SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
อบรมสร้างเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว
พ่อแม่
พลังบวก
พลังใดหรือจะสู้พลังรักจากพ่อแม่?
Clip VDO ที่ 1 ประกอบกิจกรรมความคาดหวัง
ยังจาเหตุการณ์เหล่านี้ได้หรือไม่?
ความคาดหวังของฉัน
บันทึกลงในแผนภาพสรุปการเรียนรู้
เตรียมความพร้อม เห็นเป้าหมายร่วมกัน
ตระหนักถึงการปรับมุมมอง และเข้าใจพฤติกรรมของตนเอง
เข้าใจธรรมชาติของลูก
เข้าใจและฝึกทักษะการสื่อสารเชิงบวก
เข้าใจเวลาคุณภาพ
สรุปการเรียนรู้
• ตระหนักว่า Mind Set (วิธีคิด ) ของผู้ปกครองส่งผล
ต่อพฤติกรรมของลูกและความสัมพันธ์ในครอบครัว
• เข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของลูก
• เข้าใจการสื่อสารทางบวกและการใช้เวลาคุณภาพ
สาหรับเด็กวัย 7 – 15 ปี
• เกิดทักษะการสื่อสารทางบวก
กติกาการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
Participation Learning (PL)
ทุกประสบการณ์ และทุกความคิดมีคุณค่า
• ใส่ใจรับฟังผู้อื่นอย่างลึกซึ้ง
• ความแตกต่างคือคุณค่า ไม่เถียง เอาแพ้ เอาชนะ
ร่วมกันบริหารเวลา
• ประชุมพร้อมเพรียง , รักษาเวลา
• ปิดมือถือ หรือเปลี่ยนเป็นระบบสั่น
มีส่วนร่วมทุกขั้นตอน
• ร่วมสร้างบรรยากาศสนุกสนาน-เป็นกันเอง-จริงใจ-เป็นมิตร
• รับผิดชอบต่อผลลัพธ์ร่วมกัน
ภาพที่ 1
คุณพูดกับลูกว่าอะไร
เพราะอะไรคุณถึง
พูดประโยคนั้น
คุณเคยเจอเหตุการณ์นี้มั้ย
คุณรู้สึกอย่างไรถึงพูด
ประโยคนั้นออกไป
ภาพที่ 2
คุณพูดกับลูกว่าอะไร
เพราะอะไรคุณถึง
พูดประโยคนั้น
คุณเคยเจอเหตุการณ์นี้มั้ย
คุณรู้สึกอย่างไรถึงพูด
ประโยคนั้นออกไป
ภาพที่ 3
คุณพูดกับลูกว่าอะไร
เพราะอะไรคุณถึง
พูดประโยคนั้น
คุณเคยเจอเหตุการณ์นี้มั้ย
คุณรู้สึกอย่างไรถึงพูด
ประโยคนั้นออกไป
ภาพที่ 4
คุณพูดกับลูกว่าอะไร
เพราะอะไรคุณถึง
พูดประโยคนั้น
คุณเคยเจอเหตุการณ์นี้มั้ย
คุณรู้สึกอย่างไรถึงพูด
ประโยคนั้นออกไป
ภาพที่ 5
คุณพูดกับลูกว่าอะไร
เพราะอะไรคุณถึง
พูดประโยคนั้น
คุณเคยเจอเหตุการณ์นี้มั้ย
คุณรู้สึกอย่างไรถึงพูด
ประโยคนั้นออกไป
ตอนคุณเป็นเด็ก คุณเคยได้ยินประโยค
เหล่านี้จากพ่อแม่บ้างหรือไม่
คุณรู้สึกอย่างไร
การแสดงออกต่างๆ
มีพื้นฐานมาจาก
ความเชื่อ ความคิด ความรู้สึก
ภายในจิตใจของพ่อแม่
พฤติกรรม
คาพูด การแสดงออก
ความรู้สึก
ความคิด
ความเชื่อ/ค่านิยม
ความคาดหวัง
ความปรารถนา
“ทาไมเพิ่งกลับมา
เป็นผู้หญิงกลับบ้าน
มืดๆค่าๆ”
“วันนี้ กลับช้ากว่าทุกวันนะ
เกิดอะไรขึ้นรึเปล่าลูก”
จากผลการวิจัยครอบครัวไทยในเขตเมือง ปี 2557 พบว่า
40%
ไม่ค่อยเล่า / ไม่เล่าอะไร
ให้คนในครอบครัวฟังเลย
33%
ไม่ค่อยใช้เหตุผลใน
การแก้ปัญหา
60%
ใช้อานาจ
บังคับ ขู่เข็ญ
34%
ด่าทอหยาบคาย
ทาร้ายจิตใจ
ละเลยทอดทิ้ง
1 ใน 3
ของครอบครัวในเมือง
มีสัมพันธภาพน่าเป็นห่วง
ขาดการปฏิสัมพันธ์
เข้าสารวจโลกภายในของตัวเอง
สู่การเป็น
พ่อแม่พลังบวก
สาเหตุพ่อแม่ทาร้ายลูกโดยไม่ตั้งใจ*
5
มีปัญหาของตัวเองแล้ว
คุมอารมณ์ไม่อยู่นาไปสู่
การทาร้ายร่างกายหรือ
ลงโทษลูกรุนแรง
1 มีปัญหาของตัวเองจน
ไม่มีพลังงานเหลือจะ
มาดูแลใส่ใจลูก
2
ใช้ลูกเป็นเครื่องมือ
ในการแก้โจทย์ทาง
อารมณ์ของตัวเอง
3
ยึดติดชุดความเชื่อหนึ่ง
แล้วส่งต่อมาให้ลูกรับชุด
ความเชื่อนั้นไปด้วย
4
ติดกับดักของการ
เ ล่ น บ ท พ่ อ แ ม่
อย่างเดียว
5
*จากหนังสือ “วิชาพ่อแม่ที่โรงเรียนไม่ได้สอน” โดยนพ.ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล
เรียนรู้ วิธีการก้าวข้าม*
5
รู้ตัวว่าเราติดปมนี้
จากประสบการณ์เดิม
1
ฝึกแยกเหตุการณ์ใน
อดีตกับปัจจุบันให้ชัด
2
ถอดหมวกพ่อแม่และ
ลูกออก และมองพ่อแม่
ให้เป็นมนุษย์คนหนึ่ง
3
พยายามเรียนรู้ทักษะทาง
อารมณ์และการจัดการความ
ทรงจาและความคิดให้ดี
4
ฝึกทักษะที่ช่วยให้รู้สึก
สงบ และผ่อนคลาย
5
*จากหนังสือ “วิชาพ่อแม่ที่โรงเรียนไม่ได้สอน” โดยนพ.ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล
เมื่อคุณเข้าใจ
โลกภายในของตัวเองแล้ว
ขั้นต่อไปคือ
รู้จัก และเข้าใจโลกของลูก
• ร่างกายเปลี่ยนไปอย่างไรบ้าง
• เสื้อผ้า หน้า ผม (แต่งตัวแบบไหน/ทาทรงผมอะไร)
• กิจกรรมที่ชอบทา/ทากับใคร
• สิ่งใดที่ทาแล้วรู้สึกจ๊าบหรือเจ๋งมาก
• ความสัมพันธ์กับพ่อแม่หรือคนในครอบครัวเป็นอย่างไร
• เรื่องอะไรที่มักถูกพ่อแม่หรือผู้ปกครองดุ/ว่ากล่าวตักเตือน
• เวลามีปัญหาปรึกษาคนแบบไหน
คุณในวัยเด็กเป็นอย่างไร?
ธรรมชาติเด็กวัยเรียน (7-12 ปี)
• ร่างกายเติบโตขึ้น มีพลัง ไม่ชอบอยู่นิ่งชอบการ
เคลื่อนไหว เรียนรู้และพัฒนาผ่านการเล่นและทา
กิจกรรม
• ช่วงปลายของวัยเรียนร่างกายจะเปลี่ยนแปลงมาก
เด็กผู้หญิงเปลี่ยนแปลงเร็วกว่าเด็กชาย
• ควรส่งเสริมกิจกรรมเคลื่อนไหว กิจกรรมกลางแจ้งเพื่อ
เพิ่มสมรรถนะของร่างกายลูก
ด้านร่างกาย
เขาใจอารมณของตนเองและผูอื่นดีขึ้น ควบคุมอารมณ์ได้
มากขึ้น รูจักแสดงอารมณไดในแบบที่สังคมยอมรับ แต่ก็
ยังต้องการแบบอย่างและคาแนะนาในการฝึกให้รู้จัก
เข้าใจ ควบคุมและการแสดงอารมณ์ของตนเองจากพ่อแม่
ด้านอารมณ์
ธรรมชาติเด็กวัยเรียน (7-12 ปี)
• สร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น ทั้งในและนอกบ้าน ทั้งวัยเดียวกัน
และผู้ใหญ่
• เขากับเพื่อนเพศเดียวกันและกลุมไดดี
• เริ่มให้ความสาคัญกับกลุ่มเพื่อน เพื่อนเริ่มมีบทบาทต่อทัศนคติ
และความคิดมากขึ้น อยากเป็นที่ยอมรับในกลุ่มเพื่อน ต้องการ
ความสนใจ การทางานกลุ่ม เล่นและทากิจกรรมกับเพื่อน
• ควรให้ลูกรับผิดชอบทั้งงานของตนเองและงานส่วนรวม
รับผิดชอบข้าวของของตนเอง ซึ่งจะเป็นการสร้างวินัย กากับ
ตัวเองให้อยู่ในกติกาฝึกบริหารจัดการเวลา และหัดแก้ปัญหาง่ายๆ
ด้วยตนเอง
ด้านสังคม
ธรรมชาติเด็กวัยเรียน (7-12 ปี)
• การคิดเริ่มเป็นระบบ รู้จักใช้เหตุผลในการตัดสินใจ
เลือกทาในสิ่งที่ตนสนใจ
• มีความรับผิดชอบมากขึ้น แต่อาจขาดความรับผิดชอบ
ในงานที่ได้รับมอบหมายเพราะติดเล่น
• การยึดตัวเองเป็นศูนย์กลางเริ่มลดลง
• ควรสนับสนุนกิจกรรมที่เน้นการลงมือทา เพื่อสร้าง
ประสบการณ์
ด้านสมอง
ธรรมชาติเด็กวัยเรียน (7-12 ปี)
• ส่วนสูง-น้าหนักเพิ่มขึ้น แขน ยาว มือใหญ่ขึ้น
ลักษณะทางเพศจะปรากฏขึ้น ให้เห็นเด็กผู้หญิงจะเข้า
สู่วัยรุ่นก่อนเด็กผู้ชายทั้งเด็กชายและเด็กหญิงมีภาวะ
พร้อมที่จะเป็นพ่อคนและแม่คน
ด้านร่างกาย
ธรรมชาติเด็กวัยรุ่น (13-15 ปี)
• อารมณ์ไม่คงที่ เปลี่ยนแปลงง่าย การควบคุมอารมณ์ยังไม่
ค่อยดีนักจากความสับสนและการค้นหาเอกลักษณ์ประจาตน
ซึ่งอาจมีผลกับพฤติกรรม การเรียน การดาเนินชีวิต
• มีความสนใจเรื่องเพศมีอารมณ์และพฤติกรรมทางเพศ
เช่น การสาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องปกติ
ของวัยแต่พ่อแม่ควรให้ความรู้เพื่อป้องกันการเกิด
เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
ธรรมชาติเด็กวัยรุ่น (13-15 ปี)
ด้านอารมณ์
• เริ่มให้ความสาคัญกับรูปร่างหน้าตาและสนใจแต่งตัว
ตามแฟชั่นมากขึ้นเล่นหรือทากิจกรรมกลุ่มตามเพศ
• เคารพกฎของกลุ่ม เลียนแบบสมาชิกในกลุ่มไม่ว่าจะ
เป็นการแต่งกาย การพูดจา หรือกิริยาท่าทาง เพราะ
ต้องการให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่ม
• เริ่มสนใจเพศตรงข้าม การมีคนรักโดยไม่กล้าเปิดเผย
การกระทาและความต้องการจึงมักจะขัดแย้งกับความ
ต้องการของพ่อแม่และผู้ใหญ่
ด้านสังคม
ธรรมชาติเด็กวัยรุ่น (13-15 ปี)
• มีเหตุผลและควบคุมตนเองได้ดีขึ้น รู้จักอดทนในการคบ
เพื่อน ช่วงความสนใจนานขึ้น
• สามารถปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์ใหม่ๆ ได้กว้างขวางขึ้น
• เข้าใจสิ่งที่เป็นนามธรรมมากขึ้น โดยเฉพาะคาพูด เข้าใจ
และรู้จักพูดถ้อยคาที่ลึกซึ้ง ถ้อยคาเปรียบเทียบต่างๆ ดีขึ้น
• เฉลียวฉลาดมากขึ้นกว่าเดิม แต่บางครั้งก็นั่งฝันกลางวัน
เพื่อเป็นการชดเชยสิ่งที่ขาด
ด้านสมอง
ธรรมชาติเด็กวัยรุ่น (13-15 ปี)
เค้าต้องสามารถ
ประสบความสาเร็จบางเรื่องได้ด้วยตนเอง
เพื่อพร้อมก้าวสู่การเป็นวัยรุ่น
ลูกอายุ 15
ลูกยังคงต้องการพ่อแม่
ประคับประคอง ให้โอกาส
ยอมรับ และฝึกฝน
อย่างใจเย็นและเมตตา
สมองลูกวัยเรียน วัยรุ่น
การทางานของสมองคือต้นธาร
ของการเรียนรู้ พฤติกรรม บุคลิกภาพและทักษะของลูก
สมองส่วนอารมณ์ (สมองส่วนกลาง)
• ทาหน้าที่เกี่ยวกับอารมณ์
ความรู้สึก ความจา และ
การเรียนรู้เพื่อให้ชีวิตอยู่
รอดปลอดภัย
• ทาหน้าที่ในการมีชีวิต
รอดของมนุษย์เกี่ยวข้อง
กับระบบอัตโนมัติ
สมองส่วนสัญชาตญาณ
(สมองส่วนแกน)
• ทำหน้ำที่ใน
คิดวิเครำะห์
ว ำ ง แ ผ น
ตั ด สิ นใ จ
แก้ปัญหำ
• ท ำ ง ำ นไ ด้
เ ต็ ม ที่เ มื่อ
ส ม อ ง อี ก
ส อ ง ส่ ว น
ได้รับควำม
มั่ น ค ง
ปลอดภัย
สมองส่วนเหตุผล
(สมองส่วนหน้า)
สมองส่วนเหตุผลจะทางานได้ดี
ต่อเมื่อสมองส่วนอารมณ์ได้รับการเติมเต็ม
สมองส่วนอารมณ์ชนะ
สมองส่วนเหตุผลชนะ
พฤติกรรม
ดี
พฤติกรรม
ไม่ดี
Self Esteem
ฐานสาคัญของการสร้างตัวตนลูกวัยรุ่น
การรู้จักคุณค่าของตนเองเกิดขึ้นจากสมดุลที่ดีของ
การรู้ว่าตนเป็นที่รักของพ่อแม่ควบคู่ไปกับการรับรู้ว่าตนทาได้
ช่วงเวลาทองสาหรับการบ่มเพาะ Self Esteem
ให้ลูกหลาน อยู่ในช่วง 10 ปีแรกของชีวิต
Self Esteem คือ การมองเห็นตัวเองแล้ว
รู้สึกว่าตัวเองมีคุณค่า รักตัวเองในแบบที่ตัวเองเป็น
หลากวิธีพัฒนา Self Esteem
ให้ความรัก ความเอาใจใส่
เพื่อสร้างความผูกพัน
และไว้วางใจ
หลีกเลี่ยงการติเตียน
ที่บั่นทอนความเชื่อมั่น
ของเด็ก
สนับสนุนให้ลูกหลาน
ได้ลงมือทากิจกรรมที่
หลากหลาย
เปิดโอกาสให้ลูกหลานได้
แสดงออกทางความคิด
ความเห็น
ปรับความคาดหวังในตัว
ลูกหลานให้สอดคล้องกับ
ตัวตนของเขา
สร้างสิ่งแวดล้อมให้
ลูกหลานรู้สึกว่าเขาทาได้
และจงทาต่อไป
พัฒนาการตามวัยและการเรียนรู้
จะก่อรูปเป็นนิสัยและบุคลิกภาพที่ส่งผล
ต่อพฤติกรรมและชีวิตของลูก
Clip VDO ที่ 2 ประกอบกิจกรรมการสื่อสารที่ดีและวินัยเชิงบวก
รู้สึกอย่างไร?
บรรยากาศในครอบครัวนี้เป็นอย่างไร?
ท่าทีและคาพูดของพ่อ แม่ และลูกเป็นอย่างไร?
ดูแล้ว...
การสื่อสารที่ดี
จะช่วยแปลงสิ่งที่อยู่ในใจออกมาเป็นพฤติกรรม
และคาพูดที่เหมาะสมด้วย
การพูด
การแสดงออก
การฟัง
การฟังที่ดี
พ่อแม่ควรปรับบทบาทของตนเอง
จากผู้อบรมสั่งสอนมาเป็นผู้ฟังที่ดี
เนื้อหา
ความรู้สึก
ความปรารถนา
ความหมายแฝง
ผู้ฟังต้องรับรู้
ใส่ใจ
ด้วยการมองลูกตรงๆ หยุดคิดเรื่องอื่น
และไม่คิดโต้แย้ง
ฝ่ายหนึ่งพูด ฝ่ายหนึ่งนิ่งและฟัง
เช่น พยักหน้ารับเป็นระยะ สบตาหรือยิ้ม
ตอบรับด้วยถ้อยคาเล็กๆน้อยๆ
แสดงให้เห็นว่ากาลังรับฟังอยู่
สะท้อนสิ่งที่กาลังรับฟัง
ถามเพิ่มเพื่อความชัดเจน
หรือสรุปสิ่งที่ฟังเพื่อความถูกต้อง
ให้ข้อมูลป้อนกลับ
เพราะเป็นการขัดจังหวะ และอาจทาให้
ลูกรู้สึกขุ่นเคืองได้
อย่าตัดสิน หรือแสดงความคิดเห็น
ตอบสนองอย่างเหมาะสม
แสดงความคิดเห็นอย่างสุภาพและให้เกียรติ
ใช้คาพูดที่แสดงถึงความเข้าใจในอารมณ์
และความรู้สึก
ฟังอย่างตั้งใจ การสะท้อนความรู้สึก
การสะท้อนความรู้สึก
คาพูดของลูก: “แม่อย่าเพิ่งพูดตอนนี้ได้มั้ย หนูไม่อยากฟัง”
บอกความรู้สึกของลูก สาเหตุ
ตัวอย่างการสะท้อนความรู้สึก
ความรู้สึกของลูก : ราคาญ / หงุดหงิด
สาเหตุ: แม่พูดตอนนี้ ไม่อยากฟัง
“ แม่เข้าใจว่า หนูราคาญที่แม่พูด และยังไม่อยากฟังตอนนี้”
ใช้คาพูดที่แสดงถึงความเข้าใจในอารมณ์และความรู้สึก
การแสดงออก
ด้วยความรักและปรารถนาดี
เสียง
หลีกเลี่ยงเสียงดังและกระแทก
เพราะจะแสดงถึงความก้าวร้าว
ท่าทาง
ผงกศีรษะรับฟัง การโน้มตัวเข้าหา
เป็นการแสดงออกถึงการรับฟัง
ทาให้คู่อยากพูดคุยด้วย
จับมือ จับต้นแขน
โอบกอด
ให้ความรู้สึกเข้าใจ อบอุ่น
รักใคร่ สนิทสนม
การสัมผัส
ขณะพูดคุย ให้นั่งใกล้กัน
เพื่อให้สบตาได้ และไม่ต้อง
พูดเสียงดัง
ระยะห่าง
ยิ้มแย้มแจ่มใส
และสังเกตสีหน้ากันมาก
ขึ้นเพื่อรับรู้ความรู้สึก
สีหน้า
การมอง สบตา
ไม่หลบตากัน
ช่วยให้เข้าใจกันง่ายขึ้น
สายตา
การพูดที่ดี
มีสติ หากมีอารมณ์อย่าพูด
ใช้คาที่สื่อความหมายชัดเจน
พูดในลักษณะขอความร่วมมือ หลีกเลี่ยงการออกคาสั่ง
ใช้คาพูดเชิงบวก ชื่นชม
I-message
พูดเท็จ พูดส่อเสียด หยาบคาย เพ้อเจ้อ
X
เทคนิคการส่งความรู้สึก
(I-message)
เป็นการบอกอารมณ์ความรู้สึกของพ่อแม่ให้เด็กรู้
โดยหลีกเลี่ยงการตาหนิและการหาคนผิด
ช่วยลดความรุนแรงของคาพูดและความรู้สึกต่อผู้ฟังในทางลบ
ประโยค I – message ประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้
ความรู้สึก
ของพ่อแม่
พฤติกรรม
ของลูก
อยากให้ลูก
ทาอะไร
ผลที่ตามมา
ตัวอย่างประโยค I-message
ความรู้สึกของพ่อแม่:
พฤติกรรมของลูก:
อยากให้ลูกทาอะไร:
แม่รู้สึกไม่ชอบเลย
ที่ลูกยังไม่เก็บจานข้าว
ลูกจะต้องมาเก็บหลังจากเล่น
บอลเสร็จ
แม่อยากให้ลูกเก็บให้เรียบร้อย
ก่อนไปเล่นบอลนะจ้ะ
ผลที่ตามมา:
ความรู้สึกของพ่อแม่:
พฤติกรรมของลูก :
อยากให้ลูกทาอะไร:
แม่รู้สึกไม่พอใจ
ที่หนูยังไม่ไปตากผ้า
ผ้าอาจจะเหม็นอับ
แม่ว่าลูกควรเอาไป
ตากทันทีที่ใช้เสร็จ
ผลที่ตามมา:
You Message
-ผู้ฟังลาบากใจที่จะเข้าใจความรู้สึก ความคิด และความต้องการของผู้พูด
-ผู้ฟังรู้สึกว่าตนเองถูกตาหนิ ถูกดูถูก ถูกวิพากษ์วิจารณ์ และถูกบังคับ
-ผู้ฟังรู้สึกถูกตอกย้าถึงความไม่ดี และเสียคุณค่าในตัวเอง
เช่น “ทาไมลูกถึงยังไม่เอาผ้าไปตาก จะรอให้เหม็นก่อนรึไง”
“แกจะไปไหนมาเก็บจานข้าวก่อนเดี๋ยวนี้เลยนะ”
He or They Message
มีการอ้างถึงบุคคลที่ 3
เช่น “ป้ายังบ่นเลยว่าผ้าลูกเหม็นอับ”
“ใครๆ เค้ากินข้าวแล้วก็ต้องเก็บจานกันทั้งนั้น”
ชุดคาที่บอกความรู้สึก
โกรธ
ไม่มีความสุข
เสียใจ
ไม่ชอบ
ไม่สบายใจ
กังวล
กลัว
อาย
เหนื่อย
เป็นทุกข์
เป็นห่วง
ราคาญ
เบื่อ
ผิดหวัง
หงุดหงิด
เศร้า
น้อยใจ
ตกใจ
ดีใจ
คลายกังวล
ร่าเริง
ตัวลอย
สนุก
ตื่นเต้นสบายใจ
พอใจ
ยินดี
ผ่อนคลาย
อุ่นใจ
มีพลัง
มั่นใจ
มีความสุข
มุ่งมั่น
ภูมิใจ
หัวใจพองโต
สดชื่น
ลูกต้องสอบใหม่ 1 วิชา
ชวนคิด...ชวนแต่ง
ความรู้สึกของพ่อแม่ :
พฤติกรรมของลูก:
ผลที่ตามมา:
..........................................................................................
..........................................................................................
.........................................................................................
ลูกกลับบ้าน 4 ทุ่ม
อยากให้ลูกทาอะไร: .........................................................................................
ความรู้สึกของพ่อแม่ :
พฤติกรรมของลูก:
ผลที่ตามมา:
..........................................................................................
..........................................................................................
.........................................................................................
อยากให้ลูกทาอะไร: .........................................................................................
Work Shop เทคนิค I-message
สมาชิกในกลุ่มแต่ละคน
คิดประโยค I-message
จากสถานการณ์ที่ได้
โดยเลือกใช้ความรู้สึก
เขียนลงในใบงาน
5 โจทย์สถานการณ์
Work Shop เทคนิค I-message
1) แม่ไปปลุกลูกไปโรงเรียน แต่ลูกไม่ยอมตื่น
2) ลูกสาวเอาเครื่องสาอางค์แม่มาแต่งหน้า
3) ลูกมีเรื่องชกต่อยกับเพื่อน
4) ลูกเตะบอลอยู่หน้าบ้าน พ่อแม่นั่งรอทานข้าวเย็น
5) ลูกวางจานเสียงดังหลังจากที่บอกให้เก็บจาน
เทคนิคการส่งความรู้สึก
(I-message)
ช่วยให้เด็กเชื่อมโยงพฤติกรรมตนเอง
ที่ส่งผลต่อความรู้สึกของผู้อื่นได้ง่าย
เด็กเกิดการเรียนรู้ที่จะระวังพฤติกรรมตนเอง
มากขึ้น
เทคนิคการชื่นชม
เป็นการชมเชย “ทันที” ที่เด็กมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสม
ชมในความพยายาม ไม่ต้องรอให้สาเร็จ
ประโยคชื่นชมประกอบด้วย 3 ส่วน ดังนี้
คาชม บอกพฤติกรรม ระบุคุณลักษณะ
ตัวอย่างประโยคชื่นชม
คาชม:
บอกพฤติกรรม:
ระบุคุณลักษณะ:
ชื่นใจจังเลย
ที่ลูกนาจานข้าว
ไปล้าง
หนูเป็นเด็กมีวินัย
และรับผิดชอบมาก
คาชม:
บอกพฤติกรรม:
ระบุคุณลักษณะ:
เยี่ยมมากเลยจ้า
หนูทาการบ้านส่งตรง
ตามเวลาที่คุณครู
มอบหมาย
แม่เห็นถึงความขยัน
และความรับผิดชอบ
ของหนู
ชุดคาชม
เยี่ยม
ดีใจ
ดีมาก
เข้มแข็งมาก
เก่ง
ชื่นใจ
ยินดี
เหมาะมาก
ยอดเยี่ยม
ภูมิใจ
ทาได้ดีมาก
ชุดคาคุณลักษณะ
ใฝ่รู้
มุ่งมั่น ตั้งใจ
เสียสละ
ขยัน
รับผิดชอบ
รู้จักแก้ปัญหา
มีความห่วงใย
คิดสร้างสรรค์
มีวินัย
พยายาม
ซื่อสัตย์
อดทน
ลูกนั่งอ่านหนังสือกับเพื่อน ระหว่างรอพ่อแม่มารับ
ชวนคิด...ชวนแต่ง
คาชม:
บอกพฤติกรรม:
ระบุคุณลักษณะ:
..........................................................................................
..........................................................................................
.........................................................................................
เมื่อลูกเดินถือแก้วน้ามาให้ หลังจากแม่กลับมาบ้านจากการทางาน
คาชม:
บอกพฤติกรรม:
ระบุคุณลักษณะ:
..........................................................................................
..........................................................................................
.........................................................................................
Work Shop เทคนิคการชื่นชม
สมาชิกในกลุ่มแต่ละคนคิดประโยคชื่นชม
จากสถานการณ์ที่ได้
โดยเลือกใช้คาชม
และคาคุณลักษณะตามตัวอย่าง
และเขียนลงในใบงาน
5 โจทย์สถานการณ์
Work Shop เทคนิคการชื่นชม
1) ลูกเลิกเล่นเกมส์ตรงตามเวลาที่กาหนด
2) ลูกช่วยแม่ทาอาหารเย็น
3) ลูกกับเพื่อนช่วยกันเก็บขยะที่สนามกีฬา
4) ลูกกลับจากฝึกซ้อมเตะบอล
5) ลูกเก็บเงินซื้อของที่อยากได้ด้วยตัวเอง
เทคนิคการชื่นชม
เด็กเห็นภาพชัดเจน
ถึงพฤติกรรมที่พ่อแม่ ผู้ปกครองคาดหวังให้เขาทา
รู้ว่าต้องทาสิ่งใด เป็นความดีแบบไหน
ซึ่งจะช่วยส่งเสริมพัฒนาการทางอารมณ์ จิตใจ
ให้เด็กมองตนเองในทางที่ดี
วินัยเชิงบวก
Trust
Teach Train
Time
Target
Behavior
การมีปฏิสัมพันธ์กับเด็กด้วยเทคนิคการสื่อสาร
ที่มุ่งสร้างประสบการณ์และความสัมพันธ์ที่มีคุณภาพ
เทคนิคแนวทางการสื่อสารที่ดี
เป็นสิ่งสาคัญของการสร้างและ
สานความสัมพันธ์ในครอบครัว
ครอบครัวต้องการ
สื่อสารที่ดี
และ เวลา “คุณภาพ”
Clip VDO ที่ 3 ประกอบกิจกรรมเวลาคุณภาพ
ใครเคยประสบกับสถานการณ์แบบนี้บ้าง ?
คุณรู้สึกอย่างไร ?
บรรยากาศตอนไม่ใช้มือถือกับใช้มือถือ
ต่างกันอย่างไร ?
เวลา “คุณภาพ” Quality of time
คือ เวลาที่พ่อ แม่ ลูก และคนในครอบครัวอยู่ร่วมกัน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
ใส่ใจความคิด ความรู้สึก และการปฏิบัติตน
อย่างไร คือ เวลา “คุณภาพ”
ใจต้องอยู่
ตรงนั้น
เพราะคนตรงหน้า
สาคัญที่สุด
หยุดคิดเรื่องอื่น
“ให้”
เป็นพิเศษ
ให้เวลาส่วนตัว
กับลูกแต่ละคน
เพราะไม่มีใคร
แทนใครได้
น้อยไม่ว่า
แต่ต้อง
สม่าเสมอ
การเปลี่ยนแปลงไม่ได้
เกิดขึ้นชั่วข้ามคืน
ต้องเรียนรู้ผ่านการ
ฝึกฝนและความอดทน
อยู่เสมอในเวลา
ที่เค้าต้องการ ทาให้ลูกรู้สึกปลอดภัย
สบายใจ แล้วพวกเขาจะ
กลับมาปรึกษาคุณ
เมื่อเขาโตขึ้น
เวลาใดเป็นเวลา “คุณภาพ” ได้บ้าง ?
กินข้าว
เพื่อพูดคุย บอกเล่า
ปรึกษา เรื่องราว
ระหว่างกัน
ทากิจกรรม/
เล่น
สร้างสัมพันธ์ที่ดี
สร้างความสนุกสนาน
พัฒนาทักษะด้านต่างๆ
ได้สังเกตพฤติกรรม
เช่น เล่นกีฬา ไปแคมปิ้ง
ขี่จักรยาน สวดมนต์ก่อนนอน
ไม่มีกาหนด
ตายตัว
ทางานบ้าน
ถ่ายทอดวัฒนธรรม
ของครอบครัว
ทักษะชีวิต วิธีทางาน
วิธีบริหารจัดการต่างๆ
บัตรคา เวลา “คุณภาพ”
ตอบข้อซักถามเพิ่มเติม
สรุปการเรียนรู้
เขียนชื่อนามสกุลลูก พร้อมที่อยู่
Clip VDO ที่ 4 ประกอบกิจกรรมสรุปการเรียนรู้
เขียนคาชื่นชมจากใจให้ลูก
บอกพฤติกรรม ระบุคุณลักษณะ
ความรู้สึกที่เกิดขึ้นในการอบรมวันนี้ ?
ความรู้สาคัญที่ได้ ?
สิ่งสาคัญที่ตั้งใจนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ?
อบรมสร้างเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว
พ่อแม่
พลังบวก

More Related Content

Similar to พ่อแม่พลังบวก

Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์afafasmataaesah
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักSarid Tojaroon
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์khuwawa2513
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้Atima Teraksee
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2pattamasatun
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2New Born
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2ya035
 
บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง Pnong Club
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการJariya
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนputjohn
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingNopporn Thepsithar
 

Similar to พ่อแม่พลังบวก (20)

Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
 
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรักการจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
การจะมีอีคิวที่ดีในชีวิตคู่และความรัก
 
พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์พัฒนาการของมนุษย์
พัฒนาการของมนุษย์
 
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
เด็กที่มีปัญหาทางการเรียนรู้
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณการสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
การสร้างวินัยและจัดการชั้นเรียน โดย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง บทบาทผู้ปกครอง
บทบาทผู้ปกครอง
 
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาในการเรียนการ
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on CoachingPresentation 2013-01-11 My experience on Coaching
Presentation 2013-01-11 My experience on Coaching
 

พ่อแม่พลังบวก