป การปรับเปลี่ยนระบบการใช้งานคอมพิวเตอร์ก็แปรเปลี่ยนไปด้วย มีเทคโนโลยีหลายอย่างที่เข้ามาทำให้องค์กรต่าง ๆ ต้องปรับเปลี่ยน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องโครงสร้างการประมวลผลระบบสารสนเทศในองค์กร ทั้งนี้เพราะเซิร์ฟเวอร์มีขนาดใหญ่ขึ้น มีประสิทธิภาพดี ขีดความสามารถของเซิร์ฟเวอร์จึงรองรับงานได้มากขึ้น แนวคิดในเรื่องการรวมข้อมูลไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางจึงเกิดขึ้น แต่ก็ยังกระจายฟังก์ชันการทำงาน โดยมีเครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นเสมือนตัวเชื่อมการไหลกระแสข้อมูลข่าวสารในองค์กร อินทราเน็ตจึงเป็นระบบที่องค์กรสมัยใหม่เลือกนำมาใช้ การทำงานแบบนี้พยายามตอบสนองผู้ใช้ในลักษณะกระจายหรือทำให้เกิดระบบที่เรียกว่า Mobile/Remote Work ก่อให้เกิดการทำงานแบบ Virtual Workplace ลักษระงานจึงมีลักษณะเป็นแบบลูกค้าเป็นจุดศูนย์กลาง หรือ Customer Centricity ลูกค้าสามารถรับบริการที่ใดก็ได้ ดังเช่นการใช้งานเอทีเอ็มของธนาคาร เทคโนโลยีเครือข่ายยังเป็นตัวเร่งทำให้ระบบอินทราเน็ตขององค์กรแพร่กระจายได้เร็ว ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์เข้ามาสนับสนุนผู้ใช้ในฐานะที่เป็น End User ได้มาก โดยเฉพาะเทคโนโลยีที่เรียกว่า Web Technology เทคโนโลยีเว็บ ใช้เซิร์ฟเวอร์ที่รองรับระบบข้อมูลข่าวสารเป็นจำนวนมาก และเชื่อมโยงเครือข่ายข่าวสารในองค์กรได้ดี การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารมีมาตรฐานที่ชัดเจนขึ้น ข้อมูล ข่าวสารที่เรียกดูบนเว็บใช้มาตรฐาน HTML ขณะเดียวกันมีการสร้างระบบเชื่อมโยงต่อกับระบบฐานข้อมูล เพื่อให้ผู้ใช้เรียกผ่านเข้าดูในลักษณะเว็บได้ ถนนหลายสายของการพัฒนาระบบข้อมูล ข่าวสารในองค์กรจึงเดินทางมาในรูปแบบที่ใช้เทคโนโลยีเว็บ
  • 7. แนวโน้มเทคโนโลยีที่สำคัญอีกประการหนึ่งคือ พีซีมีลักษณะเป็น Client ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น จนมีผู้กล่าวขนานนามว่า Fat Client การใช้งานพีซีจึงทำงานได้มาก จุดนี้เองเป็นแรงสำคัญที่ทำให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่พึงพอใจ และเมื่ออยู่บนเครือข่ายขององค์กร แนวโน้มการทำงานแบบเวอร์กโฟลว์ก็เด่นชัดขึ้น ซอฟต์แวร์ของค่ายดังหลายแห่งทั้งไมโครซอฟต์ โลตัส ไอบีเอ็ม ต่างเน้นให้เกิดการทำงานแบบเวอร์กโฟล์วบนเครือข่าย ผลิตภัณฑ์ซอฟต์แวร์รุ่นใหม่ เช่น ออฟฟิส 97 โลตัสโน้ต ( โดมิโน ) แม้แต่ในระบบการพัฒนาฐานข้อมูลของค่ายดัง ทั้งโอราเคิล อินฟอร์มิกซ์ ไซเบส ฯลฯ ล้วนแล้วแต่สนับสนุนการทำงานแบบเวอร์กโฟล์วบนเครือข่าย ผู้ใช้สามารถใช้งานผ่านทางบราวเซอร์เพื่อดำเนินกิจกรรมการทำงานต่าง ๆ ของตนได้ โมเดลขององค์กรในเรื่องการจัดการสารสนเทศจึงมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนไปตามกระแสเทคโนโลยีที่สำคัญคือ ระบบจะรวมศูนย์ในลักษณะการมองแบบการรวมทรัพยากรต่าง ๆ ให้เห็นเสมือนหนึ่งว่าทรัพยากรนั้นเป็นของรวมที่แบ่งกันใช้ ขณะเดียวกันก็กระจายการทำงาน กระจายการบริการ มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานระดับส่วนตัว แต่ก็ประสานรวมกับของทั้งองค์กรได้ องค์กรสมัยใหม่จึงเริ่มปรับฐานด้วยการสร้างโครงสร้างพื้นฐานทางระบบสื่อสารภายในองค์กร โดยเฉพาะเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบแลนพัฒนาระบบงานบนพื้นฐาน การเรียกเข้าหาจากเครือข่ายและที่สำคัญก็คือ ทุกองค์กรมุ่งมาตรฐานที่สามารถเชื่อมต่อกับโลกภายนอกได้ นั่นคือ TCP/IP หรืออินเทอร์เน็ต จากกรณีการพัฒนาขององค์การต่าง ๆ ที่พบเห็น บริษัท Gartner Group ได้สรุปผลไว้ว่า " องค์กรต่าง ๆ ได้แสวงหาวิธีการสมัยใหม่ ในอันที่จะลดต้นทุนของระบบสารสนเทศ โดยการปรับปรุงระบบภายในให้มีลักษณะเป็นแบบการรวมทรัพยากรข่าวสาร โดยมีเครือข่ายกระจายไปยังผู้ใช้เพื่อกระจายการบริการข่าวสาร ”
  • 8.
  • 9. โครงสร้างองค์กรกับระบบสารสนเทศ ปัจจุบันมีการกล่าวถึงวิธีการรื้อปรับระบบองค์กรใหม่ ในรูปแบบที่เรียกว่า business reinvention กล่าวคือ การปรับปรุงและสร้างค์องค์กรใหม่ โดยนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาปรับใช้ในองค์กร สารสนเทศเป็นสิ่งที่มีความสำคัญยิ่ง เราแบ่งระดับสารสนเทศออกเป็น 4 ระดับคือ ระดับส่วนบุคคล ระดับกลุ่มหรือแผนก ระดับองค์กรและระดับระหว่างองค์กร โดยทุกระดับจะเกี่ยวข้องกับทรัพยากรที่จำเป็นต้องนำมาใช้เพื่อประกอบกัน และให้ได้ประโยชน์จากสารสนเทศ ประกอบด้วยอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสาร ซอฟต์แวร์ ข้อมูล ชั้นตอนการปฏิบัติงาน ได้แก่ กฏระเบียบต่าง ๆ และตัวบุคลากรเอง ศูนย์สารสนเทศขององค์กร คือหน่วยงานที่จะบริหารและจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ที่ต้องลงทุนทั้ง 5 องค์ประกอบนี้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ศูนย์สารสนเทศขององค์กรตามแนวความคิดใหม่ จึงต้องประสานกับธรรมชาติของการทำงานขององค์กรที่มีบุคลากรเป็นแกนนำ เพราะบุคลากรทุกคนย่อมเป็นผู้ใช้สารสนเทศ และยังต้องมองเลยไปเป็นระดับกลุ่ม ระดับองค์กร และระดับระหว่างองค์กร การทำงานในทุกระดับจะต้องประสานการใช้ประโยชน์ให้เกิดกับองค์กรได้สูงสุด
  • 10. ลักษณะและจุดมุ่งหมายของศูนย์สารสนเทศ คอมพิวเตอร์มีการพัฒนาการมาจากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีราคาแพง โดยการใช้ประโยชน์จึงเริ่มจากการใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันในอดีต มีศูนย์คอมพิวเตอร์กลาง ต่อมาเมื่อมีการพัฒนาพีซี แนวคิดจึงเริ่มจากการพัฒฒนาให้ระบบใช้งานส่วนตัว และต่อมาพัฒนาเป็นเครือข่ายที่ทำงานร่วมกัน ดังนี้นลักษณะของการใช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีลักษณะตามสภาพของการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเทคโนโลยี โดยเฉพาะระบบคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่าย รูปแบบการช้ระบบคอมพิวเตอร์จึงมีรูปแบบดังนี้ การใช้แบบเครื่องหลัก ( Host base) ในยุคที่เครื่องคอมพิวเตอร์มีราคาแพง เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นเมนเฟรม ซึ่งมีการจัดการฐานข้อมูลอยู่ส่วนกลางและแบ่งการใช้งาน เครื่องคอมพิวเตอร์หลักเป็นเครื่องที่รวมทรัพยากรทั้งหมดไว้ที่ศูนย์กลาง ผู้ใช้เพียงแต่ต่อสายออนไลน์ และใช้กำลังการคำนวณทั้งหมดจากเครื่องหลัก สถานีปลายทางจึงเป็นเพียงแค่เทอร์มินัลเท่านั้น รูปที่ 1 การใช้งานแบบเครื่องหลัก เพื่อเป็นการสนับสนุนข้อมูลข่าวสารขององค์กร
  • 11. การใช้งานแบบเครื่องเดี่ยว ( stand alone) เมื่อมีการพัฒนาพีซีให้เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล จึงมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์สนับสนุนพีซีให้ช่วยงานระดับบุคคล ดังนั้นการประยุกต์ใช้งานระดับบุคคลจึงเป็นที่นิยมแพร่หลาย ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์พื้นฐนที่เรียกว่าโปรแกรมสำเร็จรูปให้ใช้งานได้มาก เช่น ใช้ช่วยในการพิมพ์เอกสารหรือเรียกว่า เวิร์ดโปรเซสเซอร์ ใช้คำนวณบนตารางที่เรียกว่า สเปรตซีต ใช้ในการเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลขนาดเล็ก ใช้เพื่อนำเสนอผลงาน รูปที่ 2 เครื่องพีซีทำให้เกิดระบบการจัดการข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคล
  • 12. ระบบแลนและไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ เมื่อพีซีมีขีดความสามารถสูงขึ้น ประกอบกับเทคโนโลยีได้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ให้เชื่อมโยงเข้าถึงกัน และใช้งานร่วมกัน ระบบแลนที่ใช้จึงเริ่มจากการสนับสนุนงานระดับกลุ่ม ระดับแผนกที่มีการทำงานร่วมกัน ใช้ทรัพยากรบางอย่างร่วมกัน เช่น ใช้ไฟล์ใช้ข้อมูล ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เซิร์ฟเวอร์ ตลอดจนเครื่องพิมพ์ร่วมกัน สภาพการทำงานบนเลนส่วนหนึ่งมีลักษณะการทำงานแบบ ไคลแอนต์เซิร์ฟเวอร์ กล่าวคือมีสถานีบริการกลางที่ให้บริการร่วมกันทั้งกลุ่ม โดยผู้ใช้จะมีเครื่องคอมพิวเตอร์พีซีของตนเองเชื่อมโยงกับเครือข่ายแลน เครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เรียกว่า ไคลแอนด์ ส่วนสถานีบริการกลางเรียกว่า เซิร์ฟเวอร์ เช่น ถ้ามีระบบฐานข้อมูลกลางที่ให้บริการกลางร่วมกันก็เรียกว่า ดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้สามารถใช้เครื่องไคลแอนต์เรียกค้นข้อมูลข่าวสารจากเครื่องเซิร์ฟเวอร์ได ้รูปแบบการทำงานแบบนี้จึงเป็นการลดขนาดของเซิร์ฟเวอร์ลงจากโฮสเบส เพราะสถานีย่อยคือไคลแอนต์สามารถช่วยดำเนินการบางอย่างเองได้ และการทำงานในระดับไคลแอนต์ที่สำคัญคือ มีส่วนช่วยในการติดต่อกับผู้ใช้ที่จะแสดงผลแบบกราฟฟิก รูปที่ 3 เครือข่ายแลนสนับสนุนการทำงานเป็นกลุ่ม
  • 13. การเชื่อมต่อแลนเป็นอินทราเน็ต เมื่อนำเวอร์กกรุ๊ปหรือเครือข่ายแลนย่อย ๆ หลายเครือข่ายต่อเชื่อมกันเป็นเครือข่ายขององค์กร มีเส้นทางการเชื่อมโยงข้อมูลข่าวสารหลักที่เรียกว่าแบคโบน ( backbone) เครือข่ายนี้จึงเป็นเครือข่ายที่สนับสนุนการทำงานขององค์กร ซึ่งอาจเรียกว่าเอ็นเตอร์ไพรสเน็ตเวอร์กหรืออินทราเน็ต ในระดับองค์กรจึงมีการบริหารจัดการเครือข่ายขององค์กร มีหน่วยงานดูแลเครือข่ายกลาง และดูแลทรัพยากรที่สนับสนุนการใช้งานในองค์กร ลักษณะการเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงานอาจข้ามออกไปยังหน่วยงานที่อยู่ห่างไกล โดยเชื่อมต่อด้วยเครือข่ายสาธารณะแบบแวน ( wan) สภาพการทำงานภายในองค์กรยังมีลักษณะการใช้ทรัพยากรร่วมกันมีสถานีบริการที่เรียกว่าเซิร์ฟเวอร์ ผู้ใช้ใช้พีซีที่ต่ออยู่บนเครือข่ายเชื่อมโยงเรียกใช้บริการเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ภายในองค์กรอาจมีฐานข้อมูลเก็บไว้ในเซิร์ฟเวอร์กลางหรืออาจจะมีหลายเซิร์ฟเวอร์กระจายกันอยู่ก็ได้ ลักษณะการใช้งานบนเครือข่ายจึงสนับสนุนการทำงานตั้งแต่งานในระดับบุคคลที่ใช้พีซีของตนเองเป็นหลัก เชื่อมต่อใช้งานร่วมกันเป็นเครือข่ายในแผนก ในกลุ่มงานของตน ใช้สถานทีบริการเซิร์ฟเวอร์ในแผนกของตน และยังเชื่อมโยงกับองค์กรใช้งานในลักษณะร่วมกับส่วนกลางขององค์กร ดังนั้นทุกคนในองค์กรที่เชื่อมต่อกับเครือข่ายจึงสามารถเลือกใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ข้อมูลข่าวสารทั้งของกลุ่มและขององค์กรได้
  • 14. รูปที่ 4 การใช้เครือข่ายเพื่อสนับสนุนการทำงานในองค์กร เครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในองค์กรต้องเชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ของแต่ละแผนกเข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดการใช้ข้อมูลร่วมกัน นอกจากนี้ยังสามารถใช้ทรัพยากรฮาร์ดแวร์ร่วมกันได้อีกด้วย ในเชิงเทคนิคนั้นระบบสารสนเทศระดับองค์กรจะมีระบบคอมพิวเตอร์ที่ดูแลแฟ้มข้อมูลที่ใช้งานร่วมกันไว้ในไฟล์เซิร์ฟเวอร์ มีการใช้เครือข่ายแลนเชื่อมโยงเครื่องมือพื้นฐาน อีกประการหนึ่งของระบบข้อมูลข่าวสาร คือระบบจัดการฐานข้อมูล ซึ่งเป็นโปรแกรมที่สำคัญในการช่วยดูแลระบบข้อมูลและการประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆ
  • 15. การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร การบริหารและการจัดการระบบสารสนเทศสมัยใหม่ ยังเน้นให้เกิดการทำงานแบบ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ( eBusiness) และมีการค้าขายแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้นจึงจำเป็นต้องเชื่อมโยงเครือข่ายระหว่าางองค์กรเพื่อให้เกิดการทำงานร่วมกัน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน การเชื่อมโยงระหว่างกันในปัจจุบัน เน้นการใช้เส้นทางร่วมแบบสาธารณะ เช่น ใช้อินเทอร์เน็ต ลักษณะการเชื่อมโยงออกสู่ภายนอก จึงมีลักษณะที่ต้องการสร้างวงจรเฉพาะการเชื่อมโยงระหว่างองค์กร หรือการวิ่งผ่านเส้นทางสาธารณร่วมกัน รูปที่ 5 การเชื่อมโยงระหว่างองค์กร
  • 16. อินเทอร์เน็ตจึงเป็นเครือข่ายสากลที่เชื่อมโยงเครือข่ายย่อยขององค์กรจำนวนมหาศาลเข้าด้วยกัน ทำให้ทุกองค์กรที่เชื่อมโยงเข้าถึงอินเทอร์เน็ตติดต่อถึงกันได้ และหากถ้ามีองค์กรใดสร้างเครือข่ายและเชื่อมโยงต่อออกไปภายนอก โดยเน้นการทำงานในขอบเขตจำกัด เช่น ให้บริการลูกค้าติดต่อเข้ามาได้ และไม่สามารถออกไปนอกเครือข่ายอย่างอิสระเหมือนอินเทอร์เน็ต เราก็เรียกว่า เอ็กซ์ทราเน็ต