SlideShare a Scribd company logo
ชื่อโครงงาน เรื่อง การเลี้ยงปลาแรด นาย ธนากร หลองข้าว เลขที่ 3 ชั้น ม.6/3 เสนอ อาจารย์ คเชนทร์  กองพิลา
สถานที่เลี้ยงปลาแรดที่นิยมมี 2 ลักษณะคือ  1. การเลี้ยงในบ่อดิน  2. การเลี้ยงในกระชัง  1. การเลี้ยงปลาแรดในบ่อดิน อัตราการปล่อย 1 ตัว/ตารางเมตร ขนาดบ่อ ที่ใช้เลี้ยง 1-5 ไร่ จะใช้เวลาเลี้ยง 1 ปี ปลาจะมีน้ำหนัก 1 กก. การเลี้ยงปลาแรดในบ่อ จะปล่อยปลาแรดลงเลี้ยงรวมกับปลากินพืชอื่น ๆ ในบ่อที่มีพืชน้ำหรือวัชพืชขึ้นเพื่อให้ ปลาแรดกินและเป็นการทำความสะอาดบ่อไปในตัว  ปลาแรดชอบกินพืชน้ำ ไข่น้ำ แหน ผักพังพวย ผักบุ้ง เศษอาหารที่เหลือจาก โรงครัว แมลงในน้ำ ตัวหนอน ไส้เดือน และปลวกเป็นอาหาร  การเลี้ยงปลาแรดเพื่อความสวยงาม นิยมเลี้ยงปลาแรดในบ่อดิน บ่อซีเมนต์ หรือตู้กระจกที่ไม่กว้างนัก เพราะปลาแรดสามารถปรับตัวให้มีชีวิตอยู่ในที่แคบได้ แต่มีอัตราการเจริญเติบโตค่อนข้างช้า นอกจากการเลี้ยงในดินแล้ว ยังนิยมเลี้ยงในกระชัง เช่น ที่แม่น้ำสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี
2. การเลี้ยงปลาแรดในกระชัง การเลี้ยงปลาแรดในกระชังได้รับความนิยมมากขึ้นโดยการเปลี่ยนจากกระชังไม้มาเป็นกระชังเนื้ออวน เหมาะสมกับภาวะปัจจุบันซึ่ง ขาดแคลนไม้ในการสร้างกระชัง ดังนั้นการเตรียมสถานที่เลี้ยงปลาในกระชังจะต้องสร้าง แพพร้อมทั้งมุงหลังคากันแดด แพที่สร้างใช้ไม้ไผ่มัดรวมกัน และเว้นที่ตรงกลางให้เป็นช่องสี่เหลี่ยมเพื่อนำกระชังตาข่ายไปผูก กระชังตาข่ายกว้าง 3 วา ยาว 6 วา ลึก 1.8 เมตร กระชังขนาดดังกล่าวสามารถเลี้ยงปลาแรดขนาด 3 นิ้ว ได้ 3,000 ตัว  การลงทุนสร้างแพ 1 หลัง และซื้อตาข่ายทำกระชัง 3 กระชัง เป็นเงิน 30,000 บาท
โครงสร้างกระชังที่ใช้เลี้ยงปลา ประกอบด้วย  1. โครงร่างกระชัง ส่วนมากเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าอาจทำด้วยไม้ไผ่ ไม้ท่อเหล็กชุบหรือท่อน้ำ พี.วี .ซี  2. ตัวกระชัง เป็นส่วนที่รองรับและกักกันสัตว์น้ำให้อยู่ในพื้นที่จำกัด วัสดุที่ใช้ ได้แก่ เนื้ออวนจำพวกไนลอน โพลีเอทีลินหรือวัสคุจำพวกไม้ไผ่ ไม้เนื้ออ่อน ไม้เนื้อแข็ง
3. ทุ่นลอย เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยพยุงให้กระชังสามารถลอยน้ำอยู่ได้ สามารถ รับน้ำหนักของตัวกระชัง สัตว์น้ำที่เลี้ยงและเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาที่ลงไปปฎิบัติงานบนกระชัง  สำหรับอายุการใช้งานนั้น ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ดังนี้  - กระชังไม้ไผ่ จะมีอายุการใช้งาน 1-2 ปี  - กระชังไม้เนื้อแข็งจะมีอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า 5 ปี  - กระชังอวน จะมีอายุการใช้งานประมาณ 3-4 ปี  บริเวณที่เหมาะสมแก่การวางกระชังนั้น จำเป็นต้องตั้งอยู่ในบริเวณที่มีสภาพดี น้ำมีคุณสมบัติเหมาะสมในการเลี้ยงปลา ห่างไกลจากแหล่งระบายน้ำเสียหรือน้ำทิ้งจาก โรงงานอุตสาหกรรม และแหล่งน้ำนั้นไม่ควรมีปัญหาการเกิดโรคปลา
อ้างอิง www.doas.go.th

More Related Content

Similar to เลี้ยงปลาแรด

Kc4104041
Kc4104041Kc4104041
การเลี้ยงสุกรขุน4
การเลี้ยงสุกรขุน4การเลี้ยงสุกรขุน4
การเลี้ยงสุกรขุน4
somkiat35140
 
การเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลาการเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลา
ศิริวรรณ ปัดภัย
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัด
Anuphong Sewrirut
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
เรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอเรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอ
cherdpr1
 
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
Vorawut Wongumpornpinit
 
ข้อสอบปลายภาค วิทย์ป.6
ข้อสอบปลายภาค  วิทย์ป.6ข้อสอบปลายภาค  วิทย์ป.6
ข้อสอบปลายภาค วิทย์ป.6phonphan Datpum
 
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมthkitiya
 
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับคุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
Wichai Likitponrak
 

Similar to เลี้ยงปลาแรด (20)

Kc4104041
Kc4104041Kc4104041
Kc4104041
 
การเลี้ยงสุกรขุน4
การเลี้ยงสุกรขุน4การเลี้ยงสุกรขุน4
การเลี้ยงสุกรขุน4
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
การเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลาการเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลา
 
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำเกษตรอินทรีย์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
ชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 3 ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอเรื่องราวของปลาเสือตอ
เรื่องราวของปลาเสือตอ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
 
ข้อสอบปลายภาค วิทย์ป.6
ข้อสอบปลายภาค  วิทย์ป.6ข้อสอบปลายภาค  วิทย์ป.6
ข้อสอบปลายภาค วิทย์ป.6
 
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนมลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
ลักษณะอาหารพื้นบ้านจังหวัดนครพนม
 
งานพี่มอส
งานพี่มอสงานพี่มอส
งานพี่มอส
 
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับคุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
คุณหนู ๆ มารู้จักอาชีพชาวนากันครับ
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
Onet science
Onet scienceOnet science
Onet science
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

เลี้ยงปลาแรด

  • 1. ชื่อโครงงาน เรื่อง การเลี้ยงปลาแรด นาย ธนากร หลองข้าว เลขที่ 3 ชั้น ม.6/3 เสนอ อาจารย์ คเชนทร์ กองพิลา
  • 2. สถานที่เลี้ยงปลาแรดที่นิยมมี 2 ลักษณะคือ 1. การเลี้ยงในบ่อดิน 2. การเลี้ยงในกระชัง 1. การเลี้ยงปลาแรดในบ่อดิน อัตราการปล่อย 1 ตัว/ตารางเมตร ขนาดบ่อ ที่ใช้เลี้ยง 1-5 ไร่ จะใช้เวลาเลี้ยง 1 ปี ปลาจะมีน้ำหนัก 1 กก. การเลี้ยงปลาแรดในบ่อ จะปล่อยปลาแรดลงเลี้ยงรวมกับปลากินพืชอื่น ๆ ในบ่อที่มีพืชน้ำหรือวัชพืชขึ้นเพื่อให้ ปลาแรดกินและเป็นการทำความสะอาดบ่อไปในตัว ปลาแรดชอบกินพืชน้ำ ไข่น้ำ แหน ผักพังพวย ผักบุ้ง เศษอาหารที่เหลือจาก โรงครัว แมลงในน้ำ ตัวหนอน ไส้เดือน และปลวกเป็นอาหาร การเลี้ยงปลาแรดเพื่อความสวยงาม นิยมเลี้ยงปลาแรดในบ่อดิน บ่อซีเมนต์ หรือตู้กระจกที่ไม่กว้างนัก เพราะปลาแรดสามารถปรับตัวให้มีชีวิตอยู่ในที่แคบได้ แต่มีอัตราการเจริญเติบโตค่อนข้างช้า นอกจากการเลี้ยงในดินแล้ว ยังนิยมเลี้ยงในกระชัง เช่น ที่แม่น้ำสะแกกรัง จังหวัดอุทัยธานี
  • 3. 2. การเลี้ยงปลาแรดในกระชัง การเลี้ยงปลาแรดในกระชังได้รับความนิยมมากขึ้นโดยการเปลี่ยนจากกระชังไม้มาเป็นกระชังเนื้ออวน เหมาะสมกับภาวะปัจจุบันซึ่ง ขาดแคลนไม้ในการสร้างกระชัง ดังนั้นการเตรียมสถานที่เลี้ยงปลาในกระชังจะต้องสร้าง แพพร้อมทั้งมุงหลังคากันแดด แพที่สร้างใช้ไม้ไผ่มัดรวมกัน และเว้นที่ตรงกลางให้เป็นช่องสี่เหลี่ยมเพื่อนำกระชังตาข่ายไปผูก กระชังตาข่ายกว้าง 3 วา ยาว 6 วา ลึก 1.8 เมตร กระชังขนาดดังกล่าวสามารถเลี้ยงปลาแรดขนาด 3 นิ้ว ได้ 3,000 ตัว การลงทุนสร้างแพ 1 หลัง และซื้อตาข่ายทำกระชัง 3 กระชัง เป็นเงิน 30,000 บาท
  • 4. โครงสร้างกระชังที่ใช้เลี้ยงปลา ประกอบด้วย 1. โครงร่างกระชัง ส่วนมากเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าอาจทำด้วยไม้ไผ่ ไม้ท่อเหล็กชุบหรือท่อน้ำ พี.วี .ซี 2. ตัวกระชัง เป็นส่วนที่รองรับและกักกันสัตว์น้ำให้อยู่ในพื้นที่จำกัด วัสดุที่ใช้ ได้แก่ เนื้ออวนจำพวกไนลอน โพลีเอทีลินหรือวัสคุจำพวกไม้ไผ่ ไม้เนื้ออ่อน ไม้เนื้อแข็ง
  • 5. 3. ทุ่นลอย เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยพยุงให้กระชังสามารถลอยน้ำอยู่ได้ สามารถ รับน้ำหนักของตัวกระชัง สัตว์น้ำที่เลี้ยงและเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาที่ลงไปปฎิบัติงานบนกระชัง สำหรับอายุการใช้งานนั้น ขึ้นอยู่กับวัสดุที่ใช้ดังนี้ - กระชังไม้ไผ่ จะมีอายุการใช้งาน 1-2 ปี - กระชังไม้เนื้อแข็งจะมีอายุการใช้งานไม่น้อยกว่า 5 ปี - กระชังอวน จะมีอายุการใช้งานประมาณ 3-4 ปี บริเวณที่เหมาะสมแก่การวางกระชังนั้น จำเป็นต้องตั้งอยู่ในบริเวณที่มีสภาพดี น้ำมีคุณสมบัติเหมาะสมในการเลี้ยงปลา ห่างไกลจากแหล่งระบายน้ำเสียหรือน้ำทิ้งจาก โรงงานอุตสาหกรรม และแหล่งน้ำนั้นไม่ควรมีปัญหาการเกิดโรคปลา