SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
2
จิตวิทยาเชิงบวกคืออะไร
พัฒนาการที่ดีของลูกตั้งต้นจากสมองและปัจจัยส่งเสริมเชิงบวก
องค์ประกอบของระบบนิเวศที่จะไปกระตุ้นพัฒนาการที่ดีของลูก
3
6 หลักการใช้จิตวิทยาเชิงบวกปรับพฤติกรรมลูกแก้ไขยังไงดี ถ้าลูกดื้อและต่อต้าน
หลักสาคัญอันเป็นเสมือนยาครอบจักรวาลที่พ่อแม่ต้องมีไว้ประจาบ้านเสมอ
ความอบอุ่นปลอดภัย และไว้วางใจระหว่างกัน
ฮอร์โมนมีผลกับพฤติกรรมของลูก
4
แนะนาวิธีเสริมจุดแข็งของลูกจากประสบการณ์ในการทางานกับเด็กที่มีปัญหาระดับรุนแรง
การสื่อสารในบ้านระหว่างพ่อแม่กับลูกต้องอยู่บนความเข้าใจและเมตตาธรรม
ค้นหาและโฟกัสที่จุดแข็งหรือด้านดีของลูกเป็นหลัก
5
การสื่อสารที่แสดงให้ลูกรู้ว่าพ่อแม่ยอมรับและให้ความสาคัญกับปัญหาของลูก
สอนการควบคุมอารมณ์ (self-control)
การที่พ่อแม่จะปิดกั้นอารมณ์ด้านลบ
6
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
วิดีโอ
ที่มา
ชื่อผู้จัดทา
7
เหล่ า นี้ เป็ น ตัวแปรที่ มี อิ ทธิ พ ลกับพัฒนา กา ร
สมอ ง ส่ วน คิ ด ทั้ ง สิ้ น ลู กที่ เติ บโต ในระบบ
นิ เวศที่ อ บอุ่ น ได้รั บกา รเอ า ใจใส่ ที่
เหมา ะ สม พัฒน า กา รสมอ ง ส่ วน คิ ด ก็จะ
แข็ง แรง เวลา สมอ ง ส่ วน อ า รมณ์ และ
สัญช า ตญา ณกระ ตุ้น ให้ทา บา ง สิ่ ง ที่ จะไปทา
ร้ า ยคน อื่ น สมอ ง ส่ วน คิ ด ที่ มี ภู มิ คุ้มกัน นี้ จะ
ทา หน้า ที่ ยับยั้ ง สิ่ ง เหล่ า นั้ น ได้
1 . บ้า น – บรรยา กา ศใน ครอ บครั วอ บอุ่ น เป็ น มิ ตรกับลู ก ลู กพู ด คุ ยกับ
พ่อ แม่ ได้โด ยไม่ ต้อ ง กลัว พ่อ แม่ ไม่ เอ า แต่ สั่ง พ อ ไม่ ทา หรื อ ผิด พ ลา ด ก็
เฆี่ ยน ตี ลิ ดรอน ควา มคิ ดเห็ น และกา รแสดง ออกของลู ก รวมถึ ง
บ รรยา กา ศที่ พ่อ แม่ และบุ คคลใน ครอ บครั วปฏิ บัติ ต่ อ กัน
2 . โรง เรี ยน – ต้อง เปิ ดโอกา สให้เด็กได้แสดงควา มคิ ด ออก
ควา มเห็ น เป็ น ตัวของ ตัวเอง ฝึ กควา มกล้า หา ญและรั บผิดช อบใน กา ร
ตัด สิ น ใจ ไม่ ยัด เยียด กฎระ เบี ยบให้เอ า แต่ ปฏิ บัติ ตา มคา สั่ง หรื อสร้ า ง
บ รรยา กา ศขอ ง กา รแข่ง ขัน และ กด ดัน
3 . เพื่ อน – เพื่ อ น ที่ เขา คบเป็ น อ ย่า ง ไร
4 . ชุ มช น – ควา มเป็ น อ ยู่ ผู้คน ที่ ครอ บครั วคบหา สนิ ทสน ม ค่ า นิ ยมที่
บ้า น หรื อสัง คม ตลอดจน วัฒน ธรรมประเพ ณี ที่ ชุ มช น ยึดถื อล้ วน หล่ อ
หลอมควา มคิ ด บุ คลิ กภา พ และกา รมอง โลกของ เขา ใน ทา ง ใดทา ง
หนึ่ ง
5 . สภา วกา รณ์ แวดล้อมอื่ นๆ – เช่ น กา รใช้เวลา กับโซเชี ยล
มี เดี ย สื่ อ ต่ า ง ๆ เกม ด น ตรี ภา พ ยน ตร์ 8
9
ลูกที่กำลังก้ำวสู่วัยรุ่นจะกลำยร่ำงจำกเด็กที่เคยว่ำนอนสอนง่ำยเป็นปีศำจตัวร้ำยประจำบ้ำนทันที ลูกอำรมณ์ร้อน
และงี่เง่ำ เป็นเรื่องธรรมดำอันเกิดจำกกำรเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนและเอสโตรเจนที่หลั่งในช่วงวัย
นี้แล้วไปสปำร์คสมองส่วนอำรมณ์ให้รุนแรงปรู๊ดปร๊ำดขึ้นกว่ำเดิม 2-3 เท่ำ วัยรุ่นจึงเหมือนระเบิดถอดสลักที่พร้อม
จะตูมตำมได้ตลอดเวลำ พวกเขำจะกล้ำได้กล้ำเสียกับสิ่งสุ่มเสี่ยงอันตรำยและใช้อำรมณ์กับทุกเรื่อง จุดต่ำงสำคัญ
ในช่วงนี้จึงอยู่ที่สมองส่วนคิดของพวกเขำว่ำมีเบรกติดตั้งไว้หรือไม่ ถ้ำสมองส่วนคิดของพวกเขำถูกฟูมฟักขัดเกลำ
มำในระบบนิเวศที่ดี สมองส่วนนี้จะมีวุฒิภำวะเพียงพอที่จะกระตุกให้เขำหยุดในจุดที่ควรหยุด
นอกจำกฮอร์โมนทั้งสองแล้ว ยังมีฮอร์โมนอีกตัวชื่อ ออกซิโทซิน หรือเรียกเก๋ๆ ว่ำ ฮอร์โมนรัก ซึ่งมีหน้ำที่ควบคุม
อำรมณ์ควำมรู้สึกที่เกิดขึ้นระหว่ำงมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น สำเหตุที่ถูกเรียกว่ำฮอร์โมนรักก็เพรำะสมองจะหลั่งออกมำ
เวลำรู้สึกอยู่ในห้วงรัก เช่น ตอนออกเดทอย่ำงหวำนแหววกับแฟน หรือขณะแสดงควำมรักควำมห่วงใยกันระหว่ำง
พ่อแม่ลูก
10
ก่อนอื่นพ่อแม่ต้องตีให้แตกเสียก่อนว่ำเด็กดื้อสำหรับพ่อแม่เป็นอย่ำงไรและขนำดไหน
เรียกว่ำเป็นปัญหำ เด็กดื้อในที่นี้ไม่ได้หมำยถึงเด็กที่ไม่ทำตำมคำสั่งเมื่อพ่อแม่บังคับให้
เขำเรียนในสิ่งที่เขำไม่ชอบต้องเก่งในสิ่งที่เขำไม่ถนัด ห้ำมไม่ให้ทำในสิ่งที่เขำชอบแล้ว
เขำต่อต้ำนฟูมฟำย หรือมีปัญหำเพรำะสอบได้ที่โหล่ของห้องเอำแต่เล่นฟิกเกอร์ ต่อ
โมเดล สนใจกีตำร์ อ่ำนกำร์ตูนมำกกว่ำหนังสือสอบพฤติกรรมที่เป็นปัญหำที่เรำกำลังพูด
ถึงคือเด็กจัดกำรอำรมณ์ของตนเองไม่ได้ มีพฤติกรรมก้ำวร้ำวรุนแรงกับกับทั้งพ่อแม่หรือ
คนอื่น ไม่สำมำรถใช้เหตุผลในกำรตัดสินใจเกินกว่ำจะรับได้ในวัยว้ำวุ่น
ดร.เดวิด เจ ฮอว์ส (Dr. David J Hawes) ผู้อำนวยกำรคลินิกวิจัยพฤติกรรมเด็กแห่งศูนย์
พัฒนำสมองและจิตใจ มหำวิทยำลัยซิดนีย์ และจิตแพทย์เฉพำะทำงด้ำนปัญหำทำง
อำรมณ์และพฤติกรรมในเด็ก อธิบำยถึงลักษณะของพฤติกรรมเชิงลบที่เข้ำข่ำยว่ำเป็น
ปัญหำ เช่น เกรี้ยวกรำด (tantrums) ก้ำวร้ำว (aggression) และต่อต้ำน (defiance) ไว้
ดังนี้
11
1. ลูกแสดงพฤติกรรมลบเป็นประจาจนแทรกแซงความผาสุกของทุกคนใน ครอบครัว ถึงระดับที่ไม่อาจ
พูดคุยกันได้พร้อมหน้าหรือต้องงดปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน
2. เมื่อพฤติกรรมลบของลูกกระทบต่อสมาชิกในครอบครัวรุนแรง กระทบความสัมพันธ์ของพ่อแม่ หรือพี่
น้องต้องมีปัญหาไปด้วย
3. เมื่อพฤติกรรมลบของลูกสร้างบาดแผลทางความรู้สึกอย่างใหญ่หลวงเกินกว่าจะรับมือด้วยวิธีที่ใช้เป็น
ปกติ
4. เมื่อลูกใช้พฤติกรรมลบยั่วยุให้ของพ่อแม่โมโหถึงขีดสุดเพื่อให้ลงโทษตัวเองหรือสร้างความเจ็บปวดทาง
ใจ
เมื่อมาถึงจุดนี้ ได้เวลาที่พ่อแม่ต้องเยียวยาแก้ไขเขาแล้วหนทางรักษาด้วยแนวทางจิตวิทยาเชิงบวกอาจเป็น
ยาขนานเอกที่พ่อแม่สามารถถอนพิษให้ลูกฟื้นจากความป่วยไข้ทางใจ
ข้อนี้สาคัญเป็นอันดับหนึ่ง วิธีคิด และคุณค่าความดีงามจะงอกงามขึ้นในใจเขา
ได้หรือไม่ขึ้นอยู่กับว่าลูกได้รับความรัก ความเอาใจใส่เพียงพอหรือไม่
ความรู้สึกปลอดภัย มีคุณค่าในตัวเองจะเกิดขึ้น เมื่อพ่อแม่เปิดใจยอมรับใน
ความชอบ ความต้องการของเขาด้วยความเข้าใจ อย่าทาให้บ้านเป็นที่ที่อยู่แล้ว
รู้สึกกดดัน หวาดกลัว
ให้พื้นที่กับด้านสว่างของเขาเป็นคาชมและกาลังใจในสิ่งที่เขาทาดี
(positivereinforcement)ผศ.ดร.อุษณี โพธิสุข ผู้เขียนหนังสือ ‘เมื่อลูกรัก
มีปัญหา’ แนะนาวิธีเสริมจุดแข็งของลูกจากประสบการณ์ในการทางาน
กับเด็กที่มีปัญหาระดับรุนแรงในโรงเรียนพิเศษสาหรับเด็กกลุ่มนี้และเป็น
ที่ปรึกษาให้พ่อแม่ผู้ปกครองมากว่า 20 ปี ไว้ดังนี้
14
1. เอ่ยขอบคุณเมื่อลูกช่วยงานบ้านหรือมีวินัยความเรียบร้อย ให้
เขาเห็นคุณค่าความดีงามและรู้สึกบวกที่จะมีวินัยติดตัวไปในภาย
หน้า
2. ให้รางวัลที่เขาชอบ อาจเป็นของโปรดหรือกิจกรรมที่เด็ก
สนใจ
3. กระตุ้นให้เขาลองลงมือทาในสิ่งที่ไม่มั่นใจ
4. กระตุ้นให้เขาเรียนรู้ ทาในสิ่งที่ทาไม่เป็น และแก้ปัญหา
ด้วยตัวเอง
5.ปลอบโยนเมื่อผิดพลาดและให้กาลังใจ
ตรงข้ามกับการเสริมจุดแข็ง พ่อแม่ที่ใช้วิธีลงโทษ (punishment) ดุด่า บังคับ ยื่นข้อห้ามเด็ดขาด
ไม่ให้ทาสิ่งที่พ่อแม่ไม่เห็นด้วย(negativereinforcement) หรือลิดรอนสิทธิบางอย่างที่เขาเคยได้
(extinction)เช่นยึดโน้ตบุ๊ค ในการรับมือพฤติกรรมไม่ได้อย่างใจของลูกโดยปราศจากการรับฟัง
ปัญหาอย่างเข้าใจ ธรรมชาติการปกป้องตนเองของเขาจะตื่นตัวทันที พวกเขาจะทาสิ่งที่สวนทาง
โกหกแอบทาโดยพ่อแม่ไม่รู้ หรือไม่ก็อาจระเบิดการต่อต้านและปิดกั้นตัวเองรุนแรงขึ้น
15
16
3. การสื่อสารในบ้านระหว่างพ่อแม่กับลูกต้องอยู่บนความเข้าใจและเมตตาธรรมดร.
โธมัส กอร์ดอน (Thomas Gordon) ผู้เขียนหนังสือ ‘P.E.T.Parenting EffectiveTraining’
และเปิดคอร์สอบรม ‘ห้องเรียนพ่อแม่’ในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้พ่อแม่เข้าใจลูกมาก
ขึ้น เสริมสร้างความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นจากการลดช่องว่างระหว่างวัยและบรรเทา
ปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่างครอบครัว ชี้ว่ากุญแจที่จะไขประตูใจของลูกให้เปิดออกได้คือ
การสื่อสารที่แสดงให้ลูกรู้ว่าพ่อแม่ยอมรับและให้ความสาคัญกับปัญหาของเขา
17
1. ท่าทีที่แสดงออกถึงการยอมรับเช่น พยักหน้าและสบตาระหว่างรับฟังหรือ นิ่งฟังอย่างตั้งใจไม่ทา
อย่างอื่นไปด้วย
2. คาพูดกระตุ้นหรือตอบสนองให้ลูกเล่าความคิด การตัดสินใจ แผนการ หรือความรู้สึก เช่น “อยากรู้
ว่าลูกคิดยังไงตอนเพื่อนสารภาพกับหนูแบบนั้น”“ยังไงอีกเล่าต่อสิ พ่อกาลังฟัง” หรือ “ฟังเหมือน
การประกวดเต้นนี้เป็นเรื่องสาคัญสาหรับหนูมากเลย ไหน…เล่าให้ฟังหน่อยสิจ๊ะ
3. รับฟังอย่างเข้าใจ ต้องมีคุณภาพและในเวลาที่เหมาะสมด้วยคือฟังเมื่อลูกพร้อมจะเล่าและเราพร้อม
จะฟัง ไม่มีเวลาก็ต้องบอกตามตรงแล้วหาเวลาคุยกันใหม่ ขณะฟังให้ตัดความคิดการตัดสิน การ
วิจารณ์ คาเทศนา สั่งสอน คาแนะนาต่างๆไว้ก่อน แค่รับฟังจากมุมมองความรู้สึกของเขาจนจบ ให้
เขาเห็นว่า เราไว้วางใจและยอมรับความรู้สึกของเขาไม่ว่าจะเป็นอย่างไร ถูกผิดไม่สาคัญ กระตุ้นให้
เขาคิดแก้ไข ตัดสินใจด้วยตนเองดูก่อน
18
แต่ก่อนจะสอนลูกไม่ให้ใช้อารมณ์เหวี่ยงวีน พ่อแม่ต้องย้อนดูที่ตนเองก่อนเวลาโมโห
ใช้อารมณ์คุยกับลูก แดกดัน ประชดประชันเสียดสีรึเปล่า หรือพ่อแม่บางคนเลือกที่จะ
เก็บซ่อนความโกรธ โมโหหรืออารมณ์ด้านลบทุกอย่างไม่ให้ลูกเห็นเลยเดินหนีทุก
ครั้งที่ตนหงุดหงิดหรือตอนลูกระเบิดอารมณ์
จอห์น แลมบี (John Lambie) อาจารย์สอนจิตวิทยามหาวิทยาลัย Anglia Ruskin
สหราชอาณาจักร บอกว่าโลกแห่งความจริงหนึ่งที่ลูกต้องเรียนรู้คือ พวกเขามีโอกาส
พบเจอคนที่กาลังหัวร้อน หรือตกอยู่ในอารมณ์เดือดพล่านเองได้เสมอพ่อแม่ต้องดึง
สติกับอารมณ์โกรธที่เกิดขึ้นและใช้โอกาสนี้แสดงวิธีการจัดการอารมณ์ให้พวกเขาดู
เป็นตัวอย่าง
ดังนั้น กำรที่พ่อแม่จะปิดกั้นอำรมณ์ด้ำนลบด้วยกำรทำเฉยวำงหน้ำนิ่งเฉยเหมือน
ไม่มีอะไรเกิดขึ้น หรือเดินหนีลูกไปด้วยสีหน้ำถมึงทึง ลูกจะสัมผัสได้ทันที กำรที่
พ่อแม่ไม่แชร์อำรมณ์เหล่ำนั้นทำให้เขำรู้สึกไม่มีค่ำและไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของ
ครอบครัว ดังนั้นทำงที่ดีที่สุดเมื่อรู้ว่ำตนเองกำลังโมโหหรือเหนื่อยล้ำสิ่งที่ควรทำ
คือ บอกควำมรู้สึกของตัวเองกับลูกไปตำมตรงโดยไม่ใส่อำรมณ์ว่ำตอนนี้กำลัง
รู้สึกเหนื่อย เครียด เพรำะอะไร และจะจัดกำรกับอำรมณ์ตัวเองอย่ำงไร
20
ไม่ใช่พ่อรับฟังและใช้ความเข้าใจ ให้อิสระในการคิด แต่แม่ไม่ยืดหยุ่นเข้มงวดทุกกระเบียดนอกจากลูกจะ
เกิดความสับสน เกิดการเลือกข้างและปิดกั้นแม่
21
อย่ามองว่าเขาดีกว่าหรือด้อยกว่าพี่ หรือเพื่อนในชั้น พยายามทา
ความเข้าใจว่าแต่ละคนมีพื้นฐานอารมณ์ ความถนัดไม่เหมือนกัน
เด็กแต่ละคนเหมือนสีคนละสี เฉดเข้มอ่อนคละกันไป บางคนว่า
นอนสอนง่าย ในขณะที่บางคนซน มีพลังล้นเหลือพ่อแม่ต้อง
ยืดหยุ่นปรับวิธีเลี้ยงดูให้เหมาะสมกับเขา
22
การเลี้ยงลูกเหมือนการฟูมฟักเมล็ดพันธุ์ให้เติบโตขึ้นด้วยการเอาใจใส่ รดน้า
เพิ่มใส่ปุ๋ ย กาจัดวัชพืช และหาพื้นที่ที่เหมาะสมกับชนิดของเขา ต้นไม้บาง
ต้นต้องปลูกลงกระถางชอบที่ร่มไม่ชอบแสงแดดบางต้นปลูกกลางแจ้งลง
ดิน พ่อแม่ต้องปรับกลยุทธ์ยืดหยุ่นกันตามแต่ว่าเขามีจุดเด่นแบบไหน
สถานการณ์เป็นอย่างไร ขอให้พ่อแม่ทุกคนวางใจเป็นกลางว่าไม่มีวิธีเลี้ยง
ลูกวิธีไหนที่ดีที่สุด และไม่มีใครเลี้ยงลูกได้สมบูรณ์แบบที่สุดความรู้และ
แนวทางการเลี้ยงลูกต่างๆเป็นเครื่องมือเสริมหนึ่งที่พ่อแม่สามารถปรับใช้
ตามความเหมาะสม อย่างไรก็ตาม ความรักความอบอุ่น ความเข้าใจ และ
สายใยในครอบครัวก็คือปัจจัยยืนหนึ่งที่ต้องมั่นคงเสียก่อน แสดงต้นแบบ
ของคนมีวุติภาวะทางอารมณ์และจิตใจที่เป็นตัวอย่างให้เขาเห็น ลูกก็จะ
เติบโตขึ้นด้วยการมองโลกในแง่บวกและมีวุฒิภาวะทางอารมณ์จิตใจที่
แข็งแรงตามไปด้วย
โครงงานนี้จัดขึ้นเพื่อนให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกน้อยโดยการใช้จิตวิทยา
หรือการใช้เหตุ-ผล และการวางตัวกับเด็กการตระหนักถึงการเลี้ยงลูกแบบผิดๆ
เช่น การเปรียบเทียบลูกตัวเองกับลูกคนอื่น การไม่รับฟังเหตุ-ผลของลูกเป็น
ต้น และมีการวางแผนในการเลี้ยงลูกอย่างถูกวิธี
24
ทางผู้จัดทาอยากมอบความรู้ในการเลี้ยงดูลูกโดยใช้เรื่องของจิตวิทยาเข้ามาช่วย เพื่อใช้ในการ
วางแผนเลี้ยงดูลูกให้กล้า
ที่จะถามหรือปรึกษาพ่อและแม่มากขึ้นโดยใช้หลักของจิตวิทยาหรือการใช้เหตด-ผลและอยาก
ให้ผู้ที่ได้เข้ามาอ่าน
โครงงานนี้ได้กลับไปประยุกต์ใช้ในการเลี้ยงดูลูกคาดว่าโครงงานเรื่องนี้จะเป็นผลประโยชน์
กับที่ได้เข้ามาอ่านในเรื่อง
ของการเลี้ยงลูกและหวังอีกอย่างหนึ่งว่าพ่อกับแม่จะเข้าใจลูกมากขึ้นรับฟังลูกมากขึ้น ขอให้
โครงงานของเราได้เกิดประโยชน์
สูงสุดในการเป็นคู่มือในการเลี้ยงลูก
25
1. ความต้องการด้านร่างกายคือ ความต้องการสิ่งจาเป็นพื้นฐานที่ใช้ในการ
ดารงชีวิต ได้แก่ อากาศ น้า อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค
2. ความต้องการด้านจิตใจ คือ ความต้องการความมั่นคงทางจิตใจ ซึ่งสามารถช่วย
สนับสนุนและผลักดันให้เขาประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย ได้แก่
- ความรักความอบอุ่น
- ความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย
- คาแนะนาและการสนับสนุน
- ความสม่าเสมอและมีขอบเขต
- โอกาสในการใช้พลังในทางที่สร้างสรรค์
26
•ต้องเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งเรื่องของพฤติกรรมและ ความคิด
•จิตใจดี มีความปรารถนาดีต่อเด็กอย่างจริงใจ
•มีอารมณ์คงที่ สุขุมเยือกเย็น รู้จักใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ มีอารมณ์ขันผ่อนคลาย
•ให้เกียรติ ยอมรับ ให้อภัย ให้กาลังใจ
•เสียสละเวลา โดยแบ่งเวลาตามภาระหน้าที่ ไม่ปล่อยให้เด็กต้องว้าเหว่ อยู่ตามลาพังปล่อย
ครั้ง
•เสียสละเงินทองตามกาลังที่มี เพื่อเป็นการสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาการทางการเรียนรู้ของ
เด็ก เช่น เงินในการทากิจกรรมต่างๆ
27
•ต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของบ้านในฐานะสมาชิกคนหนึ่ง โดยไม่ใช้อานาจของความ
เป็นพ่อแม่ บังคับให้ลูกปฏิบัติตามคาสั่งอย่างเดียว เช่น ทุกคนต้องรับผิดชอบงานในบ้าน
อย่างเท่าเทียมตามศักยภาพ การกลับบ้านตรงต่อเวลา หากเลยเวลาที่กาหนดต้องโทรแจ้ง
ให้สมาชิกในบ้านทราบ เป็นต้น
•เป็นผู้สนับสนุนส่งเสริมให้เด็กสามารถดูแลตัวเองได้เหมาะสมตามวัยเช่น การฝึกให้
ช่วยเหลือตัวเองเรื่องการอาบน้าแต่งตัว จัดเก็บของเล่นของตัวเอง เมื่อเด็กโตขึ้นฝึกให้
เขาได้ช่วยงานบ้าน รับผิดชอบหน้าที่หลักในบ้าน การดูแลตัวเองเมื่อต้องไป
โรงเรียน เป็นต้น
28
•เด็กไม่ต้องการให้ใครบงการหรือบังคับในสิ่งที่เขาไม่ชอบ พ่อแม่ควรให้
อิสระให้เขาได้ลองค้นหาตัวเองว่าชอบอะไรไม่ชอบอะไร และให้เขาได้
ตัดสินใจเลือกทาด้วยตัวเขาเอง โดยที่พ่อแม่เป็นผู้ให้คาแนะนาอยู่ข้างๆเมื่อ
เด็กต้องการ สิ่งที่พ่อ แม่ควรจาให้ขึ้นใจคือ “จะไม่ใช้เด็กมาเติมเต็มในสิ่งที่
ตัวเองขาด”
•ต้องมีกิจกรรมผ่อนคลายที่สามารถทาร่วมกันได้ในวันหยุดสุดสัปดาห์
•เมื่อมีปัญหา เด็กต้องการรับรู้เรื่องราวที่เกิดขึ้นภายในบ้านพ่อแม่ไม่ควรปิดบัง
เด็ก ควรแชร์เรื่องราวให้เขารับรู้และให้เหตุผลด้วยเสมอการที่เด็กรับรู้ปัญหาใน
บ้าน เขาจะได้คิดหาหนทางดูแลตัวเองเพื่อจะต้องไม่เป็นภาระของผู้อื่นตาม
หลักจิตวิทยาคนทุกคนไม่ว่าจะเป็นเด็กหรือผู้ใหญ่ต้องการศักดิ์ศรี ต้องการ
คุณค่าในชีวิต
29
30
31
จิตวิทยาการเลี้ยงดูเด็ก
https://www.honestdocs.co/psychology-of-parenting
6 หัวใจสาคัญ ของการใช้จิตวิทยาเชิงบวกปรับพฤติกรรมลูก
https://thepotential.org/2019/03/29/positive-psychology-sixth/
6 วิธีเลี้ยงลูกด้วยการคิดบวกช่วยพ่อแม่รู้จัก “อดทน” มากขึ้น
https://www.youtube.com/watch?v=dOJyfg9tREs
ใช้จิตวิทยาเชิงบวกกับเด็กคืออะไร?- ครอบครัวรู้ Kids
https://www.youtube.com/watch?v=V-
6IhJZBc3E&list=PLvCE3Dn1-
LGqrE_z8mvWMBDAbbuEoAUlR&index=13
32
นางสาว บัณฑิตา บุระเนตร
ชั้น ม.6/11 เลขที่ 22
THANK YOU
33

More Related Content

Similar to Com final

เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ tassanee chaicharoen
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.PdfAwantee
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์math015
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์sofia-m15
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์nurul027
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์saleehah053
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์math015
 
บรรยายลูกที่ดีของพ่อแม่
บรรยายลูกที่ดีของพ่อแม่บรรยายลูกที่ดีของพ่อแม่
บรรยายลูกที่ดีของพ่อแม่niralai
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์afafasmataaesah
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์afafasmataaesah
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรSasithon Charoenchai
 
บุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTaบุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTahrd2doae
 
พ่อของลูก
พ่อของลูกพ่อของลูก
พ่อของลูกniralai
 
Presentation final
Presentation finalPresentation final
Presentation finalssuser97d070
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการrorsed
 

Similar to Com final (20)

เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
เอกสารเผยแพร่โครงงานสุขภาพ
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
เฟียเจท์
เฟียเจท์เฟียเจท์
เฟียเจท์
 
บรรยายลูกที่ดีของพ่อแม่
บรรยายลูกที่ดีของพ่อแม่บรรยายลูกที่ดีของพ่อแม่
บรรยายลูกที่ดีของพ่อแม่
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
 
Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์Pptเปียเจต์
Pptเปียเจต์
 
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควรปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
ปัญหาท้องก่อนวัยอันควร
 
บุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTaบุคลิกภาพแนวTa
บุคลิกภาพแนวTa
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
พ่อของลูก
พ่อของลูกพ่อของลูก
พ่อของลูก
 
Presentation final
Presentation finalPresentation final
Presentation final
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
Original erikson 2
Original erikson 2Original erikson 2
Original erikson 2
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 

Com final