SlideShare a Scribd company logo
LOGO




                  กระบวนการยุตธรรมเชิงสมานฉันท์ :
                               ิ
                  การประชุมกลุ่มครอบครัวและชุมชน


โดย..สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดชัยภูมิ
ความหมาย

                     กระบวนการยุตธรรมเชิงสมานฉันท์
                                 ิ
                                      หมายถึง
             ‚การอานวยความยติธรรมทีต้องการทาให้ ทุกฝ่ าย
                                    ุ        ่
              ซึ่งได้ รับผลกระทบจากอาชญากรรมได้ กลับคืน
                      สู่ สภาพดีเช่ นเดิม อันเป็ นการสร้ าง
                           ‘ความสมานฉันท์ ในสังคม’
                             เป็ นเป้ าหมายสุดท้ าย‛

www.djop.moj.go.th
                                                              LOGO
กฎหมายที่เกียวข้ อง
                                           ่
พระราชบัญญัตจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพจารณาคดีเยาวชนและ
              ิ                                ิ
ครอบครัว พ.ศ. 2534
มาตรา 63 ในกรณีทเี่ ด็กหรือเยาวชนต้ องหาว่ ากระทาความผิด เมือผู้อานวยการสถานพินิจพิจารณา
                                                            ่
โดยคานึงถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุ ขภาพ ภาวะแห่ งจิต นิสัย อาชีพ
ฐานะ ตลอดจนสิ่ งแวดล้ อมเกียวกับเด็กหรือเยาวชนและพฤติการณ์ต่าง ๆ แห่ งคดีแล้ วเห็นว่ า
                               ่
เด็กหรือเยาวชนอาจกลับตนเป็ นคนดีได้ โดยไม่ ต้องฟ้ อง และเด็กหรือเยาวชนนั้น
ยินยอมทีจะอยู่ในความควบคุมของสถานพินิจด้ วยแล้ ว ให้ ผ้ ูอานวยการสถานพินิจ
              ่
แจ้ งความเห็นไปยังพนักงานอัยการ ถ้ าพนักงานอัยการเห็นชอบด้ วย ให้ มอานาจ
                                                                       ี
สั่ งไม่ ฟ้องเด็กหรือเยาวชนนั้นได้ คาสั่ งไม่ ฟ้องของพนักงานอัยการนั้น
ให้ เป็ นทีสุด
            ่
      การควบคุมเด็กหรือเยาวชนในสถานพินิจตามวรรคหนึ่ง ให้ มกาหนดเวลา
                                                                 ี
ตามทีผู้อานวยการ สถานพินิจเห็นสมควร แต่ ต้องไม่ เกิน 2 ปี
         ่
      บทบัญญัติมาตรานีมให้ ใช้ บงคับแก่ การกระทาความผิดอาญาที่มอตราโทษ
                         ้ ิ     ั                                 ีั
อย่ างสู งตามทีกฎหมายกาหนดไว้ ให้ จาคุกเกินกว่ า 5 ปี ขึนไป
                 ่                                        ้

www.djop.moj.go.th
                                                                                 LOGO
หลักการและเหตุผล
• การประชุ มกลุ่มครอบครั วและชุ มชน เป็ นมาตรการเสริ มกับกระบวนการ
ยุติธรรมสาหรับเด็ก โดยเฉพาะเด็กที่ไม่ ได้ ทาความผิดร้ ายแรง และควรได้ รับ
โอกาส โดยให้ ก ารเยีย วยาความเสี ย หาย ด้ ว ยกระบวนการทางเลือ กแทน
กระบวนการยุติธรรมปกติ
• เป็ นการให้ โอกาสเด็กได้ กลับตัว แก้ ไขความเสี ยหายที่เกิดจากการกระทา
ของตนโดยไม่ ต้องมีตราบาปติดตัว อันจะเป็ นผลร้ ายต่ ออนาคตของเด็ก
• เด็กต้ องรั บสารภาพด้ วยความสมัครใจ และแสดงความรั บผิดชอบต่ อการ
กระทาผิดของตน
• เด็กได้ รับรู้ผลกระทบต่ อเนื่องและความเจ็บปวดทีผู้เสี ยหาย และบิดามารดา
                                                  ่
ได้ รับจากการกระทาของตน
www.djop.moj.go.th
                                                                LOGO
หลักการและเหตุผล
• เด็กต้ องพยายามแก้ไขผลร้ ายจากการกระทาของตนที่เกิดกับผู้เสี ยหาย บิดา
มารดา หรือผู้อนื่
• ครอบครัวและชุ มชนต้ องเข้ ามามีส่วนร่ วมรับผิดชอบกับการกระทาของเด็ก
• ผู้เสี ยหายจะต้ องมีส่วนในการให้ ข้อมูลความทุกข์ หรือความเสี ยหายที่ได้ รับ
และพูดคุยกับเด็กผู้ต้องหา
• การขอโทษอย่ างจริ งใจโดยเด็กที่กระทาผิดต่ อผู้เสี ยหายเป็ นปั จจัยสาคัญ
ในความสาเร็จ
• อาจให้ มีการชดใช้ ความเสี ยหายเป็ นทรั พย์ หรื อโดยการทางานชดใช้ หรื อ
กระทาการอืนแก่ผู้เสี ยหายตามความเหมาะสม หรือทางานบริการสั งคมที่เป็ น
             ่
ประโยชน์ อย่ างแท้ จริง
www.djop.moj.go.th
                                                                    LOGO
หลักการและเหตุผล

• ครอบครั วและชุ มชนเป็ นผู้ป ระชุ มกาหนดโทษและมาตรการที่จะแก้ ไ ข
เยียวยาเด็กนั้นเอง (ภายใต้ หลักการที่ว่า ไม่ มีใครหวังดีต่อเด็กเกินกว่ าพ่ อแม่
หรือครอบครัวของเด็กเอง) โดยได้ รับความเห็นชอบจากทุกฝ่ าย
• เด็ กรู้ สึกว่ า ถู กลงโทษโดยพ่ อแม่ และคนที่ร้ ู จักเขามาตั้ งแต่ เกิด ไม่ ใช่ โดย
คนแปลกหน้ า
• โทษที่ลงต้ องไม่ ทาลายชี วิตปกติและพัฒนาการของเด็ก และต้ องเป็ นไป
เพือให้ เด็กกลับตนเป็ นคนดี และอยู่ได้ อย่ างปกติในครอบครัว
   ่
• ข้ อตกลงในการลงโทษเด็กที่ครอบครัวกาหนด ต้ องทาเป็ นหนังสื อและเด็กที่
กระทาผิดกับครอบครัวต้ องปฏิบัติตามนั้น

www.djop.moj.go.th
                                                                           LOGO
หลักการและเหตุผล
• หากเด็กปฏิบัติได้ ครบถ้ วนตามข้ อตกลง ก็จะไม่ ถูกดาเนินคดีต่อไป และถือ
เสมือนว่ าเด็กไม่ เคยกระทาความผิดมาก่อน
• หากเด็ ก ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามข้ อ ตกลงให้ ค รบถ้ ว น เด็ ก จะถู ก ด าเนิ น คดี ใ นศาล
เยาวชนฯ ต่ อไป




www.djop.moj.go.th
                                                                            LOGO
ตัวอย่ างคดีทมอตราโทษจาคุกไม่ เกิน 5 ปี : จัดประชุมกลุ่มครอบครัวและชุมชนได้
             ี่ ี ั

                                             เมาแล้วขับ




                    ลักทรัพย์      การพนัน
                 (ตามหลักเกณฑ์ )


                                               ทาร้ ายร่ างกาย
                                                (ไม่ สาหัส)


www.djop.moj.go.th
                                                                  LOGO
ตัวอย่ างการใช้ การประชุมกลุ่มครอบครัวและชุมชน
      ...กรณีเด็กชายปอขโมยขนมในร้ านเจ้ เล้ง ถ้ าเป็ นไปตามกระบวนการ
ยุติธรรมปกติ เด็กชายดังกล่าวก็คงถูกศาลพิพากษาให้ ไปอยู่ในสถานพินิจ
ซึ่งจะทาให้ เด็กต้ องมีมลทิน มีตราบาป เพราะถือว่ าไปเข้ าคุกเด็ก
      แต่ เมื่อนากระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ มาใช้ โดยใช้ วธีการประชุ ม
                                                                 ิ
กลุ่มครอบครัว มีการเรียกผู้เสี ยหาย ผู้กระทาผิด ผู้ปกครองมาร่ วมประชุ ม
ตามวิธีการ
      ซึ่งปรากฏว่ าคดีดงกล่าวก็สามารถยุตได้ โดยใช้ มาตรา 63
                        ั                   ิ
ใน พ.ร.บ.จัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว โดยมีการกาหนด
เงื่อนไขให้ เด็กต้ องดาเนินการ และผู้เสี ยหาย ซึ่งคือ เจ้ เล้ง
ก็พอใจทีเ่ ด็กจะต้ องถูกปรับเปลียนพฤติกรรม
                                  ่
มีการติดตามความประพฤติเพือไม่ ให้ ทาผิดอีก
                                ่

www.djop.moj.go.th
                                                                  LOGO
LOGO
บทบาทของกรรมการสงเคราะห์ และเครือข่ าย


                                                          3

                                         2          แจ้ งสถานพินิจ
                     1
                                  ติดตาม ควบคุม       เมื่อพบเด็ก
             เป็ นผู้เข้ าร่ วม        ดูแลเด็ก         ไม่ ปฏิบัติ
              ประชุมกลุ่ม          ให้ ปฏิบัติตาม    ตามเงื่อนไข
               ครอบครัว              ข้ อกาหนด
               และชุมชน
www.djop.moj.go.th
                                                                LOGO
LOGO




สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดชัยภูมิ

More Related Content

Similar to กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ สถานพินิจชัยภูมิ

ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กsasiwan_memee
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
สังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่นสังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่นapiromrut
 
Com final
Com finalCom final
Com final
jirawat thaporm
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Albert Sigum
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนThawankoRn Yenglam
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์กya035
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการaaesahasmat
 
พ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวกพ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวก
NavaponNoppakhun
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์shedah6381
 

Similar to กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ สถานพินิจชัยภูมิ (20)

บทบาทหน้าที่ของสถานพินิจฯ ชัยภูมิ
บทบาทหน้าที่ของสถานพินิจฯ ชัยภูมิบทบาทหน้าที่ของสถานพินิจฯ ชัยภูมิ
บทบาทหน้าที่ของสถานพินิจฯ ชัยภูมิ
 
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฎีพัฒนาการจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
สังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่นสังคมวัยรุ่น
สังคมวัยรุ่น
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Nattiya
NattiyaNattiya
Nattiya
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
บทบาทหน้าที่ของสถานพินิจฯ ชัยภูมิ
บทบาทหน้าที่ของสถานพินิจฯ ชัยภูมิบทบาทหน้าที่ของสถานพินิจฯ ชัยภูมิ
บทบาทหน้าที่ของสถานพินิจฯ ชัยภูมิ
 
Au01
Au01Au01
Au01
 
โคลเบิร์ก
โคลเบิร์กโคลเบิร์ก
โคลเบิร์ก
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
พ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวกพ่อแม่พลังบวก
พ่อแม่พลังบวก
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 
Lifebalance
LifebalanceLifebalance
Lifebalance
 

กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ สถานพินิจชัยภูมิ

  • 1. LOGO กระบวนการยุตธรรมเชิงสมานฉันท์ : ิ การประชุมกลุ่มครอบครัวและชุมชน โดย..สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดชัยภูมิ
  • 2. ความหมาย กระบวนการยุตธรรมเชิงสมานฉันท์ ิ หมายถึง ‚การอานวยความยติธรรมทีต้องการทาให้ ทุกฝ่ าย ุ ่ ซึ่งได้ รับผลกระทบจากอาชญากรรมได้ กลับคืน สู่ สภาพดีเช่ นเดิม อันเป็ นการสร้ าง ‘ความสมานฉันท์ ในสังคม’ เป็ นเป้ าหมายสุดท้ าย‛ www.djop.moj.go.th LOGO
  • 3. กฎหมายที่เกียวข้ อง ่ พระราชบัญญัตจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพจารณาคดีเยาวชนและ ิ ิ ครอบครัว พ.ศ. 2534 มาตรา 63 ในกรณีทเี่ ด็กหรือเยาวชนต้ องหาว่ ากระทาความผิด เมือผู้อานวยการสถานพินิจพิจารณา ่ โดยคานึงถึงอายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา การศึกษาอบรม สุ ขภาพ ภาวะแห่ งจิต นิสัย อาชีพ ฐานะ ตลอดจนสิ่ งแวดล้ อมเกียวกับเด็กหรือเยาวชนและพฤติการณ์ต่าง ๆ แห่ งคดีแล้ วเห็นว่ า ่ เด็กหรือเยาวชนอาจกลับตนเป็ นคนดีได้ โดยไม่ ต้องฟ้ อง และเด็กหรือเยาวชนนั้น ยินยอมทีจะอยู่ในความควบคุมของสถานพินิจด้ วยแล้ ว ให้ ผ้ ูอานวยการสถานพินิจ ่ แจ้ งความเห็นไปยังพนักงานอัยการ ถ้ าพนักงานอัยการเห็นชอบด้ วย ให้ มอานาจ ี สั่ งไม่ ฟ้องเด็กหรือเยาวชนนั้นได้ คาสั่ งไม่ ฟ้องของพนักงานอัยการนั้น ให้ เป็ นทีสุด ่ การควบคุมเด็กหรือเยาวชนในสถานพินิจตามวรรคหนึ่ง ให้ มกาหนดเวลา ี ตามทีผู้อานวยการ สถานพินิจเห็นสมควร แต่ ต้องไม่ เกิน 2 ปี ่ บทบัญญัติมาตรานีมให้ ใช้ บงคับแก่ การกระทาความผิดอาญาที่มอตราโทษ ้ ิ ั ีั อย่ างสู งตามทีกฎหมายกาหนดไว้ ให้ จาคุกเกินกว่ า 5 ปี ขึนไป ่ ้ www.djop.moj.go.th LOGO
  • 4. หลักการและเหตุผล • การประชุ มกลุ่มครอบครั วและชุ มชน เป็ นมาตรการเสริ มกับกระบวนการ ยุติธรรมสาหรับเด็ก โดยเฉพาะเด็กที่ไม่ ได้ ทาความผิดร้ ายแรง และควรได้ รับ โอกาส โดยให้ ก ารเยีย วยาความเสี ย หาย ด้ ว ยกระบวนการทางเลือ กแทน กระบวนการยุติธรรมปกติ • เป็ นการให้ โอกาสเด็กได้ กลับตัว แก้ ไขความเสี ยหายที่เกิดจากการกระทา ของตนโดยไม่ ต้องมีตราบาปติดตัว อันจะเป็ นผลร้ ายต่ ออนาคตของเด็ก • เด็กต้ องรั บสารภาพด้ วยความสมัครใจ และแสดงความรั บผิดชอบต่ อการ กระทาผิดของตน • เด็กได้ รับรู้ผลกระทบต่ อเนื่องและความเจ็บปวดทีผู้เสี ยหาย และบิดามารดา ่ ได้ รับจากการกระทาของตน www.djop.moj.go.th LOGO
  • 5. หลักการและเหตุผล • เด็กต้ องพยายามแก้ไขผลร้ ายจากการกระทาของตนที่เกิดกับผู้เสี ยหาย บิดา มารดา หรือผู้อนื่ • ครอบครัวและชุ มชนต้ องเข้ ามามีส่วนร่ วมรับผิดชอบกับการกระทาของเด็ก • ผู้เสี ยหายจะต้ องมีส่วนในการให้ ข้อมูลความทุกข์ หรือความเสี ยหายที่ได้ รับ และพูดคุยกับเด็กผู้ต้องหา • การขอโทษอย่ างจริ งใจโดยเด็กที่กระทาผิดต่ อผู้เสี ยหายเป็ นปั จจัยสาคัญ ในความสาเร็จ • อาจให้ มีการชดใช้ ความเสี ยหายเป็ นทรั พย์ หรื อโดยการทางานชดใช้ หรื อ กระทาการอืนแก่ผู้เสี ยหายตามความเหมาะสม หรือทางานบริการสั งคมที่เป็ น ่ ประโยชน์ อย่ างแท้ จริง www.djop.moj.go.th LOGO
  • 6. หลักการและเหตุผล • ครอบครั วและชุ มชนเป็ นผู้ป ระชุ มกาหนดโทษและมาตรการที่จะแก้ ไ ข เยียวยาเด็กนั้นเอง (ภายใต้ หลักการที่ว่า ไม่ มีใครหวังดีต่อเด็กเกินกว่ าพ่ อแม่ หรือครอบครัวของเด็กเอง) โดยได้ รับความเห็นชอบจากทุกฝ่ าย • เด็ กรู้ สึกว่ า ถู กลงโทษโดยพ่ อแม่ และคนที่ร้ ู จักเขามาตั้ งแต่ เกิด ไม่ ใช่ โดย คนแปลกหน้ า • โทษที่ลงต้ องไม่ ทาลายชี วิตปกติและพัฒนาการของเด็ก และต้ องเป็ นไป เพือให้ เด็กกลับตนเป็ นคนดี และอยู่ได้ อย่ างปกติในครอบครัว ่ • ข้ อตกลงในการลงโทษเด็กที่ครอบครัวกาหนด ต้ องทาเป็ นหนังสื อและเด็กที่ กระทาผิดกับครอบครัวต้ องปฏิบัติตามนั้น www.djop.moj.go.th LOGO
  • 7. หลักการและเหตุผล • หากเด็กปฏิบัติได้ ครบถ้ วนตามข้ อตกลง ก็จะไม่ ถูกดาเนินคดีต่อไป และถือ เสมือนว่ าเด็กไม่ เคยกระทาความผิดมาก่อน • หากเด็ ก ไม่ ป ฏิ บั ติ ต ามข้ อ ตกลงให้ ค รบถ้ ว น เด็ ก จะถู ก ด าเนิ น คดี ใ นศาล เยาวชนฯ ต่ อไป www.djop.moj.go.th LOGO
  • 8. ตัวอย่ างคดีทมอตราโทษจาคุกไม่ เกิน 5 ปี : จัดประชุมกลุ่มครอบครัวและชุมชนได้ ี่ ี ั เมาแล้วขับ ลักทรัพย์ การพนัน (ตามหลักเกณฑ์ ) ทาร้ ายร่ างกาย (ไม่ สาหัส) www.djop.moj.go.th LOGO
  • 9. ตัวอย่ างการใช้ การประชุมกลุ่มครอบครัวและชุมชน ...กรณีเด็กชายปอขโมยขนมในร้ านเจ้ เล้ง ถ้ าเป็ นไปตามกระบวนการ ยุติธรรมปกติ เด็กชายดังกล่าวก็คงถูกศาลพิพากษาให้ ไปอยู่ในสถานพินิจ ซึ่งจะทาให้ เด็กต้ องมีมลทิน มีตราบาป เพราะถือว่ าไปเข้ าคุกเด็ก แต่ เมื่อนากระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ มาใช้ โดยใช้ วธีการประชุ ม ิ กลุ่มครอบครัว มีการเรียกผู้เสี ยหาย ผู้กระทาผิด ผู้ปกครองมาร่ วมประชุ ม ตามวิธีการ ซึ่งปรากฏว่ าคดีดงกล่าวก็สามารถยุตได้ โดยใช้ มาตรา 63 ั ิ ใน พ.ร.บ.จัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัว โดยมีการกาหนด เงื่อนไขให้ เด็กต้ องดาเนินการ และผู้เสี ยหาย ซึ่งคือ เจ้ เล้ง ก็พอใจทีเ่ ด็กจะต้ องถูกปรับเปลียนพฤติกรรม ่ มีการติดตามความประพฤติเพือไม่ ให้ ทาผิดอีก ่ www.djop.moj.go.th LOGO
  • 10. LOGO
  • 11. บทบาทของกรรมการสงเคราะห์ และเครือข่ าย 3 2 แจ้ งสถานพินิจ 1 ติดตาม ควบคุม เมื่อพบเด็ก เป็ นผู้เข้ าร่ วม ดูแลเด็ก ไม่ ปฏิบัติ ประชุมกลุ่ม ให้ ปฏิบัติตาม ตามเงื่อนไข ครอบครัว ข้ อกาหนด และชุมชน www.djop.moj.go.th LOGO