SlideShare a Scribd company logo
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
• ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ทั้งที่เป็นงานศิลปะและงานอุตสาหกรรมจะเกิดความสวยงามได้ นอกจากจะผ่านการออกแบบด้วย
ความรู้และความรอบคอบ มีการขึ้นรูปด้วยเนื้อดินปั้นที่ เหมาะสม และมีสูตรเคลือบที่ดีแล้ว การน าเคลือบไปเคลือบผิว
ผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีการที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจุ่ม การพ่น การเทราด หรือการทาเคลือบ การน าผลิตภัณฑ์เข้าเผา
ด้วยชนิดของ เตาเผา อุณหภูมิการเผา และบรรยากาศการเผาที่ถูกต้องเหมาะสม ก็จะช่วยให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้เกิด ความ
สวยงามตามความต้องการ แต่แม้ว่าผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบจะเกิดต าหนิที่ไม่ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นเคลือบเกิด
ฟองอากาศ หลุดร่อน หรือเป็นรูเล็ก ๆ ที่ผิวเคลือบ เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็น ปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการ
เผาเคลือบแล้วได้ แต่ทั้งนี้การรู้และเข้าใจปัญหาก็ สามารถป้องกันการเกิดต าหนิที่อาจเกิดขึ้นหลังการเผาได้ดังนั้นในบท
ที่ 6 นี้จึงกล่าวถึงการชุบ เคลือบ การเผาเคลือบ ต าหนิเคลือบและวิธีการไขปัญหา
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การชุบเคลือบ
• การชุบเคลือบ (application of glazes) หมายถึงการน าน้ าเคลือบไปเคลือบผิวผลิตภัณฑ์ ที่ท าจาก
ดินให้ทั่วถึงและสม่ าเสมอ ซึ่งการชุบเคลือบมี4วิธีได้แก่ การจุ่มเคลือบ การพ่นเคลือบ การราดเคลือบ และการทา
เคลือบ แต่ไม่ว่าจะชุบเคลือบผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีการใด สิ่งแรกที่ต้อง ปฏิบัติคือการท าความสะอาดผิวผลิตภัณฑ์โดยใช้
ฟองน้ าชุบน้ าหมาดเช็ดผิวผลิตภัณฑ์ที่ผ่าน การเผาดิบแล้ว เนื่องจากภายหลังการเผาจะมีฝุ่นละอองติดผิวผลิตภัณฑ์ที่
จะส่งผลให้เกิดต าหนิ หลังเผาได้กรณีที่ผลิตภัณฑ์เป็นดินดิบก็จ าเป็นต้องท าความสะอาดผิวด้วยฟองน้ าชุบน้
าหมาด เช่นเดียวกัน หากต้องการปรับแต่งผิวผลิตภัณฑ์สามารถใช้กระดาษทรายขัดผิวให้เรียบหรือ ก าจัดต าหนิที่ผิว
ผลิตภัณฑ์ก่อนการท าความสะอาดด้วยฟองน้ า
1. การจุ่มเคลือบ
• การเคลือบด้วยวิธีจุ่มหรือชุบ (dipping) เป็นวิธีที่ท าได้รวดเร็ว ประหยัด ง่ายและ นิยมใช้กันมากวิธีการจุ่มเคลือบ
เหมาะสมกับการชุบเคลือบผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กมีน้ าหนักเบา และสามารถยกได้ โดยการน าผลิตภัณฑ์จุ่มลงไปในน้ าเคลือบ
ที่เตรียมไว้ซึ่งน้ าเคลือบจะต้องมี จ านวนมากพอที่จะจุ่มผลิตภัณฑ์ได้ โดยปกติจะเตรียมน้ าเคลือบไว้ในภาชนะทรงสูง เช่นถังน้
า หรือกะละมัง ภาชนะควรมีความสูงมากกว่าความสูงของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการจุ่มเคลือบ และมีฝา ปิดเมื่อหลังเลิกใช้งาน ป้องกัน
เศษวัสดุหล่นลงในเคลือบและป้องกันการระเหยของน้ า แม้การจุ่มเคลือบจะเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก รวดเร็ว แต่ก็มีเทคนิคการ
เคลือบที่หลากหลายตามลักษณะ ของผลิตภัณฑ์และความต้องการ
• การเคลือบด้วยวิธีพ่น (spraying) เป็นวิธีที่ท าให้ได้ผิวเคลือบสม่ าเสมอ เหมาะ ส าหรับการเคลือบผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ที่
ไม่สามารถยกจุ่มได้ และผลิตภัณฑ์ที่ต้องการให้สี เคลือบสม่ าเสมอ หรือส าหรับกรณีที่มีน้ าเคลือบน้อยไม่เพียงพอส าหรับการ
จุ่มเคลือบ รวมทั้ง การเคลือบผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก หรือบางมากไม่สามารถชุบเคลือบได้เพราะผลิตภัณฑ์จะอิ่มตัว ด้วยน้ าและ
วัตถุดิบที่เป็นส่วนของเคลือบจะไม่ติดกับผลิตภัณฑ์น้ าเคลือบที่น ามาใช้พ่นต้องผสม น้าให้ใสกว่าการเคลือบด้วยวิธีอื่น ๆ
รวมทั้งต้องกรองน้ าเคลือบไม่ให้เคลือบเป็นก้อนและมี ความละเอียดมากพอ การเคลือบด้วยวิธีพ่นเป็นวิธีที่สิ้นเปลืองน้ าเคลือบ
มากที่สุดเพราะ น้าเคลือบจะฟุ้งกระจายไปมากกว่าจะไปเกาะที่ผิวผลิตภัณฑ์รวมทั้งต้องใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ เฉพาะ
2. การพ่นเคลือบ
3. การราดเคลือบ
• การเคลือบด้วยวิธีราด (pouring) ส่วนมากใช้สาหรับการชุบเคลือบผลิตภัณฑ์ขนาด ใหญ่ เช่น โอ่งหรือแจกันขนาดใหญ่ ที่ไม่สามารถ
ยกและจุ่มลงในภาชนะใส่น้าเคลือบได้หรือใช้เมื่อมีน้าเคลือบปริมาณน้อยไม่เพียงพอต่อการจุ่มเคลือบและไม่มีอุปกรณ์พ่นเคลือบ การราด
เคลือบต้องใช้ภาชนะที่มีขนาดใหญ่กว่าผลิตภัณฑ์ส าหรับใส่น้าเคลือบ เพื่อให้น้าเคลือบที่เทราด ผลิตภัณฑ์ไหลลงภาชนะได้ไม่หกลงพื้น
(ภาพที่ 6.10) การราดเคลือบมีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้
• 3.1 ท าความสะอาดผลิตภัณฑ์
• 3.2 เคลือบด้านในผลิตภัณฑ์ กรณีที่ผลิตภัณฑ์ปากกว้างและสามารถยกผลิตภัณฑ์ ได้ให้ใช้การเทเคลือบใส่และเทออกพร้อมหมุนผลิตภัณฑ์
หรืออาจใช้การสาดเคลือบให้เข้าไป เคลือบผิวผลิตภัณฑ์ด้านในส าหรับกรณีที่ยกผลิตภัณฑ์ไม่ได้แต่ถ้าเป็นผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ และปาก
เล็กไม่นิยมเคลือบด้านใน
• 3.3 คว่ าผลิตภัณฑ์บนปากภาชนะใส่น้าเคลือบ โดยใช้ท่อนไม้สองท่อนพาดปาก ภาชนะเพื่อรองรับผลิตภัณฑ์
• 3.4 ตักน้าเคลือบเทราดผลิตภัณฑ์จากด้านบน ให้น้าเคลือบไหลลงด้านล่างและไหล ลงภาชนะ
• 3.5 เช็ดเคลือบที่ขาหรือก้นผลิตภัณฑ์
4. การทาเคลือบ
• การเคลือบด้วยวิธีทา (painting) โดยใช้แปรงหรือพู่กันทาเคลือบ ส่วนมากใช้กับ ผลิตภัณฑ์ทางศิลปะ (art ware) ที่
ต้องการเคลือบหลายสีนอกจากการใช้พู่กันทาเคลือบ ผลิตภัณฑ์ทั้งใบแล้ว (ภาพที่ 6.12 (1)) อาจใช้พู่กันชุบเคลือบสีแตกต่างเพื่อ
เขียนลายบน ผลิตภัณฑ์ที่ชุบเคลือบแล้ว เป็นการตกแต่งผลิตภัณฑ์วิธีหนึ่ง (ภาพที่ 6.12 (2)) รวมทั้งใช้พู่กัน ชุบเคลือบและทาบน
ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการชุบเคลือบด้วยวิธีอื่นมาแล้ว แต่ยังมีส่วนที่เคลือบ ไม่เกาะผลิตภัณฑ์ เช่นบริเวณที่ใช้มือจับชุบเคลือบ บริเวณมุม
อับ ภายหลังการชุบเคลือบ สิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องค านึงถึงและต้องปฏิบัติเสมอทุกครั้งคือ การเช็ดเคลือบ (dry foot) เนื่องจาก
ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ทุกประเภท ส่วนขาของผลิตภัณฑ์หรือ ส่วนที่สัมผัสพื้นเมื่อวางผลิตภัณฑ์เป็นส่วนที่สัมผัสกับชั้นวางในเตาเผาที่
ต้องไม่มีเคลือบติดอยู่ เพราะเคลือบที่หลอมละลายขณะเผาเคลือบและแข็งตัวเมื่อเสร็จสิ้นการเผาจะแข็งเกาะติดชั้นวาง ท าให้
ผลิตภัณฑ์และชั้นวางเสียหายได้จึงต้องเช็ดเคลือบบริเวณที่สัมผัสกับพื้นออก โดยปกติถ้า เป็นงานขนาดเล็กและต้องเช็ดเคลือบ
ปริมาณน้อยจะใช้ใบมีดหรือใบเลื่อยขูดเคลือบออกและใช้ ฟองน้ าชุบน้ าเช็ดให้สะอาด
การเผาเคลือบ
• เมื่อชุบเคลือบและเช็ดเคลือบผลิตภัณฑ์แล้ว กระบวนการต่อไปของการสร้างงาน เซรามิกส์คือการเผาเคลือบ สิ่งส าคัญที่สุดส าหรับการเผา
เคลือบคือเตาเผา (kiln) ซึ่งเตาที่ใช้อยู่ใน ปัจจุบัน มีความแตกต่างกันทั้งรูปร่าง ขนาดและพลังงานที่ใช้นอกจากเตาเผาแล้วสิ่งส าคัญที่ ช่วย
ให้การเผาประสบความส าเร็จคือเครื่องมือวัดอุณหภูมิ รวมทั้งความเข้าใจถึงเรื่องการเผา ผลิตภัณฑ์
• 1. เตาเผา
• เคลือบแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันด้านอุณหภูมิการเผาและบรรยากาศการเผา ซึ่ง เตาเผาที่เลือกใช้อาจไม่เหมาะสมกับเคลือบที่ผู้ปฏิบัติงาน
ต้องการ โดยเตาเผาที่ใช้ในงาน เซรามิกส์มีหลายประเภทที่แบ่งตามลักษณะต่าง ๆ เช่น แบ่งตามประเภททางเดินลมร้อน ได้แก่ เตาชนิดทางเดิน
ลมร้อนตรง (horizontal draft kiln) เตาชนิดทางลมร้อนขึ้น (up draft kiln) และ เตาชนิดทางเดินลมร้อนลง
(down draft kiln) หรือแบ่งตามประเภทการใช้งานของเตา ได้แก่ เตา ชนิดเผาเป็นครั้งคราว (periodic kiln) เตาเผาแบบ
กึ่งต่อเนื่อง (semi continuous kiln) และเตา ชนิดเผาต่อเนื่อง (continuous kiln) หรือแบ่งตามลักษณะของเตา
เช่น เตากลม เตาเหลี่ยม เตาแมลงป่อง เตาจีน เป็นต้น แต่ที่นิยมคือเรียกชนิดของเตาตามชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช้ได้แก่ เตา แก๊ส เตาฟืน เตาน้
ามัน และเตาไฟฟ้า ซึ่งเตาเผาที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ที่มีการเผา เคลือบมี 3 ชนิดได้แก่ เตาฟืน เตาแก๊ส และเตาไฟฟ้า
• 1.1 เตาฟืน (wood kiln) เป็นเตาเผาเซรามิกส์ตั้งแต่ในอดีตและในปัจจุบันยังคงใช้ อยู่ โดยใช้ไม้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง สามารถเผา
อุณหภูมิสูงได้ขึ้นอยู่กับลักษณะของเตา ในอดีตและ ปัจจุบันมีการสร้างเตาฟืนให้มีขนาดใหญ่และเผาได้จ านวนมาก โดยเฉพาะ
โรงงานผลิต ผลิตภัณฑ์จากดินแดง เช่นโอ่งมังกรถ้วยรองรับน้ ายางพารา เป็นต้น (ภาพที่ 6.15) เตาฟืนนิยม เผาในบรรยากาศรี
ดักชั่น เพราะในการใช้ไม้ฟืนเป็นเชื้อเพลิงจะเกิดเขม่าควันและเถ้าไม้จ านวน มาก รวมทั้งเตาฟืนให้ความร้อนไม่สม่ าเสมอ ส่งผลให้
การเผาด้วยเตาฟืนอาจท าให้สีผลิตภัณฑ์ ผิดเพี้ยนได้ง่าย ผิวผลิตภัณฑ์อาจไม่สวย สถานประกอบการผลิตเครื่องถ้วยชามจึงแก้ไข
โดยการ ใส่จ๊อ หรือกี๋หรือหีบทนไฟ (sagger box) ในการเผา
• 1.2 เตาแก๊ส (gas kiln) เป็นเตาที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเซรามิกส์มี ความสะดวกต่อการใช้งาน ประหยัดเชื้อเพลิง
ปลอดภัย เผาอุณหภูมิสูงได้รวมทั้งเป็นเตาที่ ค่อนข้างสะอาด ไม่มีควันแต่มีเปลวไฟ (ภาพที่ 6.17) เตาแก๊สที่ใช้กันอยู่ทั่วไปมี 2 ชนิด
คือ ชนิด ทางเดินลมร้อนขึ้น (updraft kiln) และชนิดทางเดินลมร้อนลง (downdraft kiln) ซึ่งเตาแก๊สชนิด
ทางเดินลมร้อนลงจะสามารถเผาได้อุณหภูมิสูงกว่าเตาแก๊สชนิดทางเดินลมร้อนขึ้น แต่เตาแก๊ส ทั้งสองชนิดสามารถเผาได้ทั้ง
บรรยากาศแบบออกซิเดชั่น และแบบรีดักชั่น
• 1.3 เตาไฟฟ้า (electric kiln) เป็นเตาที่ให้พลังงานความร้อนจากการไหลของ กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวต้านทาน เตาไฟฟ้า
เป็นเตาที่ให้อุณหภูมิสม่ าเสมอ สามารถควบคุม อุณหภูมิได้ดี มีความสะดวกในการใช้งาน เผาอุณหภูมิสูงได้ และสามารถเร่ง
อุณหภูมิให้ช้าหรือ เร็วได้ตามความต้องการ เป็นเตาที่เผาได้สะอาดที่สุดเพราะในการเผาไม่มีเปลวไฟ ไม่มีควัน จึง เผาได้เฉพาะ
บรรยากาศแบบออกซิเดชั่น หรือการเผาสันดาปสมบูรณ์เท่านั้น (oxidation conduction)
2. เครื่องมือวัดอุณหภูมิ
• การเผาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ในสมัยโบราณใช้การสังเกตสีของความร้อน และ คาดคะเนด้วยสายตา ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และ
ความช านาญพิเศษ แต่ในปัจจุบันได้มีผู้คิด เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ส าหรับวัดอุณหภูมิการเผาอย่างถูกต้องแม่นย า ได้แก่ เทอร์
โมคัปเปิล ทุ่นวัดอุณหภูมิและเครื่องมือวัดความร้อนโดยการเปรียบเทียบสีไฟ
• 2.1 เทอร์โมคัปเปิล
• 2.2 ทุ่นวัดอุณหภูมิหรือไพโรเมตริกโคน
• 2.3 เครื่องมือวัดอุณหภูมิโดยการเปรียบเทียบสีไฟ หรือเทอร์โมมิเตอร์ชนิด อินฟราเรด
3. การเผาผลิตภัณฑ์
• การเผาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์(firing) มี 3ขั้นตอนคือการเผาดิบ การเผาเคลือบ และ การเผาสีบนเคลือบ ซึ่งผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
แต่ละประเภทอาจไม่จ าเป็นต้องใช้การเผาทั้ง 3 ขั้นตอนดังกล่าว เช่น จานชามสีพื้นที่ไม่มีลวดลาย มีการเผาเพียง 2ขั้นตอนคือการ
เผาดิบและการเผาเคลือบ แต่ถ้าเป็นจานชามที่มีลวดลาย สีสัน ต้องใช้การเผาสีบนเคลือบเพื่อเผารูปลอก เซรามิกส์ให้ติดกับผิว
เคลือบ ส่วนกระถาง โอ่ง ถ้วยรับน้ ายางพารา ที่ท าจากดินแดงมีการเผา เคลือบเพียงครั้งเดียว

More Related Content

What's hot

Glass ceramics
Glass ceramicsGlass ceramics
Glass ceramics
Jorge Ibarra Ferado
 
Wire arc additive manufacturing
Wire arc additive manufacturingWire arc additive manufacturing
Wire arc additive manufacturing
DheerajKPanicker
 
NANO FINISHING TECHNIQUES
NANO FINISHING TECHNIQUESNANO FINISHING TECHNIQUES
NANO FINISHING TECHNIQUES
ARIJEET MOHAPATRA
 
3.expendable mold casting
3.expendable  mold casting3.expendable  mold casting
3.expendable mold casting
abhinav1234546
 
Ceramic materials 1
Ceramic materials  1Ceramic materials  1
Ceramic materials 1
Dr. M. K. Deore
 
Advantages of powder coatings
Advantages of powder coatingsAdvantages of powder coatings
Advantages of powder coatings
Montie Fletcher
 
ETE444-lec6-nanofabrication.pdf
ETE444-lec6-nanofabrication.pdfETE444-lec6-nanofabrication.pdf
ETE444-lec6-nanofabrication.pdf
mashiur
 
How a Microwave Works
How a Microwave WorksHow a Microwave Works
How a Microwave Works
Emmanuel Berko
 
Surface treatment
Surface treatmentSurface treatment
Surface treatment
Waqas Ahmed
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
klivsie
 
Welding of plastic
Welding of plasticWelding of plastic
Welding of plastic
Rahulkhandelwal120
 
POWDER METALLURGY
POWDER METALLURGYPOWDER METALLURGY
POWDER METALLURGY
DENNY OTTARACKAL
 
Sheet metal basics- stretch forming- explosive forming
Sheet metal basics- stretch forming- explosive formingSheet metal basics- stretch forming- explosive forming
Sheet metal basics- stretch forming- explosive forming
Pravinkumar
 
liquid penetration test
liquid penetration testliquid penetration test
liquid penetration test
Abdul Rahman
 
Glass manufacturing and types
Glass manufacturing and typesGlass manufacturing and types
Glass manufacturing and types
ArshadSurti1
 
Micro-drilling Using Step-forward Method
Micro-drilling Using Step-forward MethodMicro-drilling Using Step-forward Method
Micro-drilling Using Step-forward Method
Waqas Ahmed
 
MOLDEO POR INYECCION - INGENIERIA - COLOMBIA
MOLDEO POR INYECCION - INGENIERIA - COLOMBIAMOLDEO POR INYECCION - INGENIERIA - COLOMBIA
MOLDEO POR INYECCION - INGENIERIA - COLOMBIA
Alexander Cáceres Calderón
 
Aluminum Anodizing
Aluminum AnodizingAluminum Anodizing
Aluminum Anodizing
AACOA.com
 
COATING PRESENTATION
COATING PRESENTATIONCOATING PRESENTATION
COATING PRESENTATION
Nirmalya Mukherjee
 
Micro and nano manufacturing
Micro and nano manufacturingMicro and nano manufacturing
Micro and nano manufacturing
Mohit Ostwal
 

What's hot (20)

Glass ceramics
Glass ceramicsGlass ceramics
Glass ceramics
 
Wire arc additive manufacturing
Wire arc additive manufacturingWire arc additive manufacturing
Wire arc additive manufacturing
 
NANO FINISHING TECHNIQUES
NANO FINISHING TECHNIQUESNANO FINISHING TECHNIQUES
NANO FINISHING TECHNIQUES
 
3.expendable mold casting
3.expendable  mold casting3.expendable  mold casting
3.expendable mold casting
 
Ceramic materials 1
Ceramic materials  1Ceramic materials  1
Ceramic materials 1
 
Advantages of powder coatings
Advantages of powder coatingsAdvantages of powder coatings
Advantages of powder coatings
 
ETE444-lec6-nanofabrication.pdf
ETE444-lec6-nanofabrication.pdfETE444-lec6-nanofabrication.pdf
ETE444-lec6-nanofabrication.pdf
 
How a Microwave Works
How a Microwave WorksHow a Microwave Works
How a Microwave Works
 
Surface treatment
Surface treatmentSurface treatment
Surface treatment
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
Welding of plastic
Welding of plasticWelding of plastic
Welding of plastic
 
POWDER METALLURGY
POWDER METALLURGYPOWDER METALLURGY
POWDER METALLURGY
 
Sheet metal basics- stretch forming- explosive forming
Sheet metal basics- stretch forming- explosive formingSheet metal basics- stretch forming- explosive forming
Sheet metal basics- stretch forming- explosive forming
 
liquid penetration test
liquid penetration testliquid penetration test
liquid penetration test
 
Glass manufacturing and types
Glass manufacturing and typesGlass manufacturing and types
Glass manufacturing and types
 
Micro-drilling Using Step-forward Method
Micro-drilling Using Step-forward MethodMicro-drilling Using Step-forward Method
Micro-drilling Using Step-forward Method
 
MOLDEO POR INYECCION - INGENIERIA - COLOMBIA
MOLDEO POR INYECCION - INGENIERIA - COLOMBIAMOLDEO POR INYECCION - INGENIERIA - COLOMBIA
MOLDEO POR INYECCION - INGENIERIA - COLOMBIA
 
Aluminum Anodizing
Aluminum AnodizingAluminum Anodizing
Aluminum Anodizing
 
COATING PRESENTATION
COATING PRESENTATIONCOATING PRESENTATION
COATING PRESENTATION
 
Micro and nano manufacturing
Micro and nano manufacturingMicro and nano manufacturing
Micro and nano manufacturing
 

More from Smile Suputtra

บทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัยบทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัย
Smile Suputtra
 
บทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัยบทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัย
Smile Suputtra
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Smile Suputtra
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
Smile Suputtra
 
บทที่3 pptx
บทที่3 pptxบทที่3 pptx
บทที่3 pptx
Smile Suputtra
 
บทที่ 3cxแป้นหมุน
บทที่ 3cxแป้นหมุนบทที่ 3cxแป้นหมุน
บทที่ 3cxแป้นหมุน
Smile Suputtra
 
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
Smile Suputtra
 
ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)
Smile Suputtra
 
ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)
Smile Suputtra
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
Smile Suputtra
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
Smile Suputtra
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
Smile Suputtra
 

More from Smile Suputtra (13)

บทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัยบทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัย
 
บทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัยบทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัย
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่3 pptx
บทที่3 pptxบทที่3 pptx
บทที่3 pptx
 
บทที่ 3cxแป้นหมุน
บทที่ 3cxแป้นหมุนบทที่ 3cxแป้นหมุน
บทที่ 3cxแป้นหมุน
 
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
 
ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)
 
ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)
 
อ.ชล1
อ.ชล1อ.ชล1
อ.ชล1
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 

วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์

  • 2. • ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ทั้งที่เป็นงานศิลปะและงานอุตสาหกรรมจะเกิดความสวยงามได้ นอกจากจะผ่านการออกแบบด้วย ความรู้และความรอบคอบ มีการขึ้นรูปด้วยเนื้อดินปั้นที่ เหมาะสม และมีสูตรเคลือบที่ดีแล้ว การน าเคลือบไปเคลือบผิว ผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีการที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจุ่ม การพ่น การเทราด หรือการทาเคลือบ การน าผลิตภัณฑ์เข้าเผา ด้วยชนิดของ เตาเผา อุณหภูมิการเผา และบรรยากาศการเผาที่ถูกต้องเหมาะสม ก็จะช่วยให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้เกิด ความ สวยงามตามความต้องการ แต่แม้ว่าผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบจะเกิดต าหนิที่ไม่ต้องการ ไม่ว่าจะเป็นเคลือบเกิด ฟองอากาศ หลุดร่อน หรือเป็นรูเล็ก ๆ ที่ผิวเคลือบ เป็นต้น ซึ่งล้วนเป็น ปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการ เผาเคลือบแล้วได้ แต่ทั้งนี้การรู้และเข้าใจปัญหาก็ สามารถป้องกันการเกิดต าหนิที่อาจเกิดขึ้นหลังการเผาได้ดังนั้นในบท ที่ 6 นี้จึงกล่าวถึงการชุบ เคลือบ การเผาเคลือบ ต าหนิเคลือบและวิธีการไขปัญหา วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
  • 3. การชุบเคลือบ • การชุบเคลือบ (application of glazes) หมายถึงการน าน้ าเคลือบไปเคลือบผิวผลิตภัณฑ์ ที่ท าจาก ดินให้ทั่วถึงและสม่ าเสมอ ซึ่งการชุบเคลือบมี4วิธีได้แก่ การจุ่มเคลือบ การพ่นเคลือบ การราดเคลือบ และการทา เคลือบ แต่ไม่ว่าจะชุบเคลือบผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีการใด สิ่งแรกที่ต้อง ปฏิบัติคือการท าความสะอาดผิวผลิตภัณฑ์โดยใช้ ฟองน้ าชุบน้ าหมาดเช็ดผิวผลิตภัณฑ์ที่ผ่าน การเผาดิบแล้ว เนื่องจากภายหลังการเผาจะมีฝุ่นละอองติดผิวผลิตภัณฑ์ที่ จะส่งผลให้เกิดต าหนิ หลังเผาได้กรณีที่ผลิตภัณฑ์เป็นดินดิบก็จ าเป็นต้องท าความสะอาดผิวด้วยฟองน้ าชุบน้ าหมาด เช่นเดียวกัน หากต้องการปรับแต่งผิวผลิตภัณฑ์สามารถใช้กระดาษทรายขัดผิวให้เรียบหรือ ก าจัดต าหนิที่ผิว ผลิตภัณฑ์ก่อนการท าความสะอาดด้วยฟองน้ า
  • 4. 1. การจุ่มเคลือบ • การเคลือบด้วยวิธีจุ่มหรือชุบ (dipping) เป็นวิธีที่ท าได้รวดเร็ว ประหยัด ง่ายและ นิยมใช้กันมากวิธีการจุ่มเคลือบ เหมาะสมกับการชุบเคลือบผลิตภัณฑ์ที่มีขนาดเล็กมีน้ าหนักเบา และสามารถยกได้ โดยการน าผลิตภัณฑ์จุ่มลงไปในน้ าเคลือบ ที่เตรียมไว้ซึ่งน้ าเคลือบจะต้องมี จ านวนมากพอที่จะจุ่มผลิตภัณฑ์ได้ โดยปกติจะเตรียมน้ าเคลือบไว้ในภาชนะทรงสูง เช่นถังน้ า หรือกะละมัง ภาชนะควรมีความสูงมากกว่าความสูงของผลิตภัณฑ์ที่ต้องการจุ่มเคลือบ และมีฝา ปิดเมื่อหลังเลิกใช้งาน ป้องกัน เศษวัสดุหล่นลงในเคลือบและป้องกันการระเหยของน้ า แม้การจุ่มเคลือบจะเป็นวิธีที่ง่าย สะดวก รวดเร็ว แต่ก็มีเทคนิคการ เคลือบที่หลากหลายตามลักษณะ ของผลิตภัณฑ์และความต้องการ
  • 5. • การเคลือบด้วยวิธีพ่น (spraying) เป็นวิธีที่ท าให้ได้ผิวเคลือบสม่ าเสมอ เหมาะ ส าหรับการเคลือบผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ที่ ไม่สามารถยกจุ่มได้ และผลิตภัณฑ์ที่ต้องการให้สี เคลือบสม่ าเสมอ หรือส าหรับกรณีที่มีน้ าเคลือบน้อยไม่เพียงพอส าหรับการ จุ่มเคลือบ รวมทั้ง การเคลือบผลิตภัณฑ์ขนาดเล็ก หรือบางมากไม่สามารถชุบเคลือบได้เพราะผลิตภัณฑ์จะอิ่มตัว ด้วยน้ าและ วัตถุดิบที่เป็นส่วนของเคลือบจะไม่ติดกับผลิตภัณฑ์น้ าเคลือบที่น ามาใช้พ่นต้องผสม น้าให้ใสกว่าการเคลือบด้วยวิธีอื่น ๆ รวมทั้งต้องกรองน้ าเคลือบไม่ให้เคลือบเป็นก้อนและมี ความละเอียดมากพอ การเคลือบด้วยวิธีพ่นเป็นวิธีที่สิ้นเปลืองน้ าเคลือบ มากที่สุดเพราะ น้าเคลือบจะฟุ้งกระจายไปมากกว่าจะไปเกาะที่ผิวผลิตภัณฑ์รวมทั้งต้องใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ เฉพาะ 2. การพ่นเคลือบ
  • 6. 3. การราดเคลือบ • การเคลือบด้วยวิธีราด (pouring) ส่วนมากใช้สาหรับการชุบเคลือบผลิตภัณฑ์ขนาด ใหญ่ เช่น โอ่งหรือแจกันขนาดใหญ่ ที่ไม่สามารถ ยกและจุ่มลงในภาชนะใส่น้าเคลือบได้หรือใช้เมื่อมีน้าเคลือบปริมาณน้อยไม่เพียงพอต่อการจุ่มเคลือบและไม่มีอุปกรณ์พ่นเคลือบ การราด เคลือบต้องใช้ภาชนะที่มีขนาดใหญ่กว่าผลิตภัณฑ์ส าหรับใส่น้าเคลือบ เพื่อให้น้าเคลือบที่เทราด ผลิตภัณฑ์ไหลลงภาชนะได้ไม่หกลงพื้น (ภาพที่ 6.10) การราดเคลือบมีขั้นตอนการปฏิบัติดังนี้ • 3.1 ท าความสะอาดผลิตภัณฑ์ • 3.2 เคลือบด้านในผลิตภัณฑ์ กรณีที่ผลิตภัณฑ์ปากกว้างและสามารถยกผลิตภัณฑ์ ได้ให้ใช้การเทเคลือบใส่และเทออกพร้อมหมุนผลิตภัณฑ์ หรืออาจใช้การสาดเคลือบให้เข้าไป เคลือบผิวผลิตภัณฑ์ด้านในส าหรับกรณีที่ยกผลิตภัณฑ์ไม่ได้แต่ถ้าเป็นผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ และปาก เล็กไม่นิยมเคลือบด้านใน • 3.3 คว่ าผลิตภัณฑ์บนปากภาชนะใส่น้าเคลือบ โดยใช้ท่อนไม้สองท่อนพาดปาก ภาชนะเพื่อรองรับผลิตภัณฑ์ • 3.4 ตักน้าเคลือบเทราดผลิตภัณฑ์จากด้านบน ให้น้าเคลือบไหลลงด้านล่างและไหล ลงภาชนะ • 3.5 เช็ดเคลือบที่ขาหรือก้นผลิตภัณฑ์
  • 7. 4. การทาเคลือบ • การเคลือบด้วยวิธีทา (painting) โดยใช้แปรงหรือพู่กันทาเคลือบ ส่วนมากใช้กับ ผลิตภัณฑ์ทางศิลปะ (art ware) ที่ ต้องการเคลือบหลายสีนอกจากการใช้พู่กันทาเคลือบ ผลิตภัณฑ์ทั้งใบแล้ว (ภาพที่ 6.12 (1)) อาจใช้พู่กันชุบเคลือบสีแตกต่างเพื่อ เขียนลายบน ผลิตภัณฑ์ที่ชุบเคลือบแล้ว เป็นการตกแต่งผลิตภัณฑ์วิธีหนึ่ง (ภาพที่ 6.12 (2)) รวมทั้งใช้พู่กัน ชุบเคลือบและทาบน ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการชุบเคลือบด้วยวิธีอื่นมาแล้ว แต่ยังมีส่วนที่เคลือบ ไม่เกาะผลิตภัณฑ์ เช่นบริเวณที่ใช้มือจับชุบเคลือบ บริเวณมุม อับ ภายหลังการชุบเคลือบ สิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานต้องค านึงถึงและต้องปฏิบัติเสมอทุกครั้งคือ การเช็ดเคลือบ (dry foot) เนื่องจาก ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ทุกประเภท ส่วนขาของผลิตภัณฑ์หรือ ส่วนที่สัมผัสพื้นเมื่อวางผลิตภัณฑ์เป็นส่วนที่สัมผัสกับชั้นวางในเตาเผาที่ ต้องไม่มีเคลือบติดอยู่ เพราะเคลือบที่หลอมละลายขณะเผาเคลือบและแข็งตัวเมื่อเสร็จสิ้นการเผาจะแข็งเกาะติดชั้นวาง ท าให้ ผลิตภัณฑ์และชั้นวางเสียหายได้จึงต้องเช็ดเคลือบบริเวณที่สัมผัสกับพื้นออก โดยปกติถ้า เป็นงานขนาดเล็กและต้องเช็ดเคลือบ ปริมาณน้อยจะใช้ใบมีดหรือใบเลื่อยขูดเคลือบออกและใช้ ฟองน้ าชุบน้ าเช็ดให้สะอาด
  • 8. การเผาเคลือบ • เมื่อชุบเคลือบและเช็ดเคลือบผลิตภัณฑ์แล้ว กระบวนการต่อไปของการสร้างงาน เซรามิกส์คือการเผาเคลือบ สิ่งส าคัญที่สุดส าหรับการเผา เคลือบคือเตาเผา (kiln) ซึ่งเตาที่ใช้อยู่ใน ปัจจุบัน มีความแตกต่างกันทั้งรูปร่าง ขนาดและพลังงานที่ใช้นอกจากเตาเผาแล้วสิ่งส าคัญที่ ช่วย ให้การเผาประสบความส าเร็จคือเครื่องมือวัดอุณหภูมิ รวมทั้งความเข้าใจถึงเรื่องการเผา ผลิตภัณฑ์ • 1. เตาเผา • เคลือบแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันด้านอุณหภูมิการเผาและบรรยากาศการเผา ซึ่ง เตาเผาที่เลือกใช้อาจไม่เหมาะสมกับเคลือบที่ผู้ปฏิบัติงาน ต้องการ โดยเตาเผาที่ใช้ในงาน เซรามิกส์มีหลายประเภทที่แบ่งตามลักษณะต่าง ๆ เช่น แบ่งตามประเภททางเดินลมร้อน ได้แก่ เตาชนิดทางเดิน ลมร้อนตรง (horizontal draft kiln) เตาชนิดทางลมร้อนขึ้น (up draft kiln) และ เตาชนิดทางเดินลมร้อนลง (down draft kiln) หรือแบ่งตามประเภทการใช้งานของเตา ได้แก่ เตา ชนิดเผาเป็นครั้งคราว (periodic kiln) เตาเผาแบบ กึ่งต่อเนื่อง (semi continuous kiln) และเตา ชนิดเผาต่อเนื่อง (continuous kiln) หรือแบ่งตามลักษณะของเตา เช่น เตากลม เตาเหลี่ยม เตาแมลงป่อง เตาจีน เป็นต้น แต่ที่นิยมคือเรียกชนิดของเตาตามชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช้ได้แก่ เตา แก๊ส เตาฟืน เตาน้ ามัน และเตาไฟฟ้า ซึ่งเตาเผาที่นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเซรามิกส์ที่มีการเผา เคลือบมี 3 ชนิดได้แก่ เตาฟืน เตาแก๊ส และเตาไฟฟ้า
  • 9. • 1.1 เตาฟืน (wood kiln) เป็นเตาเผาเซรามิกส์ตั้งแต่ในอดีตและในปัจจุบันยังคงใช้ อยู่ โดยใช้ไม้ฟืนเป็นเชื้อเพลิง สามารถเผา อุณหภูมิสูงได้ขึ้นอยู่กับลักษณะของเตา ในอดีตและ ปัจจุบันมีการสร้างเตาฟืนให้มีขนาดใหญ่และเผาได้จ านวนมาก โดยเฉพาะ โรงงานผลิต ผลิตภัณฑ์จากดินแดง เช่นโอ่งมังกรถ้วยรองรับน้ ายางพารา เป็นต้น (ภาพที่ 6.15) เตาฟืนนิยม เผาในบรรยากาศรี ดักชั่น เพราะในการใช้ไม้ฟืนเป็นเชื้อเพลิงจะเกิดเขม่าควันและเถ้าไม้จ านวน มาก รวมทั้งเตาฟืนให้ความร้อนไม่สม่ าเสมอ ส่งผลให้ การเผาด้วยเตาฟืนอาจท าให้สีผลิตภัณฑ์ ผิดเพี้ยนได้ง่าย ผิวผลิตภัณฑ์อาจไม่สวย สถานประกอบการผลิตเครื่องถ้วยชามจึงแก้ไข โดยการ ใส่จ๊อ หรือกี๋หรือหีบทนไฟ (sagger box) ในการเผา • 1.2 เตาแก๊ส (gas kiln) เป็นเตาที่นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเซรามิกส์มี ความสะดวกต่อการใช้งาน ประหยัดเชื้อเพลิง ปลอดภัย เผาอุณหภูมิสูงได้รวมทั้งเป็นเตาที่ ค่อนข้างสะอาด ไม่มีควันแต่มีเปลวไฟ (ภาพที่ 6.17) เตาแก๊สที่ใช้กันอยู่ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ ชนิด ทางเดินลมร้อนขึ้น (updraft kiln) และชนิดทางเดินลมร้อนลง (downdraft kiln) ซึ่งเตาแก๊สชนิด ทางเดินลมร้อนลงจะสามารถเผาได้อุณหภูมิสูงกว่าเตาแก๊สชนิดทางเดินลมร้อนขึ้น แต่เตาแก๊ส ทั้งสองชนิดสามารถเผาได้ทั้ง บรรยากาศแบบออกซิเดชั่น และแบบรีดักชั่น
  • 10. • 1.3 เตาไฟฟ้า (electric kiln) เป็นเตาที่ให้พลังงานความร้อนจากการไหลของ กระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวต้านทาน เตาไฟฟ้า เป็นเตาที่ให้อุณหภูมิสม่ าเสมอ สามารถควบคุม อุณหภูมิได้ดี มีความสะดวกในการใช้งาน เผาอุณหภูมิสูงได้ และสามารถเร่ง อุณหภูมิให้ช้าหรือ เร็วได้ตามความต้องการ เป็นเตาที่เผาได้สะอาดที่สุดเพราะในการเผาไม่มีเปลวไฟ ไม่มีควัน จึง เผาได้เฉพาะ บรรยากาศแบบออกซิเดชั่น หรือการเผาสันดาปสมบูรณ์เท่านั้น (oxidation conduction) 2. เครื่องมือวัดอุณหภูมิ • การเผาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ในสมัยโบราณใช้การสังเกตสีของความร้อน และ คาดคะเนด้วยสายตา ซึ่งต้องอาศัยประสบการณ์และ ความช านาญพิเศษ แต่ในปัจจุบันได้มีผู้คิด เครื่องมืออุปกรณ์ต่าง ๆ ส าหรับวัดอุณหภูมิการเผาอย่างถูกต้องแม่นย า ได้แก่ เทอร์ โมคัปเปิล ทุ่นวัดอุณหภูมิและเครื่องมือวัดความร้อนโดยการเปรียบเทียบสีไฟ • 2.1 เทอร์โมคัปเปิล • 2.2 ทุ่นวัดอุณหภูมิหรือไพโรเมตริกโคน • 2.3 เครื่องมือวัดอุณหภูมิโดยการเปรียบเทียบสีไฟ หรือเทอร์โมมิเตอร์ชนิด อินฟราเรด
  • 11. 3. การเผาผลิตภัณฑ์ • การเผาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์(firing) มี 3ขั้นตอนคือการเผาดิบ การเผาเคลือบ และ การเผาสีบนเคลือบ ซึ่งผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ แต่ละประเภทอาจไม่จ าเป็นต้องใช้การเผาทั้ง 3 ขั้นตอนดังกล่าว เช่น จานชามสีพื้นที่ไม่มีลวดลาย มีการเผาเพียง 2ขั้นตอนคือการ เผาดิบและการเผาเคลือบ แต่ถ้าเป็นจานชามที่มีลวดลาย สีสัน ต้องใช้การเผาสีบนเคลือบเพื่อเผารูปลอก เซรามิกส์ให้ติดกับผิว เคลือบ ส่วนกระถาง โอ่ง ถ้วยรับน้ ายางพารา ที่ท าจากดินแดงมีการเผา เคลือบเพียงครั้งเดียว