SlideShare a Scribd company logo
การตกแต่งผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การตกแต่งผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
• ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์เป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องผ่านการเผาตามความหมายของค าในภาษากรีก (Keramos) ซึ่งการเผาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ในอดีตจะเผาเพียง
ครั้งเดียวที่อุณหภูมิต่ าคือไม่เกิน 1,000 องศาเซลเซียส จึงอาจเรียกว่าเครื่องปั้นดินเผา (pottery)แต่ปัจจุบันนิยมเผาผลิตภัณฑ์ เซรามิกส์จ านวนสองครั้ง
คือครั้งแรกเผาที่ 800องศาเซลเซียส เรียกการเผาดิบ มีวัตถุประสงค์ให้ผลิตภัณฑ์มีความแข็งแรง ทนทาน สามารถเคลื่อนย้ายและน ามาตกแต่งได้ง่าย แล้วจึง
เผาที่ อุณหภูมิสูง โดยปกติแล้วจะสูงกว่า 1,000องศาเซลเซียส ตามสมบัติของเนื้อดินปั้นและเคลือบ จึงเรียกว่าการเผาเคลือบ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผลิตภัณฑ์
มีความสวยงาม เคลือบและวัสดุตกแต่ง ติดแน่นกับเนื้อดิน ยกเว้นในบางกรณีที่จะมีการเผาครั้งที่สามเพื่อเผาวัสดุตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้ หลอมและติดแน่นกับ
ผิวผลิตภัณฑ์อีกครั้งหนึ่ง ดังนั้นการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาจึงจ าแนก ตามจ านวนครั้งของการเผาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ได้เป็ น 2 ระยะคือ การตกแต่ง
ผลิตภัณฑ์หลังเผา ดิบ และการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบ การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาทั้งสองระยะมี ความเหมาะสมกับลักษณะผลิตภัณฑ์และการใช้
งานที่แตกต่างกัน รวมทั้งมีเสน่ห์และ ความสวยงามที่เป็นเอกลักษณ์แตกต่างกัน
การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบ
ภายหลังการเผาดิบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ที่อุณหภูมิประมาณ 800องศาเซลเซียส เนื้อดิน ปั้ นจะมีความ แข็งแรงท น ท านเพิ่ มมากขึ้น ผลิตภัณ ฑ์ สูญ เสียส ารป ระ
กอบ คาร์บ อน (carbonaceous matter) และน้ าในโครงสร้างทางเคมีท าให้ผลิตภัณฑ์เปลี่ยนจากสีเทา-ด าก่อนเผา เป็นสีขาวหรือครีม และหดตัวเล็กน้อย
ประมาณร้อยละ 10–20 ตามชนิดของดินและวัตถุดิบอื่นที่ ใช้ในอัตราส่วนผสม ผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบจะไม่มีความเหนียว ไม่สามารถน ามาผสมน้ าเพื่อ ขึ้นรูปได้ใหม่เหมือน
ผลิตภัณฑ์เมื่อแห้ง การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบจะไม่ท าลายพื้นผิว ผลิตภัณฑ์เหมือนการตกแต่งผลิตภัณฑ์ก่อนเผา แต่จะเป็นการเพิ่มสีสันให้กับผลิตภัณฑ์ไม่ว่า จะเป็น
การเคลือบผิวและการเขียนสีใต้เคลือบ โดยแต่ละวิธีมีเทคนิคที่ได้รับการพัฒนาอย่าง หลากหลายดังต่อไปนี้
1. การเคลือบ
• การตกแต่งผลิตภัณฑ์โดยใช้เคลือบเป็นการตกแต่งพื้นฐานที่จ าเป็นส าหรับ ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องโต๊ะอาหาร เครื่อง
สุขภัณฑ์ ของช าร่วยและเครื่องประดับ รวมทั้งวัสดุก่อสร้าง เช่น กระเบื้อง ลูกกรงแก้ว เป็นต้น เพราะ นอกจากสมบัติทางเคมีและทางกายภาพที่ต้องการจากเคลือบ
แล้ว ยังได้ประโยชน์ในการใช้งาน และเกิดความสวยงามอีกด้วย ดังนั้นเคลือบ (glaze) และวิธีการเคลือบ (glazing) จึงมีการพัฒนา อย่างมากและ
หลากหลาย ส าหรับการใช้เคลือบเพื่อการตกแต่งผลิตภัณฑ์สามารถสร้างสรรค์ได้ จากการสร้างสูตรเคลือบที่สวยงามแปลกตา เช่น เคลือบราน เคลือบแยกตัวออกจาก
กัน เคลือบ ผลึก เคลือบไหล เป็นต้น ดังที่กล่าวไว้แล้วในส่วนที่ 2 เรื่องเคลือบเซรามิกส์ดังนั้นในการ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ด้วยเคลือบจึงกล่าวถึงวิธีการหรือเทคนิค
วิธีการน าเคลือบมาเคลือบผิว ผลิตภัณฑ์ให้สวยงามแปลกตา หรือการใช้วัสดุอื่นมาใช้ร่วมกับการเคลือบเ
• 1.1 การตกแต่งด้วยการเคลือบ ได้แก่การผสมผสานวิธีการเคลือบทั้ง 4วิธีคือการจุ่ม การพ่น การเทราด และการทาเคลือบมาใช้ตกแต่งผลิตภัณฑ์ สามารถออกแบบการตกแต่ง
ด้วย เคลือบได้หลากหลาย เช่นการชุบเคลือบผลิตภัณฑ์ด้วยเคลือบสีตามปกติ หลังจากนั้นใช้ฟองน้า ชุบน้าเคลือบสีอื่นมาหยดใส่ตามจุดที่ต้องการ หรืออาจใช้เครื่องมือชนิดอื่น
แทน ฟองน้า เป็นเครื่องมือที่สามารถบรรจุเคลือบได้ปริมาณเพียงพอที่จะใช้งาน และสามารถควบคุม ปริมาณและทิศทางการไหลของเคลือบได้ เช่น หลอดฉี ดยา ขวดพลาสติก
ช้อน เป็นต้น นอกจากการหยดหรือราดเคลือบแล้ว อาจใช้วิธีการเขียนเคลือบด้วยพู่กัน หรือใช้การพ่นเคลือบสีอื่นลงบนพื้นผิวของเคลือบพื้นสีต่างกันโดย การพ่นเคลือบอาจใช้ได้
ทั้งหัวพ่นเคลือบ ที่ฉีดพ่นน้า (สาหรับรีดผ้า) รวมทั้งการใช้แปรงจุ่ม เคลือบมาดีดหรือสลัดลงบนผิวเคลือบ
• 1.2 การตกแต่งด้วยเศษแก้ว แก้วที่ใช้ในชีวิตประจ าวันโดยเฉพาะขวดแก้วที่มีสี น้ าตาล (สีชา) และขวดแก้วสีเขียว เป็นแก้วชนิดโซดาไลม์ (soda lime glass)ผลิต
จากทรายที่ให้ซิลิกาแต่มีจุดหลอมที่อุณหภูมิ 1,710องศาเซลเซียส จึงน ามาผสมกับหินปูนที่ให้แคลเซียมหรือ ไลม์ โซดาแอซที่ให้โซเดียมหรือโซดา และออกไซด์ให้สีมีสมบัติเป็น
ตัวช่วยลดอุณหภูมิน าไป หลอมที่อุณหภูมิประมาณ 1,100องศาเซลเซียสและขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ดังนั้นหากน าเศษแก้ว มาบดละเอียด ผสมน้ า สามารถใช้เป็นเคลือบได้
รวมทั้งเมื่อน าเศษแก้วบดหยาบวางบน ผลิตภัณฑ์ที่ชุบเคลือบไว้แล้ว เมื่อเผาเคลือบที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิการหลอมของเศษแก้ว (ตั้งแต่ 550–1,450องศาเซลเซียส ตาม
อัตราส่วนผสมของแก้ว เศษแก้วก็จะหลอมตัวและเกาะติด ผิวเคลือบและผลิตภัณฑ์
• ข้อควรระวังของการใช้เศษแก้วตกแต่งผลิตภัณฑ์คือควรใช้เศษแก้วในพื้นที่ปิด เช่น เป็นแอ่ง เป็นหลุม ภายในผลิตภัณฑ์ เพื่อไม่ให้เศษแก้วหลอมตัวและไหลลงพื้นได้ นอกจากนี้
การใช้เศษแก้วมากจะท าให้เกิดการดึงตัวท าให้ผลิตภัณฑ์แตกได้
• 1.3 การตกแต่งด้วยขี้ผึ้ง ได้แก่การใช้วัตถุดิบกันน้ าประเภทขี้ผึ้ง (wax) เทียนหรือ น้ามัน ปิดบังผิวผลิตภัณฑ์ในบริเวณที่ไม่ต้องการให้เคลือบติด (wax resist) เหมือน
การท าผ้า บาติกที่ใช้น้ าเทียนเขียนลายลงบนผ้าขาวก่อนน าผ้าไปชุบสีหรือเขียนสีในงานเซรามิกส์มีขี้ผึ้ง หรือแว๊กซ์ที่พร้อมใช้งานจาหน่าย และที่นิยมใช้กันทั่วไปคือใช้ทาบริเวณขา
หรือ ก้นผลิตภัณฑ์เพื่อป้องกันไม่ให้เคลือบติดขณะชุบเคลือบ โดยไม่ต้องเช็ดเคลือบ
• 1.4 การตกแต่งด้วยการหยดเคลือบ ได้แก่การใช้เคลือบสีเขียนลวดลายเป็นเส้นหรือ เป็นจุดลงบนผลิตภัณฑ์ที่เคลือบผิวไว้แล้ว ซึ่งเคลือบสีที่น ามาหยดนี้ภายหลังการเผาเคลือบ
จะต้องหลอมจนเกิดความมันวาว ยังคงรักษารูปทรงและลวดลายไว้ได้ไม่ไหลตัวหลอมไปกับ เคลือบพื้น และยังมีพื้นผิวที่นูนเล็กน้อย เทคนิคการตกแต่งด้วยการหยดเคลือบนี้เป็น
ที่นิยมอย่าง มากในปัจจุบันที่ประเทศตุรก
2. การใช้สีใต้เคลือบ
การตกแต่งผลิตภัณฑ์ด้วยการใช้สีใต้เคลือบ (under glaze color) เป็นวิธีการตกแต่ง ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ที่มีวิวัฒนาการต่อเนื่องจากการคิดค้นสีส าหรับเขียนผลิตภัณฑ์
ได้ และเมื่อ น าไปเผาแล้วสียังคงอิทธิพลอยู่ โดยในสมัยแรกเป็นการใช้สีจากดินแดงหรือดินเหนียว เช่น การเขียนลายของเครื่องปั้นดินเผาจากแหล่งบ้านเชียง ต าบลบ้านเชียง อ าเภอห
นองหาน จังหวัด อุดรธานี ที่ได้กล่าวถึงไว้ในเรื่องการตกแต่งด้วยดินสีในบทที่ 8 ส าหรับสีใต้เคลือบมีหลักฐานว่า ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในตะวันออกกลางมีการขุดค้นพบแร่โคบอลต์
(cobalt) ในบริเวณ ภาคกลางของประเทศอิหร่าน (Iran) และน าไปใช้เขียนบนผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ได้สีน้ าเงิน (ภาพ ที่ 9.10) เรียกผลิตภัณฑ์ที่มีลวดลายสีน้ าเงินบนพื้นสีขาวว่า
“ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์สีฟ้า-ขาว (blue and white ware)” หรือที่ประเทศไทยรู้จักกันอย่างแพร่หลายในชื่อ “เครื่องลายคราม”
• เมื่อมีการคิดค้นสีอื่น ๆ ได้นอกจากสีน้าเงินจากโคบอลต์จึงเริ่มมีการน ามาใช้ในงาน เขียนสีผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ซึ่งไม่พบหลักฐานปรากฏว่ามีการนาสีอื่น ๆ เช่นสีเขียว สีม่วง สี
แดง มาใช้ในการเขียนสีใต้เคลือบเมื่อใด แต่มีหลักฐานการใช้ออกไซด์ของโลหะผสมในเคลือบเพื่อ ทาเคลือบสีเช่นเคลือบสีน้าตาลจากออกไซด์ของเหล็ก (ferric oxide)
เคลือบสีเขียวอมฟ้าจาก ออกไซด์ของทองแดง (copper oxide) เป็นต้น แต่ไม่ว่าสีใต้เคลือบจะมีต้นก าเนิดหรือมี วิวัฒนาการมาเช่นไร การนาสีใต้เคลือบสีต่าง ๆ มา
ใช้มีความแพร่หลายและได้รับความนิยมมา ตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 (ค.ศ. 1500 หรือ พ.ศ. 2043) เป็นต้นมา โดยผลิตภัณฑ์ที่ตกแต่ง ด้วยสีใต้เคลือบที่มีเอกลักษณ์โดด
เด่นเฉพาะตัวตั้งแต่อดีตมีหลายแหล่งจากหลายประเทศดัง ตัวอย่างต่อไปนี้
• 2.1 ผลิตภัณฑ์อิซนิค (Iznik pottery)
• 2.2 ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์เขียนสีใต้เคลือบที่มีเอกลักษณ์และมีชื่อเสียงของประเทศ อิตาลี ที่มีชื่อว่า “ไมยอลิกา (Maiolica)” หรือในภาษาอังกฤษเรียกว่า “มาโจลิกา
(Majolica)”
• 2.3 ผลิตภัณฑ์เขียนสีใต้เคลือบที่มีชื่อเสียงและเป็นเอกลักษณ์ของประเทศ เนเธอร์แลนด์(Netherlands)
• 2.4 กระเบื้องเซรามิกส์ของโปรตุเกส ในภาษาโปรตุเกสเรียกกระเบื้อง (tile) ว่า “อะซูเลโฮว์ (azulejos)”
• 2.5 เครื่องลายครามของประเทศไทย
ในปัจจุบันการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบด้วยสีใต้เคลือบยังคงใช้วิธีการเช่นเดิม คือการเขียนด้วยพู่กัน การประทับลาย การพิมพ์ลาย การลอกลาย และการใช้รูปลอก แต่มี การ
พัฒนาแต่ละวิธีให้สะดวกรวดเร็วและมีคุณภาพเพิ่มมากขึ้นดังต่อไปนี้
1) การเขียนสีใต้เคลือบบนผลิตภัณฑ์เผาดิบ สามารถใช้ได้ทั้งพู่กันเขียนสีและ การพ่นสีโดยปากกาพ่นสี การใช้พู่กันเขียนสีจะต้องผสมสีให้มีความเข้มข้นหรือความหนาแน่น ตาม
ความต้องการ สีสามารถไล่น้ าหนักอ่อน-แก่ได้แต่ถ้าสีหนาเกินไป สีอาจไม่สุกตัวและร่อน หลุดได้ขณะเผา หรืออาจเกิดการเดือดเป็นฟองได้ ถ้าสีอ่อนเกินไป
2) 2) การลอกลาย หมายถึงการน าลวดลายที่ได้เตรียมไว้น าไปท าให้ปรากฏลงบนผิว ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการเผาดิบแล้ว และสามารถท าลวดลายซ้ ากันได้หลายครั้ง ซึ่งการลอกลาย
เป็น วิธีการตกแต่งที่ใช้ในวงการอื่นทั่ว ๆ ไป ไม่เฉพาะเจาะจงส าหรับการผลิตเซรามิกส์เพียงแต่สีที่ ใช้ส าหรับการลอกลายส าหรับงานเซรามิกส์จะใช้สีใต้เคลือบ วิธีการลอกลายมี
หลายวิธีที่ใช้ เครื่องมือแตกต่างกัน เช่น การประทับลาย การพิมพ์ลายด้วยกระดาษพิมพ์ลาย และการพิมพ์ลาย ด้วยกระดาษลอกลาย เป็นต้น
3) (3) การใช้กระดาษลอกลาย (carbon copy) เป็นวิธีการตกแต่งที่แตกต่างจาก การใช้กระดาษพิมพ์ลายที่ผู้ใช้กระดาษลอกลายจะต้องวาดหรือเขียนลวดลายเองลงบน
กระดาษ ลอกลาย เพื่อกดให้สีใต้เคลือบที่ติดอยู่บนกระดาษลงไปติดบนผิวผลิตภัณฑ์ซึ่ง กระดาษลอกลายที่มีการผลิตขายมีสีใต้เคลือบให้เลือกได้หลายสีได้แก่ สีดา สีเขียว สีน้
าตาล และสีน้าเงิน เป็นต้น
การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบ
• ภายหลังการเผาเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจ าวันส่วนมาก เช่นเครื่องโต๊ะอาหาร เครื่องสุขภัณฑ์ ของช าร่วย ของที่ระลึก และเครื่องประดับ เป็นต้น มักจะมี การเคลือบ
ผิวด้วยสีสันต่าง ๆ ช่วยให้ผลิตภัณฑ์แข็งแรงและมีผิวมันแวววาวพร้อมใช้งานได้ แต่ ส าหรับผลิตภัณฑ์บางชนิดมีความต้องการการตกแต่งเพิ่มเติมภายหลังการเผาเคลือบ โดย ผลิตภัณฑ์ที่มี
ชื่อเสียงเป็นเอกลักษณ์ของไทยที่ตกแต่งหลังเผาเคลือบได้แก่เครื่องเบญจรงค์และ ลายน้ าทอง ที่ตกแต่งโดยวิธีการเขียนสี เขียนลายบนผิวเคลือบด้วยสีบนเคลือบ นอกจากนี้ เครื่องโต๊ะอาหาร
ของไทยที่มีเนื้อดินชนิดพอร์ซเลนและโบนไชนาก็มีการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลัง การเผาเคลือบด้วยรูปลอกสีบนเคลือบท าให้เกิดลวดลาย สีสันสวยงาม ซึ่งการตกแต่งผลิตภัณฑ์ หลังเผาเคลือบ
ดังกล่าวมีดังต่อไปนี้
• 1. การเขียนสีบนเคลือบ
• 2. การใช้รูปลอกสีบนเคลือบ
สรุป
การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาแบ่งได้เป็น 2ระยะคือการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังการเผา ดิบ ผลิตภัณฑ์ที่น ามาตกแต่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความแข็งแรง ไม่ละลายน้า แต่
สามารถดูดซึมน้า ได้ และยังไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ที่พร้อมส าหรับการนาไปใช้งาน ต้องมีการเคลือบผิวและเผาเคลือบอีก ครั้งหนึ่ง ดังนั้นการตกแต่งผลิตภัณฑ์ในระยะนี้มักจะตกแต่ง
ลวดลายบนพื้นผิว ไม่ท าลายพื้นผิว ดังเช่นการแกะ การฉลุ ในขั้นตอนการตกแต่งผลิตภัณฑ์ก่อนเผาและการตกแต่งลวดลายบน พื้นผิวผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบมักจะใช้ตกแต่งด้วย
เคลือบร่วมกัน ซึ่งการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผา ดิบได้แก่การใช้สีใต้เคลือบในการตกแต่งลวดลายด้วยการเขียนลาย พิมพ์ลาย ลอกลาย และ ประทับลาย และเคลือบผิวด้วยเคลือบ
ใสเพื่อให้เห็นลวดลายนั้น ๆ ส่วนการตกแต่งผลิตภัณฑ์ หลังเผาอีกระยะหนึ่งคือการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบ ผลิตภัณฑ์ที่น ามาใช้ตกแต่งเป็น ผลิตภัณฑ์ที่พร้อมใช้งาน
เพราะมีความแข็งแกร่ง ทนทาน มีการเคลือบผิวมันแวววาว การตกแต่ง ผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบที่พบได้ทั่วไปคือเครื่องเบญจรงค์ที่ใช้การเขียนสีบนเคลือบ และถ้วย จานชามที่มี
ลายดอกไม้หรือของที่ระลึกที่มีตราสัญลักษณ์ของบริษัทที่ใช้รูปลอกสีบนเคลือบ

More Related Content

More from Smile Suputtra

การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
Smile Suputtra
 
ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)
Smile Suputtra
 
ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)
Smile Suputtra
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
Smile Suputtra
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
Smile Suputtra
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
Smile Suputtra
 

More from Smile Suputtra (7)

การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
 
ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)ชล2 (1) (3) (1)
ชล2 (1) (3) (1)
 
ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)
 
อ.ชล1
อ.ชล1อ.ชล1
อ.ชล1
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 

บทที่4 จานชัย

  • 2. การตกแต่งผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ • ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์เป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องผ่านการเผาตามความหมายของค าในภาษากรีก (Keramos) ซึ่งการเผาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ในอดีตจะเผาเพียง ครั้งเดียวที่อุณหภูมิต่ าคือไม่เกิน 1,000 องศาเซลเซียส จึงอาจเรียกว่าเครื่องปั้นดินเผา (pottery)แต่ปัจจุบันนิยมเผาผลิตภัณฑ์ เซรามิกส์จ านวนสองครั้ง คือครั้งแรกเผาที่ 800องศาเซลเซียส เรียกการเผาดิบ มีวัตถุประสงค์ให้ผลิตภัณฑ์มีความแข็งแรง ทนทาน สามารถเคลื่อนย้ายและน ามาตกแต่งได้ง่าย แล้วจึง เผาที่ อุณหภูมิสูง โดยปกติแล้วจะสูงกว่า 1,000องศาเซลเซียส ตามสมบัติของเนื้อดินปั้นและเคลือบ จึงเรียกว่าการเผาเคลือบ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ มีความสวยงาม เคลือบและวัสดุตกแต่ง ติดแน่นกับเนื้อดิน ยกเว้นในบางกรณีที่จะมีการเผาครั้งที่สามเพื่อเผาวัสดุตกแต่งผลิตภัณฑ์ให้ หลอมและติดแน่นกับ ผิวผลิตภัณฑ์อีกครั้งหนึ่ง ดังนั้นการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาจึงจ าแนก ตามจ านวนครั้งของการเผาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ได้เป็ น 2 ระยะคือ การตกแต่ง ผลิตภัณฑ์หลังเผา ดิบ และการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบ การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาทั้งสองระยะมี ความเหมาะสมกับลักษณะผลิตภัณฑ์และการใช้ งานที่แตกต่างกัน รวมทั้งมีเสน่ห์และ ความสวยงามที่เป็นเอกลักษณ์แตกต่างกัน
  • 3. การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบ ภายหลังการเผาดิบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ที่อุณหภูมิประมาณ 800องศาเซลเซียส เนื้อดิน ปั้ นจะมีความ แข็งแรงท น ท านเพิ่ มมากขึ้น ผลิตภัณ ฑ์ สูญ เสียส ารป ระ กอบ คาร์บ อน (carbonaceous matter) และน้ าในโครงสร้างทางเคมีท าให้ผลิตภัณฑ์เปลี่ยนจากสีเทา-ด าก่อนเผา เป็นสีขาวหรือครีม และหดตัวเล็กน้อย ประมาณร้อยละ 10–20 ตามชนิดของดินและวัตถุดิบอื่นที่ ใช้ในอัตราส่วนผสม ผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบจะไม่มีความเหนียว ไม่สามารถน ามาผสมน้ าเพื่อ ขึ้นรูปได้ใหม่เหมือน ผลิตภัณฑ์เมื่อแห้ง การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบจะไม่ท าลายพื้นผิว ผลิตภัณฑ์เหมือนการตกแต่งผลิตภัณฑ์ก่อนเผา แต่จะเป็นการเพิ่มสีสันให้กับผลิตภัณฑ์ไม่ว่า จะเป็น การเคลือบผิวและการเขียนสีใต้เคลือบ โดยแต่ละวิธีมีเทคนิคที่ได้รับการพัฒนาอย่าง หลากหลายดังต่อไปนี้ 1. การเคลือบ • การตกแต่งผลิตภัณฑ์โดยใช้เคลือบเป็นการตกแต่งพื้นฐานที่จ าเป็นส าหรับ ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทเครื่องโต๊ะอาหาร เครื่อง สุขภัณฑ์ ของช าร่วยและเครื่องประดับ รวมทั้งวัสดุก่อสร้าง เช่น กระเบื้อง ลูกกรงแก้ว เป็นต้น เพราะ นอกจากสมบัติทางเคมีและทางกายภาพที่ต้องการจากเคลือบ แล้ว ยังได้ประโยชน์ในการใช้งาน และเกิดความสวยงามอีกด้วย ดังนั้นเคลือบ (glaze) และวิธีการเคลือบ (glazing) จึงมีการพัฒนา อย่างมากและ หลากหลาย ส าหรับการใช้เคลือบเพื่อการตกแต่งผลิตภัณฑ์สามารถสร้างสรรค์ได้ จากการสร้างสูตรเคลือบที่สวยงามแปลกตา เช่น เคลือบราน เคลือบแยกตัวออกจาก กัน เคลือบ ผลึก เคลือบไหล เป็นต้น ดังที่กล่าวไว้แล้วในส่วนที่ 2 เรื่องเคลือบเซรามิกส์ดังนั้นในการ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ด้วยเคลือบจึงกล่าวถึงวิธีการหรือเทคนิค วิธีการน าเคลือบมาเคลือบผิว ผลิตภัณฑ์ให้สวยงามแปลกตา หรือการใช้วัสดุอื่นมาใช้ร่วมกับการเคลือบเ
  • 4. • 1.1 การตกแต่งด้วยการเคลือบ ได้แก่การผสมผสานวิธีการเคลือบทั้ง 4วิธีคือการจุ่ม การพ่น การเทราด และการทาเคลือบมาใช้ตกแต่งผลิตภัณฑ์ สามารถออกแบบการตกแต่ง ด้วย เคลือบได้หลากหลาย เช่นการชุบเคลือบผลิตภัณฑ์ด้วยเคลือบสีตามปกติ หลังจากนั้นใช้ฟองน้า ชุบน้าเคลือบสีอื่นมาหยดใส่ตามจุดที่ต้องการ หรืออาจใช้เครื่องมือชนิดอื่น แทน ฟองน้า เป็นเครื่องมือที่สามารถบรรจุเคลือบได้ปริมาณเพียงพอที่จะใช้งาน และสามารถควบคุม ปริมาณและทิศทางการไหลของเคลือบได้ เช่น หลอดฉี ดยา ขวดพลาสติก ช้อน เป็นต้น นอกจากการหยดหรือราดเคลือบแล้ว อาจใช้วิธีการเขียนเคลือบด้วยพู่กัน หรือใช้การพ่นเคลือบสีอื่นลงบนพื้นผิวของเคลือบพื้นสีต่างกันโดย การพ่นเคลือบอาจใช้ได้ ทั้งหัวพ่นเคลือบ ที่ฉีดพ่นน้า (สาหรับรีดผ้า) รวมทั้งการใช้แปรงจุ่ม เคลือบมาดีดหรือสลัดลงบนผิวเคลือบ • 1.2 การตกแต่งด้วยเศษแก้ว แก้วที่ใช้ในชีวิตประจ าวันโดยเฉพาะขวดแก้วที่มีสี น้ าตาล (สีชา) และขวดแก้วสีเขียว เป็นแก้วชนิดโซดาไลม์ (soda lime glass)ผลิต จากทรายที่ให้ซิลิกาแต่มีจุดหลอมที่อุณหภูมิ 1,710องศาเซลเซียส จึงน ามาผสมกับหินปูนที่ให้แคลเซียมหรือ ไลม์ โซดาแอซที่ให้โซเดียมหรือโซดา และออกไซด์ให้สีมีสมบัติเป็น ตัวช่วยลดอุณหภูมิน าไป หลอมที่อุณหภูมิประมาณ 1,100องศาเซลเซียสและขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ดังนั้นหากน าเศษแก้ว มาบดละเอียด ผสมน้ า สามารถใช้เป็นเคลือบได้ รวมทั้งเมื่อน าเศษแก้วบดหยาบวางบน ผลิตภัณฑ์ที่ชุบเคลือบไว้แล้ว เมื่อเผาเคลือบที่อุณหภูมิสูงกว่าอุณหภูมิการหลอมของเศษแก้ว (ตั้งแต่ 550–1,450องศาเซลเซียส ตาม อัตราส่วนผสมของแก้ว เศษแก้วก็จะหลอมตัวและเกาะติด ผิวเคลือบและผลิตภัณฑ์ • ข้อควรระวังของการใช้เศษแก้วตกแต่งผลิตภัณฑ์คือควรใช้เศษแก้วในพื้นที่ปิด เช่น เป็นแอ่ง เป็นหลุม ภายในผลิตภัณฑ์ เพื่อไม่ให้เศษแก้วหลอมตัวและไหลลงพื้นได้ นอกจากนี้ การใช้เศษแก้วมากจะท าให้เกิดการดึงตัวท าให้ผลิตภัณฑ์แตกได้
  • 5. • 1.3 การตกแต่งด้วยขี้ผึ้ง ได้แก่การใช้วัตถุดิบกันน้ าประเภทขี้ผึ้ง (wax) เทียนหรือ น้ามัน ปิดบังผิวผลิตภัณฑ์ในบริเวณที่ไม่ต้องการให้เคลือบติด (wax resist) เหมือน การท าผ้า บาติกที่ใช้น้ าเทียนเขียนลายลงบนผ้าขาวก่อนน าผ้าไปชุบสีหรือเขียนสีในงานเซรามิกส์มีขี้ผึ้ง หรือแว๊กซ์ที่พร้อมใช้งานจาหน่าย และที่นิยมใช้กันทั่วไปคือใช้ทาบริเวณขา หรือ ก้นผลิตภัณฑ์เพื่อป้องกันไม่ให้เคลือบติดขณะชุบเคลือบ โดยไม่ต้องเช็ดเคลือบ • 1.4 การตกแต่งด้วยการหยดเคลือบ ได้แก่การใช้เคลือบสีเขียนลวดลายเป็นเส้นหรือ เป็นจุดลงบนผลิตภัณฑ์ที่เคลือบผิวไว้แล้ว ซึ่งเคลือบสีที่น ามาหยดนี้ภายหลังการเผาเคลือบ จะต้องหลอมจนเกิดความมันวาว ยังคงรักษารูปทรงและลวดลายไว้ได้ไม่ไหลตัวหลอมไปกับ เคลือบพื้น และยังมีพื้นผิวที่นูนเล็กน้อย เทคนิคการตกแต่งด้วยการหยดเคลือบนี้เป็น ที่นิยมอย่าง มากในปัจจุบันที่ประเทศตุรก 2. การใช้สีใต้เคลือบ การตกแต่งผลิตภัณฑ์ด้วยการใช้สีใต้เคลือบ (under glaze color) เป็นวิธีการตกแต่ง ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ที่มีวิวัฒนาการต่อเนื่องจากการคิดค้นสีส าหรับเขียนผลิตภัณฑ์ ได้ และเมื่อ น าไปเผาแล้วสียังคงอิทธิพลอยู่ โดยในสมัยแรกเป็นการใช้สีจากดินแดงหรือดินเหนียว เช่น การเขียนลายของเครื่องปั้นดินเผาจากแหล่งบ้านเชียง ต าบลบ้านเชียง อ าเภอห นองหาน จังหวัด อุดรธานี ที่ได้กล่าวถึงไว้ในเรื่องการตกแต่งด้วยดินสีในบทที่ 8 ส าหรับสีใต้เคลือบมีหลักฐานว่า ในคริสต์ศตวรรษที่ 9 ในตะวันออกกลางมีการขุดค้นพบแร่โคบอลต์ (cobalt) ในบริเวณ ภาคกลางของประเทศอิหร่าน (Iran) และน าไปใช้เขียนบนผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ได้สีน้ าเงิน (ภาพ ที่ 9.10) เรียกผลิตภัณฑ์ที่มีลวดลายสีน้ าเงินบนพื้นสีขาวว่า “ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์สีฟ้า-ขาว (blue and white ware)” หรือที่ประเทศไทยรู้จักกันอย่างแพร่หลายในชื่อ “เครื่องลายคราม”
  • 6. • เมื่อมีการคิดค้นสีอื่น ๆ ได้นอกจากสีน้าเงินจากโคบอลต์จึงเริ่มมีการน ามาใช้ในงาน เขียนสีผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ซึ่งไม่พบหลักฐานปรากฏว่ามีการนาสีอื่น ๆ เช่นสีเขียว สีม่วง สี แดง มาใช้ในการเขียนสีใต้เคลือบเมื่อใด แต่มีหลักฐานการใช้ออกไซด์ของโลหะผสมในเคลือบเพื่อ ทาเคลือบสีเช่นเคลือบสีน้าตาลจากออกไซด์ของเหล็ก (ferric oxide) เคลือบสีเขียวอมฟ้าจาก ออกไซด์ของทองแดง (copper oxide) เป็นต้น แต่ไม่ว่าสีใต้เคลือบจะมีต้นก าเนิดหรือมี วิวัฒนาการมาเช่นไร การนาสีใต้เคลือบสีต่าง ๆ มา ใช้มีความแพร่หลายและได้รับความนิยมมา ตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที่ 16 (ค.ศ. 1500 หรือ พ.ศ. 2043) เป็นต้นมา โดยผลิตภัณฑ์ที่ตกแต่ง ด้วยสีใต้เคลือบที่มีเอกลักษณ์โดด เด่นเฉพาะตัวตั้งแต่อดีตมีหลายแหล่งจากหลายประเทศดัง ตัวอย่างต่อไปนี้ • 2.1 ผลิตภัณฑ์อิซนิค (Iznik pottery) • 2.2 ผลิตภัณฑ์เซรามิกส์เขียนสีใต้เคลือบที่มีเอกลักษณ์และมีชื่อเสียงของประเทศ อิตาลี ที่มีชื่อว่า “ไมยอลิกา (Maiolica)” หรือในภาษาอังกฤษเรียกว่า “มาโจลิกา (Majolica)” • 2.3 ผลิตภัณฑ์เขียนสีใต้เคลือบที่มีชื่อเสียงและเป็นเอกลักษณ์ของประเทศ เนเธอร์แลนด์(Netherlands) • 2.4 กระเบื้องเซรามิกส์ของโปรตุเกส ในภาษาโปรตุเกสเรียกกระเบื้อง (tile) ว่า “อะซูเลโฮว์ (azulejos)” • 2.5 เครื่องลายครามของประเทศไทย
  • 7. ในปัจจุบันการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบด้วยสีใต้เคลือบยังคงใช้วิธีการเช่นเดิม คือการเขียนด้วยพู่กัน การประทับลาย การพิมพ์ลาย การลอกลาย และการใช้รูปลอก แต่มี การ พัฒนาแต่ละวิธีให้สะดวกรวดเร็วและมีคุณภาพเพิ่มมากขึ้นดังต่อไปนี้ 1) การเขียนสีใต้เคลือบบนผลิตภัณฑ์เผาดิบ สามารถใช้ได้ทั้งพู่กันเขียนสีและ การพ่นสีโดยปากกาพ่นสี การใช้พู่กันเขียนสีจะต้องผสมสีให้มีความเข้มข้นหรือความหนาแน่น ตาม ความต้องการ สีสามารถไล่น้ าหนักอ่อน-แก่ได้แต่ถ้าสีหนาเกินไป สีอาจไม่สุกตัวและร่อน หลุดได้ขณะเผา หรืออาจเกิดการเดือดเป็นฟองได้ ถ้าสีอ่อนเกินไป 2) 2) การลอกลาย หมายถึงการน าลวดลายที่ได้เตรียมไว้น าไปท าให้ปรากฏลงบนผิว ผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการเผาดิบแล้ว และสามารถท าลวดลายซ้ ากันได้หลายครั้ง ซึ่งการลอกลาย เป็น วิธีการตกแต่งที่ใช้ในวงการอื่นทั่ว ๆ ไป ไม่เฉพาะเจาะจงส าหรับการผลิตเซรามิกส์เพียงแต่สีที่ ใช้ส าหรับการลอกลายส าหรับงานเซรามิกส์จะใช้สีใต้เคลือบ วิธีการลอกลายมี หลายวิธีที่ใช้ เครื่องมือแตกต่างกัน เช่น การประทับลาย การพิมพ์ลายด้วยกระดาษพิมพ์ลาย และการพิมพ์ลาย ด้วยกระดาษลอกลาย เป็นต้น 3) (3) การใช้กระดาษลอกลาย (carbon copy) เป็นวิธีการตกแต่งที่แตกต่างจาก การใช้กระดาษพิมพ์ลายที่ผู้ใช้กระดาษลอกลายจะต้องวาดหรือเขียนลวดลายเองลงบน กระดาษ ลอกลาย เพื่อกดให้สีใต้เคลือบที่ติดอยู่บนกระดาษลงไปติดบนผิวผลิตภัณฑ์ซึ่ง กระดาษลอกลายที่มีการผลิตขายมีสีใต้เคลือบให้เลือกได้หลายสีได้แก่ สีดา สีเขียว สีน้ าตาล และสีน้าเงิน เป็นต้น
  • 8. การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบ • ภายหลังการเผาเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจ าวันส่วนมาก เช่นเครื่องโต๊ะอาหาร เครื่องสุขภัณฑ์ ของช าร่วย ของที่ระลึก และเครื่องประดับ เป็นต้น มักจะมี การเคลือบ ผิวด้วยสีสันต่าง ๆ ช่วยให้ผลิตภัณฑ์แข็งแรงและมีผิวมันแวววาวพร้อมใช้งานได้ แต่ ส าหรับผลิตภัณฑ์บางชนิดมีความต้องการการตกแต่งเพิ่มเติมภายหลังการเผาเคลือบ โดย ผลิตภัณฑ์ที่มี ชื่อเสียงเป็นเอกลักษณ์ของไทยที่ตกแต่งหลังเผาเคลือบได้แก่เครื่องเบญจรงค์และ ลายน้ าทอง ที่ตกแต่งโดยวิธีการเขียนสี เขียนลายบนผิวเคลือบด้วยสีบนเคลือบ นอกจากนี้ เครื่องโต๊ะอาหาร ของไทยที่มีเนื้อดินชนิดพอร์ซเลนและโบนไชนาก็มีการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลัง การเผาเคลือบด้วยรูปลอกสีบนเคลือบท าให้เกิดลวดลาย สีสันสวยงาม ซึ่งการตกแต่งผลิตภัณฑ์ หลังเผาเคลือบ ดังกล่าวมีดังต่อไปนี้ • 1. การเขียนสีบนเคลือบ • 2. การใช้รูปลอกสีบนเคลือบ สรุป การตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาแบ่งได้เป็น 2ระยะคือการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังการเผา ดิบ ผลิตภัณฑ์ที่น ามาตกแต่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีความแข็งแรง ไม่ละลายน้า แต่ สามารถดูดซึมน้า ได้ และยังไม่ใช่ผลิตภัณฑ์ที่พร้อมส าหรับการนาไปใช้งาน ต้องมีการเคลือบผิวและเผาเคลือบอีก ครั้งหนึ่ง ดังนั้นการตกแต่งผลิตภัณฑ์ในระยะนี้มักจะตกแต่ง ลวดลายบนพื้นผิว ไม่ท าลายพื้นผิว ดังเช่นการแกะ การฉลุ ในขั้นตอนการตกแต่งผลิตภัณฑ์ก่อนเผาและการตกแต่งลวดลายบน พื้นผิวผลิตภัณฑ์หลังเผาดิบมักจะใช้ตกแต่งด้วย เคลือบร่วมกัน ซึ่งการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผา ดิบได้แก่การใช้สีใต้เคลือบในการตกแต่งลวดลายด้วยการเขียนลาย พิมพ์ลาย ลอกลาย และ ประทับลาย และเคลือบผิวด้วยเคลือบ ใสเพื่อให้เห็นลวดลายนั้น ๆ ส่วนการตกแต่งผลิตภัณฑ์ หลังเผาอีกระยะหนึ่งคือการตกแต่งผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบ ผลิตภัณฑ์ที่น ามาใช้ตกแต่งเป็น ผลิตภัณฑ์ที่พร้อมใช้งาน เพราะมีความแข็งแกร่ง ทนทาน มีการเคลือบผิวมันแวววาว การตกแต่ง ผลิตภัณฑ์หลังเผาเคลือบที่พบได้ทั่วไปคือเครื่องเบญจรงค์ที่ใช้การเขียนสีบนเคลือบ และถ้วย จานชามที่มี ลายดอกไม้หรือของที่ระลึกที่มีตราสัญลักษณ์ของบริษัทที่ใช้รูปลอกสีบนเคลือบ