SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน อร่อยแต่อันตราย (BBQ Killer)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาวรพีพันธ์ เจริญผล เลขที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวรพีพันธ์ เจริญผล เลขที่ 3
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อร่อยแต่อันตราย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
BBQ Killer
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวรพีพันธ์ เจริญผล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันอาหารประเภทปิ้ง ย่างหรือที่เรียกกันง่ายๆว่าหมูกระทะ มักจะถูกนามารับประทานในช่วงกิจกรรม
หรือเทศกาลต่างๆ เช่น วันเกิด วันขึ้นปีใหม่ และนอกจากรับประทานในเทศกาลต่างๆแล้ว ยังสามารถรับประทาน
ตามความต้องการ เพราะเนื่องจากสะดวกในการจัดเตรียมของหรืออุปกรณ์ มีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างเบา เสียเงินคุ้มค่า
กับปริมาณอาหาร
ในขณะนี้มีร้านหมูกระทะเปิดเพิ่มจานวนมากในประเทศไทย เพราะหมูกระทะได้เป็นที่นิยมในทุกเพศทุกวัย
หากินได้ง่ายขึ้น แต่ความอร่อยในหมูกระทะนั้นถือได้ว่าเป็นอันตรายใกล้ตัวของเรา เนื่องจากวัตถุดิบที่นามาทาหมู
กระทะนั้นมีคุณภาพที่แตกต่างกันออกไป และวัตถุดิบที่นามาทาหมูกระทะมีสารไนโตรซามีนที่พบมากในอาหาร
ประเภทปิ้งย่าง
สารไนโตรซามีนเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดมะเร็งได้ เช่น เกิดมะเร็งในตับ ไต หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร สาร
ไนโตรซามีนสามารถกลายพันธุ์เป็นไนไตรท์เป็นสารกันบูดสารกลุ่มพัยโรลัยเซต (Pyrolysates) ดังนั้นหมูกระทะถือ
เป็นอาหารเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง
ซึ่งจากสถิติขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่าในปี 2553 มีผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย23,410 ราย
และเสียชีวิต 20,334 ราย คิดเป็นอัตราการเสียชีวิต 55 คนต่อวัน หรือ 2 คนต่อชั่วโมง
3
หากต้องการหรืออยากรับประทานหมูกระทะ อาหารประเภทปิ้ง ย่าง ก็ควรทานในปริมาณที่พอเหมาะ ไม่
ควรทานบ่อยจนเกินไป ควรหมั่นออกกาลังกาย และกินอาหารเพื่อสุขภาพ
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อศึกษาสารที่ก่อมะเร็งในหมูกระทะ
2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวัตถุดิบที่นามาทาหมูกระทะและก่อให้เกิดโรคมะเร็ง
3. เพื่อหาแนวทางในการลดความเสี่ยงของโรคมะเร็ง
4. เพื่อหาแนวทางการป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
อาหารประเภทหมูกระทะ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
มะเร็งเกิดจากขบวนการหลายขั้นตอน โดยมีขบวนการเริ่มต้น (Initiation) หมายถึงการเริ่มต้นความผิดปกติ
ของ DNA สารที่ก่อให้เกิดขบวนการเริ่มต้นเรียกว่า สารตั้งต้น (Initiator) สารก่อการกลายพันธุ์ จัดเป็นสารตั้งต้นได้
หลังจากนั้น DNA ที่ผิดปกติจะได้รับการส่งเสริมให้เกิดการถ่ายทอดต่อไปโดยขบวนการส่งเสริม (Promotion)
โดยสารส่งเสริมมะเร็ง (Tumor promoter) ทาให้เกิดการเป็นมะเร็งในที่สุด สารก่อการกลายพันธุ์และสารก่อมะเร็ง
จึงมีความเกี่ยวข้องกัน ก่อให้เกิดความผิดปกติต่อ DNA จนนาไปสู่การเป็นมะเร็ง
การเกิดโรคต่างๆ เนื่องจากการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง สาเหตุหนึ่งคือ โรคที่เกิดจากการได้รับสารก่อ
กลายพันธุ์ และสารก่อมะเร็งในอาหารรมควัน และ อาหารปิ้ง ย่าง และ ทอด ซึ่งพบว่ามีสารพิษปนอยู่หลายชนิด
อาหารที่ถูกทาให้สุกโดยให้ความร้อนโดยตรงบนอาหาร ได้แก่ เนื้อย่าง บาร์บีคิว สเต็ก ปลาเผา ปลาย่าง ไส้กรอกปิ้ง
เป็นต้น อาหารดังกล่าวเป็นที่นิยมของคนไทยเป็นอย่างมาก เพราะทาให้อาหารมีกลิ่นหอม และ รสที่เอร็ดอร่อย
จากการศึกษาพบว่าอาหารพวก ปิ้ง ย่าง ทอด มีสารพิษหลายชนิดที่ควรกล่าวถึง คือ
1.สารไนโตรซามีน
สารไนโตรซามีน ก่อให้เกิดมะเร็งในสัตว์ได้เช่น เกิดมะเร็งในตับ ไต หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และอาจเป็น
สาเหตุหนึ่งของการเกิดมะเร็งในตับ มะเร็งหลอดอาหาร และมะเร็งกระเพาะอาหารในคน อาหารที่พบไนโตรซามีน
ได้แก่ ปลาหมึกย่าง ปลาทะเลย่าง อย่างไรก็ตามปริมาณที่พบไม่สูงมากนัก นอกจากนี้ยังพบในเนื้อสัตว์ที่ใส่สารไน
เตรต ไนไตรท์เป็นสารกันบูด
สารไนโตรซามีนจานวน 4 ชนิดที่ได้รับการพิสูจน์แน่นอนแล้วว่าเป็นสารก่อมะเร็ง ได้แก่ ไดเมธิลไนโตรซามีนทา
ให้เกิดมะเร็งที่ตับ ไดเอธิลไนโตรซามีนทาให้เกิดมะเร็งที่ตับและหลอดอาหาร เมธิลเบนซิลไนโตรซามีนและเมธิลเฟนิล
ไนโตรซามีน ทาให้เกิดมะเร็งหลอดอาหาร
4
นอกจากนี้สารบางอย่างที่ใช้ปรุงรสอาหารอาจเป็นตัวการเพิ่มการเกิดไนโตรซามีนได้ เช่น พริก และพริกไทย ซึ่ง
ใส่ในอาหารที่มีเนื้อสัตว์และเครื่องแกง
ยารักษาโรคบางชนิดที่เป็นอนุพันธ์ของเอมีน และเอมีด เช่น Polytetracycline, Aminopyrine, Disulfiram
และ Nikethamide พบว่าสามารถรวมตัวกับไนไตรท์ทาให้เกิดไนโตรซามีนในปริมาณที่สูงมากจนน่าเป็นห่วงใน
สุขภาพอนามัยของผู้บริโภคเป็นอย่างยิ่ง
2.สารกลุ่มพัยโรลัยเซต (Pyrolysates)
สารพัยโรลัยเซต เป็นสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลเป็นวงแหวน แบบเฮตเตอโรซัยคลิกอะโรมาติก (Heterocyclic
aromatic ring) ของเอมีน ซึ่งได้แก่ พวกกรดอะมิโน เช่น ทรปิโตเฟน(Tryptophan) กรดกลูตามิก(Glutamic acid),
เฟนิลอะลานีน(Phenylalanine) และไลซีน(Lysine) เป็นต้น ถูกทาลายโดยความร้อนสูงจนกลายเป็นสารใหม่ที่มี
โมเลกุลซับซ้อนมาขึ้น พบมากในส่วนที่ไหม้เกรียมของอาหารปิ้ง ย่าง สารกลุ่มนี้มีฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์สูงมาก
จากการศึกษาฤทธิ์ต่อการกลายพันธุ์ของพัยโรลัยเซต พบว่าสารกลุ่มนี้บางชนิดมีฤทธิ์ร้ายแรงทางพันธุกรรม
มากกว่าสารอะฟลาทอกซินตั้งแต่ 6-100 เท่า สารพัยโรลัยเซตสามารถรวมตัวทางชีวเคมีกับดีเอ็นเอ แล้วเป็นสารก่อ
การกลายพันธุ์ได้
3.สารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic aromatic hydrocarbon)
สารในกลุ่มนี้เรียกย่อๆว่า PAH เป็นสารพิษที่ค่อนข้างร้ายแรงมาก ส่วนใหญ่เป็นสารเริ่มต้นของสารกลายพันธุ์
(Premutagen) และสารเริ่มต้นของสารก่อมะเร็ง (Precarcinogen) พบในเขม่าควันไฟ ไอเสียของเครื่องยนต์
น้ามันดิบ นอกจากนี้ยังเกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของสารอินทรีย์ เช่น ไขมันที่อยู่ในเนื้อสัตว์ น้ามัน และ
ไฮโดรคาร์บอนชนิดอื่นๆ ดังนั้นจึงพบสารชนิดนี้ในส่วนที่ไหม้เกรียมของอาหาร ปิ้ง ย่าง อาหารทอดกรอบ อาหาร
รมควัน นอกจากนี้ยังพบสาร PAH คล้ายคลึงกับการเผาไหม้ในเครื่องยนต์ บุหรี่ และเตาเผาเชื้อเพลิงในโรงงาน
อุตสาหกรรม
อาหารที่สามารถต้านหรือป้องกันการเกิดมะเร็งตับ
1. ผัก
ผักหลายชนิดที่ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็ง เพราะอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น
- ผักสีเข้ม ไม่ว่าจะเป็นสีเขียว ส้ม แดง ม่วง เช่น ผักโขม แครอท มะเขือเทศ
- กะหล่าต่างๆ เช่น กะหล่าปลี บล็อกโคลี กะหล่าดอก
- หัวหอม และกระเทียม
2. ถั่ว ไม่ว่าจะเป็นถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วดา ถั่วแดง ถั่วลิสง ที่นอกจากจะช่วยต้านมะเร็งแล้ว ยังดีต่อสุขภาพ
เพราะอุดมไปด้วยโปรตีนที่ดี และกากใยอาหารตามธรรมชาติ ขับถ่ายได้สะดวก
3. ธัญพืชต่างๆ เช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวบาเล่ย์ ข้าวโพด ข้าวสาลี ต้านมะเร็งก็ดี วิตามินบีก็ได้ ลดความดันโลหิตก็เยี่ยม
4. สาหร่ายทะเล เป็นแหล่งแร่ธาตุชั้นดี เต็มไปด้วยสารอาหารที่ดีต่อร่างกายมากมาย มีให้เลือกทานหลายชนิด
แต่ควรเลือกทานสลับชนิดกันไปเรื่อยๆ ไม่ควรทานสาหร่ายชนิดเดียวติดต่อกันนาน
5
5. ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ ทั้งสตอเบอร์รี่ บลูเบอร์รี่ ราสเบอร์รี่ เชอร์รี่ ทั้งอร่อยสดชื่น และมีประโยชน์มากมาย ทั้ง
วิตามินต่างๆ และกากใยอาหาร ทานสดจะได้คุณค่าทางโภชนาการสูงสุด
6. ปลาน้าเย็น ส่วนใหญ่จะเป็นปลาทะเล เช่น แซลมอน ที่มีโอเมก้า 3 และไขมันที่ดีต่อร่างกาย ปลาคอท ปลา
แมคเคอเรล ปลาซาร์ดีน
7. เครื่องเทศต่างๆ เช่น เก๋ากี้ (หรือโกจิเบอร์รี่) พริกไทย กระเทียม หัวหอม ขิง โรสแมรี่ สามารถนามา
ทาอาหาร หรือทานสดได้ ช่วยต้านมะเร็ง และกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายได้อีกด้วย
8. โยเกิร์ต ไม่ได้มีประโยชน์แค่เรื่องการขับถ่าย และช่วยควบคุมน้าหนักได้เท่านั้น แต่ยังช่วยต้านมะเร็ง เพราะมี
สารอนุมูลอิสระ ช่วยการหมุนเวียนของโลหิต และชะลอการเสื่อมของเซลล์ในร่างกาย หรือจะลองกรีก
โยเกิร์ต ที่เข้มข้นกว่า สารอาหารมากกว่า และมีโปรไบโอติกส์ที่ช่วยลดโอกาสในการเกิดเชื้อราในช่องคลอด
ได้ดีกว่าด้วย
9. เห็ดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเห็ดหอม เห็ดฟาง เห็ดออรินจิ และอื่นๆ ช่วยยับยั้งเซลล์มะเร็งได้หลายชนิด มีเส้นใย
อาหารที่ช่วยเรื่องการย่อย และการขับถ่ายให้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ยังมีวิตามินต่างๆ ที่ดีต่อร่างกายอีกด้วย
10. น้าดื่มธรรมดา น้าดื่มสะอาด ช่วยให้โลหิตไหลเวียนได้คล่องตัวขึ้น เป็นตัวกลางสาคัญที่จะทาให้เซลล์ใน
ร่างกายทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการนาพาเอาของเสียออกจากร่างกายได้ดีขึ้นอีกด้วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
7
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

Similar to ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.bamhattamanee
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supharat Rungsri
 
Vegetarian food
Vegetarian foodVegetarian food
Vegetarian foodkrong555
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Preawpraow Klinhomm
 
2562 final-project apassara
2562 final-project  apassara2562 final-project  apassara
2562 final-project apassaraapassararungsri
 
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341PontakornPrasertsuk
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapysiradamew
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project asirwa04
 
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ dgnjamez
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 

Similar to ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์2.
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Vegetarian food
Vegetarian foodVegetarian food
Vegetarian food
 
Fish pug pao
Fish pug paoFish pug pao
Fish pug pao
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
 
Kiki
KikiKiki
Kiki
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project apassara
2562 final-project  apassara2562 final-project  apassara
2562 final-project apassara
 
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
Herbarium กลุ่มที่ 8 ห้อง 341
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์ โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
โครงงาน ฮอร์โมนมนุษย์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 

ใบงานที่5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน อร่อยแต่อันตราย (BBQ Killer) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวรพีพันธ์ เจริญผล เลขที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวรพีพันธ์ เจริญผล เลขที่ 3 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อร่อยแต่อันตราย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) BBQ Killer ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวรพีพันธ์ เจริญผล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันอาหารประเภทปิ้ง ย่างหรือที่เรียกกันง่ายๆว่าหมูกระทะ มักจะถูกนามารับประทานในช่วงกิจกรรม หรือเทศกาลต่างๆ เช่น วันเกิด วันขึ้นปีใหม่ และนอกจากรับประทานในเทศกาลต่างๆแล้ว ยังสามารถรับประทาน ตามความต้องการ เพราะเนื่องจากสะดวกในการจัดเตรียมของหรืออุปกรณ์ มีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างเบา เสียเงินคุ้มค่า กับปริมาณอาหาร ในขณะนี้มีร้านหมูกระทะเปิดเพิ่มจานวนมากในประเทศไทย เพราะหมูกระทะได้เป็นที่นิยมในทุกเพศทุกวัย หากินได้ง่ายขึ้น แต่ความอร่อยในหมูกระทะนั้นถือได้ว่าเป็นอันตรายใกล้ตัวของเรา เนื่องจากวัตถุดิบที่นามาทาหมู กระทะนั้นมีคุณภาพที่แตกต่างกันออกไป และวัตถุดิบที่นามาทาหมูกระทะมีสารไนโตรซามีนที่พบมากในอาหาร ประเภทปิ้งย่าง สารไนโตรซามีนเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดมะเร็งได้ เช่น เกิดมะเร็งในตับ ไต หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร สาร ไนโตรซามีนสามารถกลายพันธุ์เป็นไนไตรท์เป็นสารกันบูดสารกลุ่มพัยโรลัยเซต (Pyrolysates) ดังนั้นหมูกระทะถือ เป็นอาหารเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง ซึ่งจากสถิติขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่าในปี 2553 มีผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย23,410 ราย และเสียชีวิต 20,334 ราย คิดเป็นอัตราการเสียชีวิต 55 คนต่อวัน หรือ 2 คนต่อชั่วโมง
  • 3. 3 หากต้องการหรืออยากรับประทานหมูกระทะ อาหารประเภทปิ้ง ย่าง ก็ควรทานในปริมาณที่พอเหมาะ ไม่ ควรทานบ่อยจนเกินไป ควรหมั่นออกกาลังกาย และกินอาหารเพื่อสุขภาพ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อศึกษาสารที่ก่อมะเร็งในหมูกระทะ 2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับวัตถุดิบที่นามาทาหมูกระทะและก่อให้เกิดโรคมะเร็ง 3. เพื่อหาแนวทางในการลดความเสี่ยงของโรคมะเร็ง 4. เพื่อหาแนวทางการป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) อาหารประเภทหมูกระทะ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) มะเร็งเกิดจากขบวนการหลายขั้นตอน โดยมีขบวนการเริ่มต้น (Initiation) หมายถึงการเริ่มต้นความผิดปกติ ของ DNA สารที่ก่อให้เกิดขบวนการเริ่มต้นเรียกว่า สารตั้งต้น (Initiator) สารก่อการกลายพันธุ์ จัดเป็นสารตั้งต้นได้ หลังจากนั้น DNA ที่ผิดปกติจะได้รับการส่งเสริมให้เกิดการถ่ายทอดต่อไปโดยขบวนการส่งเสริม (Promotion) โดยสารส่งเสริมมะเร็ง (Tumor promoter) ทาให้เกิดการเป็นมะเร็งในที่สุด สารก่อการกลายพันธุ์และสารก่อมะเร็ง จึงมีความเกี่ยวข้องกัน ก่อให้เกิดความผิดปกติต่อ DNA จนนาไปสู่การเป็นมะเร็ง การเกิดโรคต่างๆ เนื่องจากการรับประทานอาหารไม่ถูกต้อง สาเหตุหนึ่งคือ โรคที่เกิดจากการได้รับสารก่อ กลายพันธุ์ และสารก่อมะเร็งในอาหารรมควัน และ อาหารปิ้ง ย่าง และ ทอด ซึ่งพบว่ามีสารพิษปนอยู่หลายชนิด อาหารที่ถูกทาให้สุกโดยให้ความร้อนโดยตรงบนอาหาร ได้แก่ เนื้อย่าง บาร์บีคิว สเต็ก ปลาเผา ปลาย่าง ไส้กรอกปิ้ง เป็นต้น อาหารดังกล่าวเป็นที่นิยมของคนไทยเป็นอย่างมาก เพราะทาให้อาหารมีกลิ่นหอม และ รสที่เอร็ดอร่อย จากการศึกษาพบว่าอาหารพวก ปิ้ง ย่าง ทอด มีสารพิษหลายชนิดที่ควรกล่าวถึง คือ 1.สารไนโตรซามีน สารไนโตรซามีน ก่อให้เกิดมะเร็งในสัตว์ได้เช่น เกิดมะเร็งในตับ ไต หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และอาจเป็น สาเหตุหนึ่งของการเกิดมะเร็งในตับ มะเร็งหลอดอาหาร และมะเร็งกระเพาะอาหารในคน อาหารที่พบไนโตรซามีน ได้แก่ ปลาหมึกย่าง ปลาทะเลย่าง อย่างไรก็ตามปริมาณที่พบไม่สูงมากนัก นอกจากนี้ยังพบในเนื้อสัตว์ที่ใส่สารไน เตรต ไนไตรท์เป็นสารกันบูด สารไนโตรซามีนจานวน 4 ชนิดที่ได้รับการพิสูจน์แน่นอนแล้วว่าเป็นสารก่อมะเร็ง ได้แก่ ไดเมธิลไนโตรซามีนทา ให้เกิดมะเร็งที่ตับ ไดเอธิลไนโตรซามีนทาให้เกิดมะเร็งที่ตับและหลอดอาหาร เมธิลเบนซิลไนโตรซามีนและเมธิลเฟนิล ไนโตรซามีน ทาให้เกิดมะเร็งหลอดอาหาร
  • 4. 4 นอกจากนี้สารบางอย่างที่ใช้ปรุงรสอาหารอาจเป็นตัวการเพิ่มการเกิดไนโตรซามีนได้ เช่น พริก และพริกไทย ซึ่ง ใส่ในอาหารที่มีเนื้อสัตว์และเครื่องแกง ยารักษาโรคบางชนิดที่เป็นอนุพันธ์ของเอมีน และเอมีด เช่น Polytetracycline, Aminopyrine, Disulfiram และ Nikethamide พบว่าสามารถรวมตัวกับไนไตรท์ทาให้เกิดไนโตรซามีนในปริมาณที่สูงมากจนน่าเป็นห่วงใน สุขภาพอนามัยของผู้บริโภคเป็นอย่างยิ่ง 2.สารกลุ่มพัยโรลัยเซต (Pyrolysates) สารพัยโรลัยเซต เป็นสารอินทรีย์ที่มีโมเลกุลเป็นวงแหวน แบบเฮตเตอโรซัยคลิกอะโรมาติก (Heterocyclic aromatic ring) ของเอมีน ซึ่งได้แก่ พวกกรดอะมิโน เช่น ทรปิโตเฟน(Tryptophan) กรดกลูตามิก(Glutamic acid), เฟนิลอะลานีน(Phenylalanine) และไลซีน(Lysine) เป็นต้น ถูกทาลายโดยความร้อนสูงจนกลายเป็นสารใหม่ที่มี โมเลกุลซับซ้อนมาขึ้น พบมากในส่วนที่ไหม้เกรียมของอาหารปิ้ง ย่าง สารกลุ่มนี้มีฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์สูงมาก จากการศึกษาฤทธิ์ต่อการกลายพันธุ์ของพัยโรลัยเซต พบว่าสารกลุ่มนี้บางชนิดมีฤทธิ์ร้ายแรงทางพันธุกรรม มากกว่าสารอะฟลาทอกซินตั้งแต่ 6-100 เท่า สารพัยโรลัยเซตสามารถรวมตัวทางชีวเคมีกับดีเอ็นเอ แล้วเป็นสารก่อ การกลายพันธุ์ได้ 3.สารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic aromatic hydrocarbon) สารในกลุ่มนี้เรียกย่อๆว่า PAH เป็นสารพิษที่ค่อนข้างร้ายแรงมาก ส่วนใหญ่เป็นสารเริ่มต้นของสารกลายพันธุ์ (Premutagen) และสารเริ่มต้นของสารก่อมะเร็ง (Precarcinogen) พบในเขม่าควันไฟ ไอเสียของเครื่องยนต์ น้ามันดิบ นอกจากนี้ยังเกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ของสารอินทรีย์ เช่น ไขมันที่อยู่ในเนื้อสัตว์ น้ามัน และ ไฮโดรคาร์บอนชนิดอื่นๆ ดังนั้นจึงพบสารชนิดนี้ในส่วนที่ไหม้เกรียมของอาหาร ปิ้ง ย่าง อาหารทอดกรอบ อาหาร รมควัน นอกจากนี้ยังพบสาร PAH คล้ายคลึงกับการเผาไหม้ในเครื่องยนต์ บุหรี่ และเตาเผาเชื้อเพลิงในโรงงาน อุตสาหกรรม อาหารที่สามารถต้านหรือป้องกันการเกิดมะเร็งตับ 1. ผัก ผักหลายชนิดที่ช่วยลดความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็ง เพราะอุดมไปด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ เช่น - ผักสีเข้ม ไม่ว่าจะเป็นสีเขียว ส้ม แดง ม่วง เช่น ผักโขม แครอท มะเขือเทศ - กะหล่าต่างๆ เช่น กะหล่าปลี บล็อกโคลี กะหล่าดอก - หัวหอม และกระเทียม 2. ถั่ว ไม่ว่าจะเป็นถั่วเหลือง ถั่วเขียว ถั่วดา ถั่วแดง ถั่วลิสง ที่นอกจากจะช่วยต้านมะเร็งแล้ว ยังดีต่อสุขภาพ เพราะอุดมไปด้วยโปรตีนที่ดี และกากใยอาหารตามธรรมชาติ ขับถ่ายได้สะดวก 3. ธัญพืชต่างๆ เช่น ข้าวโอ๊ต ข้าวบาเล่ย์ ข้าวโพด ข้าวสาลี ต้านมะเร็งก็ดี วิตามินบีก็ได้ ลดความดันโลหิตก็เยี่ยม 4. สาหร่ายทะเล เป็นแหล่งแร่ธาตุชั้นดี เต็มไปด้วยสารอาหารที่ดีต่อร่างกายมากมาย มีให้เลือกทานหลายชนิด แต่ควรเลือกทานสลับชนิดกันไปเรื่อยๆ ไม่ควรทานสาหร่ายชนิดเดียวติดต่อกันนาน
  • 5. 5 5. ผลไม้ตระกูลเบอร์รี่ ทั้งสตอเบอร์รี่ บลูเบอร์รี่ ราสเบอร์รี่ เชอร์รี่ ทั้งอร่อยสดชื่น และมีประโยชน์มากมาย ทั้ง วิตามินต่างๆ และกากใยอาหาร ทานสดจะได้คุณค่าทางโภชนาการสูงสุด 6. ปลาน้าเย็น ส่วนใหญ่จะเป็นปลาทะเล เช่น แซลมอน ที่มีโอเมก้า 3 และไขมันที่ดีต่อร่างกาย ปลาคอท ปลา แมคเคอเรล ปลาซาร์ดีน 7. เครื่องเทศต่างๆ เช่น เก๋ากี้ (หรือโกจิเบอร์รี่) พริกไทย กระเทียม หัวหอม ขิง โรสแมรี่ สามารถนามา ทาอาหาร หรือทานสดได้ ช่วยต้านมะเร็ง และกระตุ้นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายได้อีกด้วย 8. โยเกิร์ต ไม่ได้มีประโยชน์แค่เรื่องการขับถ่าย และช่วยควบคุมน้าหนักได้เท่านั้น แต่ยังช่วยต้านมะเร็ง เพราะมี สารอนุมูลอิสระ ช่วยการหมุนเวียนของโลหิต และชะลอการเสื่อมของเซลล์ในร่างกาย หรือจะลองกรีก โยเกิร์ต ที่เข้มข้นกว่า สารอาหารมากกว่า และมีโปรไบโอติกส์ที่ช่วยลดโอกาสในการเกิดเชื้อราในช่องคลอด ได้ดีกว่าด้วย 9. เห็ดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเห็ดหอม เห็ดฟาง เห็ดออรินจิ และอื่นๆ ช่วยยับยั้งเซลล์มะเร็งได้หลายชนิด มีเส้นใย อาหารที่ช่วยเรื่องการย่อย และการขับถ่ายให้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ยังมีวิตามินต่างๆ ที่ดีต่อร่างกายอีกด้วย 10. น้าดื่มธรรมดา น้าดื่มสะอาด ช่วยให้โลหิตไหลเวียนได้คล่องตัวขึ้น เป็นตัวกลางสาคัญที่จะทาให้เซลล์ใน ร่างกายทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมไปถึงการนาพาเอาของเสียออกจากร่างกายได้ดีขึ้นอีกด้วย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 7. 7 _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________