SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
โครงงานวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
(ง 33202)
โครงงานประเภทการศึกษา
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ปีการศึกษา
2/2559
SLE
What is it?
โรคพุ่มพวง
ความรู้ทั่วไป
เกี่ยวกับโรค
การรักษา
สารบัญ
SLE เป็นที่พบได้ค่อนข้างบ่อยในประเทศไทย และมักมีความรุนแรงมาก โดยเฉพาะเมื่อ
มีอาการทางไตร่วม ด้วย โรคนี้มีอาการและอาการแสดง, การดาเนินโรค, การตอบสนองต่อการรักษา
และการพยากรณ์โรคได้ หลากหลาย โรคนี้เกิดจากมีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทาให้มีการ
สร้างภูมิต่อต้านหลายชนิดต่อเซลล์และ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์ของตนเอง มีผลทาให้เกิดการ
อักเสบของเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ทั่วตัว ผู้ป่วย จึงมีอาการได้มากมายหลายอย่างเพราะระบบต่าง
ๆ ทั่วร่างกายเกิดความผิดปกติได้เกือบหมด
แม้ว่าโรคแพ้ภูมิคุ้มกันตัวเอง เอสแอลอี หรือลูปัส จะไมได้พบกันบ่อยๆ แต่ก็พบได้เรื่อยๆ
พบได้ตั้งแต่เด็กไปจนถึงผู้สูงอายุ แม้ว่าจะหาสาเหตุที่แท้จริงไม่ได้ แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้ภูมิคุ้มกัน
ทางานผิดปกติอยู่หลายประการ ทาให้เกิด ความสนใจที่จะศึกษาว่า มีสาเหตุเกิดจากอะไร อาการเป็น
อย่างไร บุคคลกลุ่มใดเสี่ยงต่อการเกิดโรค มีวิธีป้องกัน อย่างไร เมื่อเป็นโรคแล้ว จะมีวิธีรักษา
ทางการแพทย์อย่างไร ผลข้างเคียงของยาที่ทานนั้นมีผลต่อร่างกายใน ระยะยาวอย่างไร มีวิธีดูแล
รักษาหลังจากไม่ได้ทานยาแล้วอย่างไร
1. เพื่อทราบสาเหตุ
2. เพื่อทราบอาการ
3. เพื่อทราบความเสี่ยงต่อการเกิดโรค
4. เพื่อทราบวิธีการดูแลรักษา และวิธีดูแลตัวเอง
ผู้ศึกษาได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคพุ่มพวงทั้ง สาเหตุ การ
ป้องกัน วิธีการรักษา วิธีดูแลตัวเองเมื่อป่วยเป็นโรคนี้ รวมถึงการปฎิบัติตัว
เพื่อป้องกันความเสี่ยงของสาเหตุที่ทาเกิดโรค ซึ่งข้อมูลนี้สามารถเผยแพร่
เพื่อให้ความรู้กับบุคคลที่สนใจหรือผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคนี้ได้
เราต้องรู้อะไรบ้าง มาดูกันเถอะ
•โรคเอสแอลอีหรือโรคพุ่มพวงคืออะไร
•การวินิจฉัยโรค
•สาเหตุของโรคเอสแอลอี
•การรักษาโรคเอสแอลอี
•การป้องกันการกาเริบ
•การป้องกันโรคพุ่มพวง
โรค''SLE'' คืออะไร???
Cr: https://www.youtube.com/watch?v=NjgvNnbNWC4
เป็นโรค ภูมิต้านทานตนเอง
ทาลายเนื้อเยื่อตัวเอง เกิดการ
อักเสบเรื้อรัง อาการของโรคเอสแอลอี
จะมีการกาเริบและสงบเป็นระยะ
พบได้บ่อยในผู้หญิง
โรคนี้มักจะเป็นใน แต่ไม่เป็นกรรมพันธุ์
โรคเอสแอลอีหรือโรคพุ่มพวงคืออะไร
Cr:https://www.youtube.com/watch?v=72Jjc6ZssYA
ลักษณะพิเศษที่พบ : มีแอนติบอดีต่อส่วนประกอบในนิวเคลียสของ
เซลล์ (antinuclear antibody, ANA)
ผู้ป่วยโรคเอสแอลอี SLE มีอาการ
แสดงทางคลินิกที่หลากหลาย ผู้ป่วย
แต่ละรายจะมีความรุนแรง และ
พยากรณ์โรคที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับ
จานวนอวัยวะ และชนิดของอวัยวะที่มี
ความผิดปกติ
• ผื่นโรคเอสแอลอี SLE
• ระบบผิวหนัง
• ระบบประสาท
• ระบบหัวใจและหลอดเลือด
• กล้ามเนื้อและข้อ
• เม็ดเลือด
• ไต ระบบทางเดินหายใจ
สาเหตุที่แท้จริงไม่มีใครทราบ แต่เชื่อว่ามีปัจจัยทางพันธุกรรมส่งเสริม ซึ่งมีหลักฐานจากการเกิด
โรคเอสแอลอี SLEในแฝดที่มาจากไข่ใบเดียวกัน มีการเกิดโรคเอสแอลอี SLE สูงกว่าแฝดที่มาจากไข่คนละใบ
นอกจากนั้นยังพบยีนที่เอื้อต่อการเกิดโรค
ปัจจัยสาคัญคือสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการทาให้เกิดโรค
เช่น การติดเชื้อ ยา แสงแดด สาเคมีในสิ่งแวดล้อม
สาเหตุของโรคเอสแอลอี
แพ้แสง
มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดข้อ น้าหนักลด
อาการทางข้อ ได้แก่ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ข้ออักเสบ ข้อจะมีอาการ บวม
แดง และ ร้อน
อาการทางผิวหนัง ได้แก่ ผมร่วง ผื่นที่หน้า
โดยเฉพาะบริเวณโหนกแก้ม จมูก ผื่นจะมีลักษณะ
คล้ายผีเสื้อ เมื่อผิวหนังถูกแสงจะทาให้ผื่นกาเริบที่
เรียกว่าแพ้แสง
อาการทางระบบประสาท ได้แก่ ชัก หรือมีอาการทางจิตเวช
อาการทางโรคเลือด ได้แก่ซีด เกล็ดเลือดต่ามีเลือดออกง่าย เม็ดเลือดขาวต่า
อาการทางโรคไต ไตรั่วทาให้มีอาการบวมหลังเท้าตอนนอนจะไม่บวม แต่
เมื่อสายๆจะเริ่มบวม น้าหนักเพิ่มโรคไตวาย
อาการทางโรคหัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
อาการทางเดินอาหาร ได้แก่ คลื่นไส้อาเจียน ปวดท้อง
ข้อควรทราบเกี่ยวกับการตั้งครรภ์
ผู้ป่วยโรคนี้มีบุตรได้
เมื่อโรคสงบผู้ป่วยสามารถตั้งครรภ์และมีบุตรได้ แต่ควรรอจนโรคสงบต่อเนื่องกันเป็น
เวลานานหลาย ๆ เดือน หรือ 1-2 ปี และควรทราบว่ายังอาจเกิดอันตรายต่อทั้งแม่
และทารกได้ ดังนั้นผู้ป่วยและญาติโดยเฉพาะสามีควรไตร่ตรองให้รอบคอบก่อน
ตัดสินใจว่าจะมีบุตรหรือไม่
ด้วยความที่ โรค SLE มักเกิดในคนอายุยังน้อย โอกาสตั้งครรภ์จึงมีสูงแม้
จะกินยารักษาโรคนี้อยู่ก็ตาม ซึ่งผลที่ตามมาทาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอย่าง
รุนแรงขึ้น ทั้งจากโรคและตัวยา หากเป็นโรคเอสแอลอี และกาลังรักษาอยู่ ไม่
ควรปล่อยให้ตั้งครรภ์ เพราะทั้งแม่และลูกมีโอกาสเสียชีวิตจากครรภ์เสี่ยงสูง
โรคเอสแอลอี ร้ายแรงแค่ไหนต่อการตั้งครรภ์
พันธุกรรม
งานวิจัยค้นพบว่าลูปุสอาจเชื่อมโยงกับความบกพร่องของยีน HLA-DR2, HLA-DR3
เอสโตรเจน
ลูปัสเกี่ยวข้องอย่างมากกับเอสโตรเจนเพราะมักจะเกิดกับผู้หญิงในวัยสืบพันธุ์
การตั้งครรภ์และการรับประทานยาคุมกาเนินที่มีสารเอสโตรเจนอาจทาให้อาการของโรคย่า
แย่ลง อาการของผู้ป่วยในวัยหมดระดูจะบรรเทาลงโดยไม่ต้องรับประทานยาเพิ่ม
เชื้อชาติ
โรค SLEเป็นโรคที่พบเห็นได้ทั่วไปในผู้ป่วยที่มีเชื้อชาติเอเชียและแอฟริกามากกว่าคอเคเซียน
รังสีอัลตราไวโอเลต
การอาบแดดอาจกระตุ้นให้เป็นโรค SLE ขณะที่ยังไม่ทราบสาเหตุหลักอย่างชัดเจน
มีความเป็นไปได้ที่โปรตีนที่สร้างขึ้นโดยเซลล์ผิวหนังเมื่อสัมผัสกับรังสีอัลตราไวโอเลตจะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกัน
ทาให้เกิดอาการอักเสบ
รับประทานยารักษา
การรับประทานยารักษาระยะยาว รวมไปถึงยาลดความดันโลหิต เช่นไฮดราลาซีน
ยาระงับประสาทเช่นคลอร์โปรมาซีนหรือยาต้านวัณโรคอาจกระตุ้นให้เกิดโรคลูปัส
อย่างไรก็ตาม โรคลูปัสที่มียากระตุ้นเป็นอาการที่เกิดขึ้นน้อยมาก
ปัจจัยอื่น
ผลวิจัยบางแหล่งแสดงให้เห็นว่าไวรัสหรือการติดเชื้อแบคทีเรีย
การสัมผัสกับสารเคมีและการสูบบุหรี่อาจกระตุ้นให้เกิดโรคลูปัส
ไตวาย ซีด เกล็ดเลือดต่า โรคทางระบบประสาท รวมทั้งโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากยากดภูมิ
เช่นการติดเชื้อฉวยโอกาศ เช่น วัณโรค โรคพยาธิ์ นอกจากนั้นยังต้องป้องกันโรคหัวใจและ
หลอดเลือด
ผลเลือดเนื่องจากความรุนแรงของโรคในแต่ละคนไม่เท่ากัน และ
อาการแต่ละระบบก็มีความรุนแรงต่างกันและอาการแสดงไม่พร้อมกัน
ทาให้การวินิจฉัยโรคมีความไม่แน่นอน จึงต้องวินิจฉายตามเกณฑ์ซึ่งต้องอาศัยประวัติ การ
ตรวจร่างกายพบผื่น ข้ออักเสบ แพ้แสง และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวินิจฉัยโรค
วิธีการหลักที่ใช้รักษา คือ การรับยา เช่น
ยาลดการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
(Nonsteroidal Anti-inflammatory
Drugs: NSAIDs)
บางชนิดสามารถหาซื้อได้ตามร้าย
ขายยา อย่างเช่น ยานาพรอกเซน
(Naproxen Sodium) หรือ ไอบูโพรเฟน
(Ibuprofen) ใช้ลดอาการปวด บวม
หรือมีไข้
การรักษาโรคเอสแอลอี
ยาต้านมาลาเรีย (Antimalarial Drugs)
สามารถนามาใช้ควบคุมอาการโรคพุ่ม
พวงได้ด้วย อย่างลดผื่น และอาการบวม
ตามข้อ
ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids)
สามารถรักษาอาการอักเสบต่าง ๆ ที่เกิดจากโรค
พุ่มพวงได้ ด้วยการลดปฏิกิริยาของภูมิคุ้มกัน
ร่างกายลง แต่อาจส่งผลข้างเคียงได้ในระยะยาว
โดยยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ที่ใช้บ่อยได้แก่
• Cortisone
• Hydrocortisone
• Sterapred (Prednisone)
• Medrol (Methylprednisolone)
• Orapred (Prednisolone)
ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressants) จะออก
ฤทธิ์ให้ระบบภูมิคุ้มกันมีการทางานที่ลดลง ทาให้
อาการป่วยที่เกิดขึ้นบรรเทาลง มักใช้ในผู้ที่ป่วย
อย่างรุนแรง เช่น ยาอะซาไธโอพรีน
(Azathioprine) ยาไมโคฟีโนเลต (Mycophenolate)
และยาบีลิมูแมบ (belimumab) เป็นต้น
Cr:https://www.youtube.com/watch?v=XeBWkgimMoc
การป้องกันการกาเริบ
ต้องเรียนรู้สัญญาณเตือนภัย
ต้องตรวจร่างกายอย่างสม่าเสมอ
ตั้งเป้าหมายการรักษา
ต้องหลีกเลี่ยงแสงแดด
รักษาสุขภาพให้ดีและคุมอาหาร
หลีกเลี่ยงความเครียด
ต้องมีเวลาผักผ่อนเพียงพอ
ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
การป้องกันโรคพุ่มพวง
คนทั่วไป สามารถหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่อาจทาให้
เกิดโรคได้ อย่างการดูแลสุขภาพ ไม่สูบบุหรี่ ไม่ตากแดดที่
ร้อนจ้าหรือเป็นเวลานาน และหลีกเลี่ยงสารเคมีเป็นพิษใน
ชีวิตประจาวัน
ผู้ที่ป่วยด้วยโรคพุ่มพวง สามารถเรียนรู้ที่จะ
อยู่ร่วมกับการป่วยอย่างเข้าใจ และลดการกาเริบ
ของโรคได้โดย
รับประทานยาตามกาหนด ไปพบแพทย์
อย่างสม่าเสมอ และรีบไปพบแพทย์เมื่อมี
อาการกาเริบ
ควบคุมอาหาร รับประทานแต่สิ่งที่มีประโยชน์และไม่ทา
ให้เกิดอาการแพ้
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ไม่สูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงหรือลดการสัมผัสกับแสงแดด และสารเคมี
ออกกาลังกายอย่างพอดี หลีกเลี่ยงการใช้แรงหรือออกกาลังกายในขณะที่มี
อาการกาเริบ
รักษาสุขภาพจิต เรียนรู้วิธีการจัดการ
กับความเครียด
การป้องกันโรคพุ่มพวง
แหล่งอ้างอิงบทความ
แหล่งอ้างอิงคลิปวิดิโอ
Members

More Related Content

Similar to Sle pdf01

52010918560sce12AID
52010918560sce12AID52010918560sce12AID
52010918560sce12AIDtungmsu
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560tungmsu
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12tungmsu
 
Thipwana
ThipwanaThipwana
ThipwanaNeayne
 
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.comระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.comผู้ชายบ้านๆ รักอิสระ
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSpipepipe10
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementUtai Sukviwatsirikul
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementUtai Sukviwatsirikul
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapathnutKT
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ssuserb746cf
 

Similar to Sle pdf01 (20)

52010918560sce12AID
52010918560sce12AID52010918560sce12AID
52010918560sce12AID
 
tia52010918560
tia52010918560tia52010918560
tia52010918560
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
52010918560sce12
52010918560sce1252010918560sce12
52010918560sce12
 
Thipwana
ThipwanaThipwana
Thipwana
 
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.comระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
ระบบภูมิคุ้มกัน & Transfer factor www.ครูภูมิคุ้มกัน.com
 
สไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDSสไลด์นำเสนอ AIDS
สไลด์นำเสนอ AIDS
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
Allergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpgAllergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpg
 
Zoonosis
ZoonosisZoonosis
Zoonosis
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath2562 final-project 19-nuttapath
2562 final-project 19-nuttapath
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Sle pdf01