SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
1
สรุปประเด็น ข้อเสนอ กลไกการแก้ไขปัญหา
เวทีที่ 1 โครงการเสียงประชาชนที่ต้องฟังก่อนปฏิรูป (อีสานใต้)
วันที่ 25 กันยายน 2557 เวลา 8.30 - 16.30 น.
ณ หอประชุมไพรพะยอม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
จังหวัดอุบลราชธานี
----------------------------------------------------------
กลุ่มที่ 1 ที่ดิน – ป่าไม้
ข้อเสนอทางแก้ปัญหา
1. ออก พรบ. โฉนดชุมชน
2. พิสูจน์สิทธิและเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ออกโดยมิชอบ
3. เพิ่มสิทธิชุมชน (รัฐ + เอกชน + ชุมชน)
4. ยกเลิกคาสั่ง คสช.ที่ 64 และ 66
5. กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม
6. มีกลไกที่มีหน่วยงานเกี่ยวกับที่ดินมาดูแลที่ดินและป่าไม้ให้เป็นเอกภาพ โดยยกเลิกกฎหมาย การทางานของ
หน่วยงานที่เป็นอุปสรรคหรือซ้าซ้อน เช่น ยุบป่าไม้ , แก้ไขผังเมือง เป็นต้น
โดยให้มีตัวแทนชาวบ้านเข้าร่วมในการจัดการและตัดสินใจ
7. มีระบบฐานข้อมูลเรื่องที่ดินป่าไม้ที่เป็นเอกภาพ
8. ควรพิจารณาหลักฐานการพิสูจน์สิทธิในที่ดินนอกเหนือจากรายละเอียดในเอกสารสิทธิ์ คือ
- ประวัติศาสตร์ชุมชน
- ร่องรอยการทาประโยชน์
- สิ่งปลูกสร้าง
- สาแหรกตระกูล
2
- ต้นไม้ใหญ่
โดยต้อง “เคารพการดารงอยู่ของชุมชนดั้งเดิม”
9. ตั้งกองทุนที่ดินสนับสนุนการกระจายที่ดิน
10. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินของชุมชน
กลไกการแก้ไขปัญหา
การปฏิรูปกฎหมาย ด้านกระบวนการร่างกฎหมาย
1. พรบ. ภาษีที่ดินอัตราก้าวหน้า เพื่อกระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม
2. พรบ. ธนาคารที่ดิน เพื่อให้คนจน คนไร้ที่ดินและเกษตรกรรมสามารถเข้าถึงการเป็นเจ้าของที่ดินทากินและ
ที่อยู่อาศัยได้
3. พรบ. สิทธิชุมชน เพื่อจัดการที่ดินและทรัพยากร ให้ชุมชนมีสิทธิในการจัดการปกป้ องทรัพยากรและป้ องกัน
ปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่า ลดความขัดแย้งระหว่างชุมชน
การปฏิรูปโครงสร้างอานาจ
1. จัดตั้ง “สภาประชาชน” ให้ประชาชนมีสิทธิ อานาจในการจัดการป่าไม้-ที่ดิน โดยต้องมีผู้มีส่วนได้เสียเข้า
ร่วมเป็นคณะกรรมการ (ท้องถิ่น : ท้องที่ : ประชาชน)
2. จัดตั้ง “องค์กรอิสระ” จัดการที่ดินและป่าไม้ คณะเดียวมีเอกภาพในการจัดการที่ดิน-ป่าไม้ระดับประเทศ
3. จัดตั้ง “กองทุนที่ดิน” สนับสนุนการกระจายที่ดินและส่งเสริมประโยชน์การใช้ที่ดินของชุมชนอย่างยั่งยืน
…………………………………………………
3
กลุ่มที่ 2 (ทรัพยากร – เขื่อน และ พลังงาน)
ข้อเสนอ
1) ประชาชนในชุมชนที่มีส่วนได้ส่วนเสีย(ตัวแทนจากทุกภาคส่วน ทุกหมู่บ้าน จากทุกสายอาชีพ ที่เกี่ยวข้องและได้รับ
ผลกระทบทั้งโดยตรงและอ้อม ไม่มีการแอบบอ้างใช้เสียงของประชาชนโดยผู้นาชุมชน)มีส่วนร่วมในการศึกษา
สารวจข้อมูลและร่วมตัดสินใจ ก่อนดาเนินการโครงการขนาดใหญ่ ทั้งในเรื่อง
- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติในพื้นที่ชุมชน
- ผลกระทบด้านการกระกอบอาชีพ
- วิถิชีวิตของเขาบ้าน
- มาตรการการชดเชย หลักประกัน (สอดคล้องกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจริง)
- มาตรการดูแลและแผนการฟื้นฟู (มีการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง)
2) แก้กฎหมายให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการศึกษา EIA, EHIA มีโครงสร้างที่เป็นอิสระ โปรงใส มีอานาจ
ตัดสินใจเกี่ยวกับการดาเนินการโครงการ และมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนโดยเฉพาะชุมชน จาเป็นที่จะต้องไม่มีผู้ที่จะ
ได้รับผลประโยชน์จากโครงการอยู่ในคณะทางาน
3) มีช่องทางให้ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบสามารถร้องเรียนถึงปัญหาที่ประสบ ความไม่ถูกต้องที่เกิดขึ้น
4) มีมาตรการหลังโครงการอย่างต่อเนื่องและเป็นธรรม โครงการที่สร้างเสร็จแล้วถ้ามีผลกระทบต่อประชาชนและชุมชน
มากจนเกิดไป ประชาชนสามารถเรียกร้องให้ยุติโครงการ (ปิดเขื่อน ปิดโรงงานผลิตพลังงาน)
5) แก้กฎหมายทรัพยากรใต้ดิน ให้เป็นของท้องถิ่นในการบริหารจัดการ ไม่ใช้เป็นของรัฐ
6) มีการบริหารจัดการระบบน้า ผ่านภูมิปัญญาชาวบ้าน
7) ส่งเสริมให้ทุกบ้านในชุมชนผลิตก๊าซหุงต้มใช้เองในครัวเรือน การใช้พลังงานทางเลือก (ลม แสงอาทิตย์ เป็นต้น)
8) กาหนดนโยบาย ให้มีกองทุนเพื่อนาผลรายได้และกาไรจากโครงการ อย่างน้อย 20% ของรายได้ กลับเข้ามาดูแล
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน และฟื้นฟูพื้นที่นั้นๆ
9) คณะกรรมการส่งข้อเสนอสู่สาธารณะ และนาออกสื่ออย่างต่อเนื่องจนกว่าข้อเสนอเป็นรูปธรรม
4
กลไกในการแก้ไข
1) ประชาชมมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง สารวจประชนชนในพื้นที่ 100% และรับฟังปัญหารอบด้าน
2) มีคณะกรรมการอิสระทางานต่อเนื่องติดตามโครงการ (ทั้งนักวิชาการ + ชาวบ้าน + ปราชญ์ชาวบ้าน + ภาคประชา
สังคม + สื่อ + นักกฎหมายที่ชาวบ้านยอมรับ + การปกครอง กานัน)
3) มีการสื่อสารต่อสาธารณะผ่านช่องทางสื่อต่างๆ ทั้งสื่อหลักและสื่อท้องถิ่น
4) แก้ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทั้งกฎหมายทรัพยากรใต้ดินและ พ.ร.บ. ต่างๆที่จะให้สิทธิประชาชนในการมีส่วนร่วมใน
กระบวนการต่างๆมากขึ้น
........................................................
5
กลุ่มที่ ๓ กลุ่มเกษตรกรอีสานใต้ เวที เสียงประชาชนที่ต้องฟังก่อนปฏิรูป
ณ เมืองอุบลราชธานี
ข้อเสนอปฐมบท “กลุ่มเกษตรกร เวที เสียงประชาชนที่ต้องฟังก่อนปฏิรูป
ประกอบด้วย ประเด็นหลัก 3 ประเด็น
1. เกษตรอินทรีย์คุณภาพชีวิต
2. กฎหมายเรื่องเกษตร
3. การแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์
เกษตรอินทรีย์คุณภาพชีวิต :
จะนาให้ชีวิตเกษตรกรมีคุณภาพ ถนอมระบบสิ่งแวดล้อม ทั้งดิน น้า และ โรค
อีกทั้ง ระบบกลไกราคา และ กลไกการผลิตที่ลดต้นทุน
กลไกเดิม : เรื่องการรับรองคุณภาพสินค้าเกษตรกร
- เกษตรกรรับรองตนเอง
- หน่วยงานภายนอก อาทิ รัฐและเอกชน
กฎหมายเรื่องเกษตร : ว่าด้วยประเด็น
- FTA กรณี เมล็ดพันธุ์พืช อันเป็นข้อตกลงหรือเขตการค้าเสรี ที่กระทบต่อ
เกษตรกรรายย่อย ฉะนั้นข้อกังวลของเครือข่ายเกษตรกรจึงมีมติให้มีการทบทวน
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น กรอบแนวทางเรื่องต่าง ๆ ในกรณี FTA ยังมีประเด็นที่เป็น
ข้อกังวล ดังนี้การผูกขาดเมล็ดพันธุ์ , การคุ้มครองการลงทุน , สิทธิบัตรยา ,
หลักประกันสุขภาพ , ระบุให้ยกเลิกภา ภาษีศุลกากรเหล้าและบุหรี่ทั้งประเทศ
: โดยสถานการณ์ที่ผ่านมาจนถึงขณะนี้มีการเจรจาระหว่างกรมเจรจาระหว่างประเทศ
กับ กลุ่มสหภาพยุโรป ที่ผ่านมา 4 รอบ อย่างไม่มีส่วนร่วมของภาคประชาชน จึงเป็นข้อกังวล
6
- เกษตรพันธสัญญาในประเทศ รูปแบบการทาสัญญาไม่เป็นธรรม
ระบบอาหารบริโภคในปัจจุบันมาจากการผลิตระบบเกษตรพันธสัญญาและมีสารเคมี
อย่างเข้มข้น
การแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ : ระบุกลไกใหม่ที่จะทาให้เกิดผลสาเร็จ
- ให้มีการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการจัดการ การตลาดทั้งระบบ
- ภาครัฐส่งเสริมด้านการค้นคว้า วิจัย ให้ถึงมือเกษตรกร
กลไกใหม่
- เกษตรอินทรีย์เป็นวาระแห่งชาติ
- จัดตั้งสภาเกษตรกรอินทรีย์
- ตั้งสถาบัน / องค์กร โรงเรียน / มหาวิทยาลัย เกษตรอินทรีย์ ผลิตองค์ความรู้และ
บุคคล ด้านเกษตรอินทรีย์และพัฒนาผลิตภัณฑ์
มีหน้าที่ : กากับดูแลบังคับใช้ส่งเสริมระเบียบ ส่งเสริมการเรียนรู้เกษตรกรอินทรีย์
- ให้เกษตรกรเป็นองค์กรจัดการตนเอง โดยการร่วมตัวสร้างเครือข่าย
- ยกระดับปราชญ์ชาวบ้าน ในระดับอาเภอให้ทาหน้าที่ให้ความรู้เครือข่าย
- มีศูนย์ปราชญ์ชาวบ้านยกระดับชาวบ้านเป็นผู้สอนเกษตรกรคนรุ่นใหม่
- มีช่องทีวี / สื่อเฉพาะเกษตรกรอินทรีย์
********************************
7
กลุ่ม ๔
ประเด็น กระบวนการยุติธรรม
ประเด็นที่ ๑
ข้อเสนอ ผลักดันการส่งเสริมโอกาสและความเสมอภาคระหว่างเพศ
ที่มา - จากความไม่เป็นธรรมและการถูกเลือกปฏิบัติของสตรี
- ได้เคยมีการเสนอร่าง พ.ร.บ.นี้เข้าสู่สภาแล้วจานวน ๒ ฉบับ คือ ฉบับที่เสนอโดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความ
มั่นคงของมนุษย์ และฉบับ ของประชาชน ซึ่งมีความแตกต่างกันในบางประการเช่น มาตรา ๓ ของร่างของร่างของ
กระทรวง พม. ตอนท้าย มีข้อยกเว้น “...กรณีมีเหตุผลทางวิชาการ ทางศาสนา หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะ”แต่ฉบับ
ประชาชนไม่มี
- มองว่าผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดส่วนใหญ่ล้วนเป็นผู้ชายจึงไม่ค่อยรับฟังเสียงของผู้หญิง
กลไก มีคณะกรรมการดาเนินการจัดทาและผลักดันจนสามารถนาเข้าสู่สภาใหม่ได้
เสนอร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมโอกาสและความเสมอภาคระหว่างเพศ (ฉบับประชาชน) และกดดันรอบใหม่
ประเด็นที่ ๒
ข้อเสนอ การมีสัญชาติและการมีสถานะทางทะเบียน
ที่มา ปัจจุบันมี พ.ร.บ. สัญชาติ ปี ๒๕๕๑ มาตรา ๒๓ กาหนดให้ผู้ที่เกิดก่อน ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ เป็นคนไทยแล้ว แต่
ปัจจุบันยังไม่มีการดาเนินการแต่ไม่คืบหน้า ทาให้ไม่มีบัตรประชาชน จึงไม่สามารถเข้าถึงสิทธิการรักษาพยาบาล บางคน
ไม่มีเงินรักษาจนต้องปล่อยให้เสียชีวิต
ต้องการให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติอย่างตรงไปตรงมา
มีประชาชนอีกกลุ่มหนึ่งที่ไม่ใช่แรงงานต่างด้าว แต่เป็นบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน (เป็นบุคคลที่เป็นคนลาว
อพยพเข้ามาในปี ๒๕๑๘ และรัฐกาหนดให้มีเลขบัตรประจาตัวประชาชนเป็น เลข ๐
ก่อนเพื่อรอเปลี่ยนเป็นบุคคลประเภท เลข ๖ แต่จนถึงปัจจุบันยังไม่มีการดาเนินการใดๆ จึงไม่มีสิทธิรักษาพยาบาล
8
อุปสรรค กลไกของรัฐระดับพื้นที่ไม่ประสานงานกัน (ระดับปฏิบัติ)
การเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาล
- ระดับนโยบาย เปลี่ยนกลับไปกลับมา
- ระดับปฏิบัติ การโยกย้าย
กลไก เสนอร่างพระราชบัญญัติสัญชาติและพิจารณาสถานะทางทะเบียน
ตั้งคณะทางานตรวจสอบติดตามอย่างต่อเนื่อง จริงจัง โดยมีผู้ส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องนี้เข้าเป็นคณะทางาน)
จัดตั้งเครือข่าย
มีกลุ่มสิทธิมนุษยชน (นักวิชาการ นักกฎหมาย)
ประเด็นที่ ๓
ข้อเสนอ การแก้ปัญหาหนี้ของประชาชน
ที่มา ปัจจุบันปัญหาหนี้นอกระบบมีหลากหลายรูปแบบ มีเจ้าหนี้นอกระบบใช้ช่องว่างของกฎหมายมาเอาเปรียบ
หาผลประโยชน์ ซึ่งปัญหาลงลึกไปถึงระดับหมู่บ้านแล้ว
กลไก แก้กฎหมายเพิ่มบทลงโทษผู้ที่ปล่อยเงินกู้นอกระบบ ทั้งทางแพ่งและอาญา
ให้ความรู้กับชาวบ้านเพื่อไม่ให้ถูกโกง ถูกเอารัดเอาเปรียบ
ประเด็นที่ ๔
ข้อเสนอ การปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม
ที่มา ปัจจุบันกระบวนการยุติธรรมมีปัญหาตั้งแต่ขั้นตอนการไต่สวน
ประชาชนเข้าไม่ถึงกองทุนยุติธรรม เนื่องจาก ไม่ทราบ งบประมาณมีน้อย
กองทุนยุติธรรมควรช่วยเหลือประชาชนคนจนได้จริงๆ เช่นเรื่องการประกันตัว การมีทนายช่วยเหลือ
ปัญหากองทุนยุติธรรมในปัจจุบันคือ ความล่าช้า ทาให้ไม่สามารถช่วยเหลือประชาชนได้ทันท่วงที ความไม่
ทั่วถึง
9
กลไก เปลี่ยนระบบการพิจารณาคดีจากระบบกล่าวหา เป็น ระบบไต่สวน
ยกระดับกองทุนยุติธรรมเป็นกฎหมาย โดยได้รับเงินอุดหนุนจากภาครัฐ จากค่าธรรมเนียมศาลและค่าปรับ
ต่างๆ
ตั้งคณะทางานดาเนินการอย่างต่อเนื่อง
..................................................................
10
กลุ่มที่ 7 เสียงก่อนการปฏิรูปทางการศึกษา
ข้อเสนอ
1. มีการพัฒนาศักยภาพและยกระดับจิตใจของเด็กไทย
-การปลูกฝังเยาวชนในด้านคุณธรรม จริยธรรม มีจิตใจเพื่อส่วนรวม พึ่งพาตนเองได้
-มีทักษะชีวิต ทักษะความเป็นมนุษย์ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา
-สร้างคน ให้เด็กพัฒนาต่อสิ่งที่ตนชานาญ สอนให้เด็กรู้จักตนเอง
2. มีการปรับหลักสูตร(ปฏิวัติหลักสูตร)ให้เหมาะสมกับปัจจุบัน
-มีการออกแบบการเรียนการสอนให้ตอบสนองและตรงกับความถนัดและความสนใจของเด็ก
-ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ใหม่
-มีการเรียนรู้เชิงปฏิบัติให้เพิ่มมากขึ้น ให้เป็นการเรียนแบบ Active Learning เพื่อพัฒนากระบวนการคิดอย่าง
เป็นเหตุเป็นผล
-ปรับการเรียนรู้ให้เหมาะตามหลักสูตร เพื่อลดการเรียนพิเศษเพิ่ม
-การส่งเสริมในการเรียนรู้ภาษาที่3 เช่นภาษาASEAN ภาษาอังกฤษ
-พัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐานเป็นของตนเองและเทียบเท่าสากล
3. มีการให้ความสาคัญและเพิ่มการศึกษาทางเลือก/สายอาชีพ ที่ดีและเพียงพอ
4. เป้ าหมายการศึกษาที่มีความหลากหลาย / มีการศึกษาสาหรับทุกคน / การศึกษาตลอดชีวิต
11
5. ให้ความเท่าเทียมในการเข้าถึงการศึกษา/ มีการจัดการศึกษาที่ทั่วถึงอย่างแท้จริง
6. ปรับโครงสร้าง/ระบบ/กระทรวงศึกษาธิการ พรบ.ทางการศึกษา
7. โรงเรียนสามารถจัดการศึกษา่่ที่เป็นอิสระได้ด้วยตนเอง
-มีการกระจายอานาจจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น
-โรงเรียนจัดการบริหารงบประมาณด้วยตนเอง
8. จัดการศึกษาให้หลายฝ่ายมีส่วนร่วม ไม่ใช่เฉพาะแต่กระทรวงศึกษาเท่านั้น
-บ้าน -โรงเรียน - วัด-ชุมชน
-มีการเรียนการสอนที่มีชุมชนมีส่วนร่วมออกแบบ มีการเรียนรู้เชิงวัฒนธรรมให้เข้ากับบริบทสังคมในพื้นที่/
ปราชญ์ชาวบ้าน
9. มีการบูรณาการร่วมมือกันระหว่างภาคเอกชนและสถานศึกษาในการจัดการศึกษา เพื่อสร้างบุคลากรทาง
การศึกษาที่มีคุณภาพและตรงต่ออาชีพ ทักษะที่ตลาดต้องการ
10. มีองค์กร/สถาบันที่สร้างครูที่เป็นครูอย่างแท้จริง มีการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง
-สามารถผลิตครูโดยตรง เพื่อคุณภาพครูที่ดีและมีจิตวิญญาณที่จะเป็นครูจริงๆ
11. มีระบบวิทยะฐานะและค่าตอบแทนที่เหมาะสม
-ให้ครูได้มีเวลาสอนอย่างเต็มที่ ให้ผู้บริหารได้อยู่โรงเรียนมากขึ้น มากกว่ามุ่งสู่การทางานเพื่อปรับตาแหน่ง
ของตนเอง
12
12. ให้การศึกษาที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง
-ไม่มีระบบการเลือกตั้งตัวแทนครู
-ให้มีรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาที่มีประสบการณ์ทางการศึกษาโดยตรง ไม่ใช่แค่นักการเมือง
-งดการทุจริตคอรัปชั่นในวงการศึกษา
กลไกที่จะทาให้เป็นจริง
1. ให้มีการกระจายอานาจจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น ให้โรงเรียนจัดการตนเอง
- จังหวัดต้องรักษามาตรฐานของตัวเอง จัดเกณฑ์ให้เหมาะสมกับท้องถิ่น
2. พัฒนาระบบการผลิตครู
-ครูมีความสามารถ มีความรู้ที่ครอบคลุม หลากหลาย
-ครูมีจิตวิญญาณในความเป็นครู
-ตั้งองค์กร/สถาบัน ที่รองรับโดยเฉพาะ
3. มีการร่วมมือของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา
- เกิดการบูรณาการ ระหว่างรัฐ ชุมชน โรงเรียน เอกชน
4. วางทิศทางของระบบการศึกษาให้ชัดเจน
-หลักสูตร
-องค์กรที่รองรับ
-สร้างคนให้กับระบบการศึกษา และสร้างคนให้ตอบสนองทั้งสายสามัญ และอาชีพ
5. มีการแก้ไขกฎหมาย พรบ.ทางการศึกษาที่เป็นอุปสรรค
13
-พัฒนาตัวแม่แบบทางการศึกษา
6. มีการจัดทาสื่อในการเรียนรู้แบบใหม่
7. ถอดบทเรียนจากระบบการศึกษาที่สาเร็จ เพื่อมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
8. มีการรับฟังความต่างทางความคิด ยอมรับความคิดเห็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เพื่อปฏิรูปการศึกษา
..................................................................
14
กลุ่ม 6 การปฏิรูปการเมือง โครงสร้างทางการเมือง
ข้อเสนอแนะ / ข้อเรียกร้อง ระดับท้องถิ่น
1 .อยากให้มีการตรวจสอบ ถ่วงดุลการใช้อานาจระดับท้องถิ่น
2. ลดอานาจผู้บริหารระดับท้องถิ่น และเพิ่มอานาจในการตรวจสอบถ่วงดุลผู้บริหารท้องถิ่นทุกระดับ
3. อยากให้มีสภาประชาชน / สภาพลเมือง ทุกระดับ
4. ผู้บริหารท้องถิ่นควรดารงตาแหน่งไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน ครั้งละ 4-5 ปี และให้เว้นวรรคทางการเมือง และห้ามส่ง
เครือญาติลงสมัครแทน
5. ต้องการให้มีการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น และประชาชน และให้มีจังหวัดจัดการตนเอง และให้ผู้ว่า
ราชการมาจากการเลือกตั้ง
6 .อยากให้มีการยุบ รวมองค์กรปกครองท้องถิ่นขนาดเล็ก (อบต) และรวมกันเป็นเทศบาล และให้ยุบ อบจ
7 ให้ประชาชนมีอานาจตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ โดยมีกฎหมายรองรับ และประชาชนสามารถเสนอกฎหมายได้
8 ให้ประชานมีสิทธิในการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณระดับท้องถิ่น เสนอแนะแนวทางการพัฒนาในระดับท้องถิ่น
9 ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ด้านประชาธิปไตย / การเมือง ผ่านสถาบันการศึกษา
10 ให้รัฐช่วยเหลือเหลือค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีต่างๆ โดยเฉพาะคดีคอรัปชั่นทางการเมือง
ข้อเสนอแนะ / ข้อเรียกร้อง ระดับประเทศ
1. นายกรัฐมนตรีต้องไม่สังกัดพรรคการเมืองใดเลย
2. นายกรัฐมนตรีต้องมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
3. ให้นายกรัฐมนตรีดารงตาแหน่งไม่เกิน 2 วาระ
4. ให้มีสภาการเมือง เพื่อทาหน้าที่อบรมคุณธรรม จริยธรรม และสามารถลงโทษนักการเมืองที่คอรัปชั่นได้ด้วย
5. เพิ่มโทษคดีคอรัปชั่น เพิ่มอายุความในคดีคอรัปชั่น มีการลงโทษให้ชัดเจนเด็ดขาด และมีการช่วยเหลือประชาชนใน
การดาเนินคดีทางการเมือง หรือคดีทุจริตของนักการเมือง
15
6. ส.ส. ต้องมาจากคนในพื้นที่เท่านั้น ห้ามมาจากจังหวัดอื่น เขตอื่น เพื่อที่จะเข้าใจปัญหาและสนใจแก้ปัญหาในพื้นที่
อย่างจริงจัง
7. ส.ส.ควรมาจากสาขาอาชีพที่ตนเองสังกัด ถนัด เชี่ยวชาญ
8. กาหนดให้มีจานวน ส.ส. ตามสัดส่วนของอาชีพ
9. กาหนดให้มีการอบรมผู้สมัคร ส.ส. อบรมด้านคุณธรรม จริยธรรม
10. ส.ส. รมต. ควรสังกัดกระทรวงที่ตรงตามสาขาอาชีพ ความเชี่ยวชาญของตน
11 ผู้สมัครที่จะลงสมัครนายกรัฐมนตรี ต้องเสนอรายชื่อคณะรัฐมนตรี ประกอบเพื่อให้ประชาชนพิจารณาด้วย
12 ข้าราชระดับ 8 ขึ้นไป ถือว่ามีคุณสมบัติสามารถนักการเมืองได้
13 ต้องการมีรัฐบาลกลาง เพื่อบริหารประเทศในระยะเปลี่ยนผ่าน ประมาณ 4-5ปี
กลไกที่จะทาให้ข้อเสนอแนะเป็นจริง
1 รูปแบบสภาประชาชน
ให้มีสภาประชาชนเพื่อถ่วงดุลอานาจรัฐ โดยจัดให้มีสภาประชาชนคู่ขนาดเป็นขาที่ 4
อำนำจนิติบัญญัติ
สภำประชำชนอำนำจบริหำร
อำนำจตุลำกำร
16
สภาประชาชนมาจากประชาชนทุกสาขาอาชีพ โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
ประเภท ก มาจากคนในองค์กรต่างๆ
ประเภท ข มาจากตัวแทนกลุ่มอาชีพต่างๆ
ประเภท ค มาจากผู้ที่เดือดร้อนในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
อานาจ + หน้าที่ของสภาประชาชน
1 มีสิทธิเข้าร่วมในการพิจารณางบประมาณ เสนองบประมาณประจาปีในระดับประเทศและระดับท้องถิ่นได้ด้วย
2 มีสิทธิในการยับยั้ง การตัดสินใจของรัฐ ในการดาเนินนโยบาย โครงการการพัฒนาต่างๆ (วีโต้)
3 มีสิทธิในการตรวจสอบ และประเมินผลการทางานต่างๆ ของผู้แทน
4 สิทธิในการเสนอ หรือยับยั้ง (ร่าง) กฎหมายต่างๆ เพื่อนาสู่กระบวนการประชามติ
…………………………………………………
ระดับชำติ / รัฐบำลกลำง
ระดับท้องถิ่น
ระดับจังหวัดสภำประชำชน
17
กลุ่มที่ 7 การปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ
1. ปัญหา
a.ขาดข้อมูลวิชาการจากภาครัฐความรู้ในการผลิตตามความต้องการของตลาดทาให้เกินการผลิตที่เกิน
ความต้องการทาให้โดนกดราคาทาให้ไม่มีอานาจการกาหนดราคาตลาด
b.ขาดบุคลากรภาครัฐทางวิชาการที่เข้าใจปัญหาที่ต้องส่งเสริมวิธีการด้านเศรฐกิจและการผลิต
c.สินค้าที่ผลิตไม่เป็นตามมาตรฐานของตลาด (อย,GMP)ทาให้ผู้บริโภคขาดความเชื่อมั่น
d.ขาดงบสนับสนุนของภาครัฐที่ตรงเป้ าหมายหรือมีงบสนับสนุนต่างๆ(กองทุนสตรี,กองทุนหมู่บ้านฯลฯ)
แต่ไม่ทราบว่าจะเข้าถึงกองทุนต่างๆอย่างไรหรือมีปัญหาคุณสมบัติที่ยุ่งยากไม่สามารถเข้าถึงได้
เนื่องจากกฏเกณฑ์คุณสมบัติค่อนข้างยุ่งยาก
e.หนี้สินครัวเรือนของเกษตรกร(ธกส)ที่เป็นผู้ผลิตวัตถุดิบป้ อนตลาดรวมถึงการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่จะใช้
ในการขยายโรงงานและหมุนเวียนใช้จ่ายในธุรกิจ
f. การไม่มีรายได้หลังหน้าฤดูเพาะปลูก
g.ค่าครองชีพสูงรายได้ต่า
2. ข้อเสนอแนะ
a.ให้มีการสร้างอาชีพเสริมหลังน่านาเพื่อมีรายได้เสริมกับครอบครัว
b.ให้มีการลดต้นทุนการเกษตรสนับสนุนปัจจัยการผลิตกับเกษตรกร
c.อยากให้รัฐมีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อทาการขยายการผลิตเงินกู้ดอกเบี้ยต่าโดยรัฐผลักดัน
d.ให้มีการประชาสัมพันธ์ถึงช่องทางเข้าถึงกลไกกองทุนต่างๆที่รัฐตั้งขึ้น
e.ให้รัฐสนับสนุนเงินผ่านกลุ่มออมทรัพย์ทั้งที่จดทะเบียนและไม่จดทะเบียน
f. ลดกฏเกณฑ์เงื่อนไขคุณสมบัติเพื่อให้เข้าถึงแหล่งกองทุนต่างๆได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพ
g.อยากให้รัฐหาตลาดให้
18
h.ให้รัฐผลักดันให้เกิดใช้กลไกภาครัฐมาใช้สนับสนุนรับรองมาตรฐาน (ม.อุบล,สาธารณสุข)เพื่อให้
ผู้บริโภคมั่นใจในตัวสินค้าและสามารถขยายตลาดได้มากขึ้น
i. ให้รัฐมีหน่วยงานให้คาแนะนาในเรื่องที่จาเป็นโดยเป็นคนที่รู้จริงในปัญหานั้นๆเพื่อให้คาแนะนาได้มี
ประสิทธิภาพและให้ความรู้การศึกษาในด้านเศรษฐกิจ
j. ให้รัฐทาแผนงานเพื่อส่งเสริมการผลิตให้มีประสิทธิภาพ
k.รัฐส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มของทุกกลุ่มในทางเศรฐกิจ(วิสาหกิจชุมชน,กลุ่มแม่บ้าน,SME ฯลฯ)เพื่อ
เข้าไปกาหนดนโยบายและแผนงานระดับจังหวัดและประเทศ(กรอ)
l. ให้รัฐมีการส่งเสริมยกระดับสินค้าที่ผลิตได้ให้เกิด Value มากกว่าสินค้า Mass
m. ให้รัฐสร้างโครงสร้างพื้นฐานการผลิตรองรับผลผลิตหรือเพื่อลดต้นทุนการผลิต
n.ให้รัฐกระจายอานาจเพื่อให้จังหวัดได้จัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
o.ให้ทาการบูรณาการของทุกกระทรวงที่ส่งเสริมกลุ่มเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดผลที่มีประสิทธิภาพเพราะ
ปัจจุบันต่างคนต่างส่งเสริมเรื่องเดียวกันทาให้ประสิทธิภาพต่า
p.อยากให้รัฐปรับเปลี่ยนการทางานตามฤดูงบประมาณเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง
q.ให้รัฐสนับสนุนส่งเสริมอย่างต่อเนื่องทั้งการเป็นพี่เลี้ยงติดตามผลต่อเนื่อง
r. ใช้แนวทาง Digital Economy เป็นแนวทางสร้างเรื่องราวและขายผ่านทาง IT รวมถึงให้มหาวิทยาลัยเข้า
ช่วยในการส่งเสริมเช่นเอาสินค้าของผู้ประกอบการไปให้นักศึกษาวิจัยระหว่างเรียนเพื่อให้สามารถจบ
แล้วสร้างงานได้มากกว่าใบปริญญา
s.ใช้แนวทาง เศรฐกิจสร้างสรรค์
t. แก้ปัญหาการผลิตเกินโดยใช้ระบบโซนนิ่งในการผลิต
3. กลไกแนวทางการแก้ปัญหา
a.กองทุนกฏหมายและเครื่องมือ
19
i. โดยทาการออกกฏหมายใหม่เพื่อสามารถทาการกาหนดแผนงานเพื่อนาไปสู่การกาหนด
นโยบายทั้งระดับจังหวัดและประเทศ
b.การมีส่วนร่วม
i. กลไกเชื่อมโยงระบบการศึกษาสถาบันเพื่อสร้างงานบนฐานแนวคิด Digital Economy
และเศรฐกิจสร้างสรรค์
ii. มีการวางรูปแบบการจัดตั้งองค์กรเครือข่ายเศรษฐกิจทุกระดับเพื่อผลักดันนโยบายรวมถึง
การลดต้นทุนและการจาหน่ายสินค้าไม่ให้เกิดการกดราคา
c.การสื่อสาร
i. ให้ปรับแก้แนวทางการสื่อสารช่องทางการเข้ารับการสนับสนุนจากภาครัฐไม่ว่าจะด้านการ
ให้คาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญที่จะมาเป็นพี่เลี้ยงหรือให้กลุ่มออมทรัพย์เป็นโครงสร้างพื้นฐาน
ขับเคลื่อนในการเข้าถึงแหล่งกองทุนต่างๆที่รัฐสนับสนุน
……………………………………………
20
กลุ่มที่ 8 การอยู่ร่วมกันบนความเห็นต่างทางการเมือง:ภาพอนาคตการเมืองไทยร่วมกัน
 รากเหง้าของความขัดแย้งนั้น คือ การทุจริต คอรัปชั่น ไม่คานึงถึงผลประโยชน์ของประชาชน องค์กรอิสระไม่มี
ความเป็นกลาง ขาดศักยภาพในการตรวจสอบ เมื่อนักการเมืองเสียผลประโยชน์ ดึงมวลชนไปเป็นพวก ทาให้
แตกแยก ขัดแย้งกัน ให้ประชาชนมาฆ่ากันเอง
 คนลุ่มน้าโขงทุกคนเป็นพี่น้องกันหมด เราไม่ได้โกรธเกลียดกัน เรารักกัน การเมืองต่างหากที่ขัดแย้ง ประชาชน
ไม่ได้ขัดแย้งกัน แต่หลายๆ ฝ่ายก็ไม่ได้ฟังเสื้อแดงว่าต้องการอะไร
 เราไม่ปฏิเสธว่าจะใช้ระบบไหนปกครองประเทศ หากเป็นระบอบประชาธิปไตย ประชาธิปไตยต้องมีศีลธรรม
ไม่เอาคนโกง เราทั้งสองฝ่ายต่างยืนบนความถูกต้อง
 คนทั่วไปมองว่า ศาสนาไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง บทบาทของศาสนาคือ พาให้คนพ้นทุกข์ การเมืองก็ทาให้คน
พ้นทุกข์เช่นกัน ดังนั้น ศาสนาจะไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองได้อย่างไร เป้ าหมายของศาสนาและการเมืองที่
เหมือนกัน คือ การพาให้คนพ้นทุกข์ คนอาสามาทางานการเมือง หาผลประโยชน์เข้าตัวเอง ทาให้ประเทศชาติ
เสียหาย การที่ม.ราชธานีอโศกออกไปที่ท้องถนน หรือที่ไหนๆ ก็ตาม เพื่อออกมาจัดการให้สังคมเกิดความเป็น
ธรรม
 ทั้งสองฝ่าย ราชธานีอโศก และเสื้อแดง เราไม่ได้ขัดแย้ง เราข้ามผ่านความขัดแย้งมาแล้ว สิ่งที่ขัดแย้งกันอย่าง
แท้จริง คือ การเมือง
 จุดร่วมกันของทั้งสองฝ่าย คือ การจัดการการทุจริต ให้ออกไปจากสังคม
 สังคมไทยขาดแบบอย่างที่ดี ทาให้สังคมไทยไม่สนใจเรื่องการมีคุณธรรม ถูกล้างสมองให้เชื่อการทุจริต
คอรัปชั่นเป็นเรื่องธรรมดาในสังคมไทย
 สิ่งที่ทั้งสองฝ่ายต้องการทาร่วมกัน คือ การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น รณรงค์ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง
ยกตัวอย่างเช่น หากเราต้องการให้คนดี มีคุณธรรมเข้าไปบริหารประเทศ ต้องเริ่มต้นจากการไม่ซื้อสิทธิ์ขาย
เสียง ข้าราชการต้องไม่เป็นทาสรับใช้นักการเมือง
21
ข้อเสนอของทั้งสองฝ่าย คือ การต่อต้านการทุจริต คอรัปชั่น
กลไกที่ทาให้ข้อเสนอเป็นจริง
 ต้องปลุกจิตสานึกร่วมกันในสังคม ปลูกศีลธรรม สร้างค่านิยมใหม่ สร้างแบบอย่างที่ดีให้คนรุ่นหลังได้เห็น ให้
คนในสังคมมีคุณธรรมจริยธรรม ต่อต้านการทุจริต คอรัปชั่น
 สื่อ เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนรณรงค์ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น ให้คนโกงเกิดความละอาย เกรงกลัวต่อ
บาป อย่างเช่น ม.ราชธานีอโศก นักการเมืองไม่กล้าเข้ามาหาเสียง เพราะรู้ว่าซื้อเสียงไม่ได้
 ควรสร้างพื้นที่ในการพูดคุยกัน
 กฎหมายต้องใช้ได้จริง ทาให้กฎหมายมีความศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงคนที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฏหมาย ต้อง
ดาเนินการอย่างจริงจัง อย่างเช่น หากตรวจสอบว่า นักการเมืองทุจริตคอรัปชั่น ต้องมีบทลงโทษอย่างเด็ดขาด
เช่น ยึดทรัพย์ทั้งหมด และยกเว้นการเล่นการเมืองไปตลอดชีวิต
.......................................................
22
ประเด็นการสนทนาร่วมกลุ่มคละประเด็นปัญหา
ผลการนาเสนอของกลุ่มย่อยตามประเด็นปัญหาต่อกลุ่มใหญ่ มีข้อสรุปร่วมกันในประเด็นสาคัญ 4 หัวข้อ ได้แก่
1. การสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อขับเคลื่อนให้ข้อเสนอเป็นจริง
2. การกระจายอานาจและการขับเคลื่อนในประเด็นจังหวัดจัดการตนเอง
3. การใช้สื่อสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอของประชาชน
4. การสร้างพื้นที่พูดคุยของกลุ่มที่มีความเห็นขัดแย้งแตกต่างกัน
จากนั้นได้มีการแบ่งกลุ่มย่อยตามความสนใจ คละประเด็นปัญหาโดยให้เลือกเข้ากลุ่มตามหัวข้อทั้ง 4 โดยสมัครใจ ผล
ของการสนทนาในกลุ่มย่อยตามความสนใจนี้มีดังนี้
23
1. การสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อขับเคลื่อนให้ข้อเสนอเป็นจริง
กลไกการมีส่วนร่วม
ทาอย่างไรให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างแท้จริง
ต้องการให้เกิดสภาประชาชน เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้อานาจที่มีอยู่ของตนเองได้อย่างแท้จริง
วิธีการ
๑. แต่งตั้งคณะทางาน มาจาก
๑.๑ ประชาชนต้องปฏิรูปตนเองก่อน
๑.๒ ประชาชนมีจิตอาสาอยากจะช่วยเหลือประเทศอย่างแท้จริง
๒. รณรงค์การมีส่วนร่วมผ่านทางทุกภาคส่วน ทั้งชุมชน หมู่บ้าน สถาบันการศึกษา
๓. ประชุมคณะทางาน เพื่อพูดคุยหารือ โดยได้รับคาแนะนาและข้อเสนอแนะจากนักกฎหมาย นักวิชาการ และ
ผู้เชี่ยวชาญต่างๆ และเพื่อ (ร่าง) กฎหมายสาหรับรองรับการจัดตั้งสภาประชาชน และกฎหมายอื่น โดยเน้นที่
การยกเลิกกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม และเพิ่มเติมกฎหมายที่จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนมากขึ้น, การเปิดเวที
สาธารณะเพื่อแลกเปลี่ยนความเห็น โดยจัดให้ทั่วถึงในทุกภูมิภาคของประเทศ
๔. ออกแบบโครงสร้างของสภาประชาชน ว่าควรเป็นอย่างไร มีจานวนคนเท่าไร บริหารจัดการอย่างไร
๕. ประมวลผลการพูดคุย และข้อเสนอแนะของเครือข่ายต่างๆ
หมายเหตุ: กลไกการมีส่วนร่วมค่อนข้างสอดคล้องกับกลไกการปฏิรูปกฎหมาย ซึ่งจะมีรายละเอียดโครงสร้างของสภา
ประชาชนอยู่
24
2. การกระจายอานาจและการขับเคลื่อนในประเด็นจังหวัดจัดการตนเอง
การกระจายอานาจ การจัดการตนเอง
โครงสร้าง
รัฐบาลกลาง
- รวมศูนย์อานาจ
- กาหนดนโยบาย
- ระบบอุปถัมภ์
- เป็นการสั่งการแนวดิ่ง ทาให้ชุมชนอ่อนแอ
ราชการส่วนภูมิภาค
- กระทรวง กรม
- ศาลากลางจังหวัด
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- อบจ เทศบาล อบต อ
การจัดการตนเองของประชาชน
การจัดการตนเองให้มีความเข็มแข็งรองรับการกระจายอานาจ จะทาอย่างไรบ้าง
- ใช้จุดแข็งทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต นาไปสู่การรวมกลุ่ม
- การรวมกลุ่มปัญหา เช่น ป่าชุมชน เครือข่าย องค์กรชุมชน เจรจาแก้ไขปัญหา กับหน่วยงานราชการ
- ชุนชนร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย NGO เครือข่ายนักวิชาการ
- เจ้าของปัญหารวมกลุ่มต่อสู้ โดยมีผู้นาตามธรรมชาติ
- ทุนในการจัดการตนเอง มีจิตสานึกในการดูแลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และการพึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรี
- ชุมชนน่าจะมีแผนมีมีงบประมาณสู่ชุมชนโดยตรง
- มีองค์กรชุมชนที่มีความรู้ความเข็มแข็ง มีความหลายหลายในแต่ละสาขาอาชีพ
25
- การสร้างกระบวนการจิตอาสา จิตสานึกดีงาม สุจริตโปร่งใส และมีข้อตกลง กติการ่วมกัน
- ประชาชนร่วมคิด ร่วมทา มีส่วมร่วมในการดาเนินกิจกรรม จะทาให้ชาวบ้านรักสามัคคี ห่วงแหนชุมชนตนเอง
กระบวนการกระจายอานาจและให้ได้มาชึ้งอานาจ ชุมชนจะสร้างกระบวนการต่อรองอย่างไร? และจะขับเคลื่อนไปสู่
เป้ าหมายนั้นได้อย่างไร และจะออกแบบกระบวนการอย่างไร
- ใช้วิธี การกระจายอานาจสู่ชุมชน แนวราบ
- ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแกนกลาง ในชุมชน
- ให้มีการคัดสรรตัวแทน กลุ่มอาชีพ เครือข่าย กลุ่มปัญหา อื่นๆ เข้ามาทางานคู่ขนานกับ อปท ในรูปแบบของ สภา
พลเมือง
- ให้เพิ่มอานาจการตรวจสอบโดยองค์กรอิสระ กระบวนการยุติธรรม
26
3. การใช้สื่อสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอของประชาชน
ประเด็นการสื่อสาร : เวทีเสียงประชาชนต้องฟังก่อนปฏิรูป (บ่าย)
หอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
25 กันยายน 2557
นาเสนอกลไก : ประเด็นการสื่อสารในพื้นที่ชุมชนท้องถิ่น 3 ประเด็นหลัก
1. จัดตั้งองค์กรสื่อท้องถิ่นภาคประชาชน
2. จัดตั้งกองทุนสนับสนุนสื่อท้องถิ่น
3. กากับให้มีการสื่อสารประเด็นท้องถิ่นสู่สาธารณะอย่างต่อเนื่อง
จัดตั้งองค์กรสื่อท้องถิ่นภาคประชาชน
หน้าที่ กาหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนประเด็นข่าวสารในชุมชนท้องถิ่น ให้ได้นาเผยแพร่สู่ช่องทางสื่อท้องถิ่นและ
เผยแพร่ในส่วนกลาง
องค์กรสื่อท้องถิ่นภาคประชาชน ประกอบด้วย
นักวิชาการ 10 %
นักกฏหมาย 10 %
ตัวแทนรัฐ 10 %
นักวิชาชีพสื่อท้องถิ่น 10 %
ประชาชนผู้บริโภคสื่อ 60 %
27
บทบาทหน้าที่
- ควบคุมคุณภาพสื่อท้องถิ่น
- กาหนดยุทธศาสตร์การสื่อสารสื่อท้องถิ่นเชื่อส่วนกลางให้ได้เผยแพร่
- วางกรอบเนื้อหาการสื่อสารปัญหาชุมชนสู่สาธารณะอย่างต่อเนื่อง
- ผลักดันให้เกิดการใช้ภาษาถิ่นในการสื่อสาร
จัดตั้งกองทุนสนับสนุนสื่อท้องถิ่น
- เพื่อกากับดูแลคุณภาพสื่อ คัดกรองสื่อท้องถิ่น ในการมีสิทธิเข้ารับการสนับสนุนจากกองทุนผู้ร่วมผลิตสื่อ
ท้องถิ่น อย่างเป็นกัลยาณมิตรธรรมประชาชน
- กากับดูแล เรื่องการคุ้มครองสิทธิ นักข่าว ผู้สื่อข่าว นักสื่อสารท้องถิ่น
- ร่าง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารสื่อชุมชน-สื่อท้องถิ่น
กากับให้มีการสื่อสารประเด็นท้องถิ่นสู่สาธารณะอย่างต่อเนื่อง
จัดให้สื่อท้องถิ่นชุมชน ภาคประชาชน มีพื้นที่และมีความต่อเนื่องในการสื่อสาร ประเด็นท้องถิ่น ประเด็นชุมชน สู่
พื้นที่ส่วนกลางอย่างต่อเนี่อง โดยเฉพาะสื่อของรัฐ จะต้องให้พื้นที่ในการเผยแพร่ข้อมูล โดยให้วัฒนธรรมทางภาคถิ่นใน
การรายงานประเด็นพื้นที่ ขณะนี้เกิดปัญหาการสื่อสาร การรับสื่อจากส่วนกลาง (ภาษากลาง) เป็นอุปสรรค ไม่สามารถ
แปลความได้อย่างถูกต้องโดยเฉพาะผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน
**********************************
28
4. การสร้างพื้นที่พูดคุยของกลุ่มที่มีความเห็นขัดแย้งแตกต่างกัน
การสร้างพื้นที่พูดคุย
ภาคประชาชน/กลุ่มคนที่มีความเข้มแข็ง หรือสถานศึกษา เป็นเจ้าภาพ
- ควรจัดหาสถานที่ที่เป็นกลาง คนที่เป็นกลาง
-จัดเวทีในสถาบันให้ชาวบ้านนาเสนอ โดยการจัดกระบวนการ
มีการพูดคุยผ่านสื่อต่างๆเช่น โทรทัศน์ วิทยุ
- ภาคชุมชนโดยสภาชาวบ้าน ชุมชน สามารถจัดได้ทุกตาบล เช่น ประเด็นปัญหาของท้องถิ่นเช่นปัญหาขยะ
- ควรพิจารณาเรื่องที่พูดคุย กับคนที่คุย
- การพูดคุยควรมีสาระและมีแนวทางปฏิบัติ มิฉะนั้นเป็นวาทะที่เลื่อนลอย อาจจัดตั้งในรูปคณะกรรมการ
กาหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาวบ้าน มีการสร้างกติกาการพูดคุย เช่น ในหนึ่งเดือนจะกาหนดให้มีการพูดคุย
๑ ครั้ง มิฉะนั้นชาวบ้านจะไม่สนใจ
- จัดระดับการพูดคุย ทั้งระดับท้องถิ่น ระดับภาค
- มีกลไกการจัดการเช่น มีสภาพูดคุยหมู่บ้าน สภาตาบล สภาอาเภอ สภาท้องถิ่น สภาจังหวัด (ตัวอย่างจากศูนย์
ยุติธรรมชุมชน)
- หลังจากที่มีการพูดคุยแล้วควรมีการดาเนินการต่อ
……………………………………………………

More Related Content

More from Tum Meng

เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทยเหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทยTum Meng
 
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)Tum Meng
 
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)Tum Meng
 
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองสรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองTum Meng
 
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกEduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกTum Meng
 
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้Tum Meng
 
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนEduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนTum Meng
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....Tum Meng
 
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราโรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราTum Meng
 
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่Tum Meng
 
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)Tum Meng
 
Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Tum Meng
 
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าTum Meng
 
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นหลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นTum Meng
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองTum Meng
 
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum InthiraPLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum InthiraTum Meng
 
PLANNER 2013 By Tum Inthira
PLANNER 2013 By Tum InthiraPLANNER 2013 By Tum Inthira
PLANNER 2013 By Tum InthiraTum Meng
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควนTum Meng
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”Tum Meng
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”Tum Meng
 

More from Tum Meng (20)

เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทยเหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
 
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
 
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
 
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองสรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
 
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกEduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
 
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
 
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนEduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
 
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราโรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
 
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
 
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
 
Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015
 
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
 
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นหลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
 
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum InthiraPLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
PLANNER 2013 (Theme cartoon) By Tum Inthira
 
PLANNER 2013 By Tum Inthira
PLANNER 2013 By Tum InthiraPLANNER 2013 By Tum Inthira
PLANNER 2013 By Tum Inthira
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
“5 เสือ...ฐานรากการผสานพลังชุมชน”
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
 

สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)

  • 1. 1 สรุปประเด็น ข้อเสนอ กลไกการแก้ไขปัญหา เวทีที่ 1 โครงการเสียงประชาชนที่ต้องฟังก่อนปฏิรูป (อีสานใต้) วันที่ 25 กันยายน 2557 เวลา 8.30 - 16.30 น. ณ หอประชุมไพรพะยอม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ---------------------------------------------------------- กลุ่มที่ 1 ที่ดิน – ป่าไม้ ข้อเสนอทางแก้ปัญหา 1. ออก พรบ. โฉนดชุมชน 2. พิสูจน์สิทธิและเพิกถอนโฉนดที่ดินที่ออกโดยมิชอบ 3. เพิ่มสิทธิชุมชน (รัฐ + เอกชน + ชุมชน) 4. ยกเลิกคาสั่ง คสช.ที่ 64 และ 66 5. กระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม 6. มีกลไกที่มีหน่วยงานเกี่ยวกับที่ดินมาดูแลที่ดินและป่าไม้ให้เป็นเอกภาพ โดยยกเลิกกฎหมาย การทางานของ หน่วยงานที่เป็นอุปสรรคหรือซ้าซ้อน เช่น ยุบป่าไม้ , แก้ไขผังเมือง เป็นต้น โดยให้มีตัวแทนชาวบ้านเข้าร่วมในการจัดการและตัดสินใจ 7. มีระบบฐานข้อมูลเรื่องที่ดินป่าไม้ที่เป็นเอกภาพ 8. ควรพิจารณาหลักฐานการพิสูจน์สิทธิในที่ดินนอกเหนือจากรายละเอียดในเอกสารสิทธิ์ คือ - ประวัติศาสตร์ชุมชน - ร่องรอยการทาประโยชน์ - สิ่งปลูกสร้าง - สาแหรกตระกูล
  • 2. 2 - ต้นไม้ใหญ่ โดยต้อง “เคารพการดารงอยู่ของชุมชนดั้งเดิม” 9. ตั้งกองทุนที่ดินสนับสนุนการกระจายที่ดิน 10. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินของชุมชน กลไกการแก้ไขปัญหา การปฏิรูปกฎหมาย ด้านกระบวนการร่างกฎหมาย 1. พรบ. ภาษีที่ดินอัตราก้าวหน้า เพื่อกระจายการถือครองที่ดินอย่างเป็นธรรม 2. พรบ. ธนาคารที่ดิน เพื่อให้คนจน คนไร้ที่ดินและเกษตรกรรมสามารถเข้าถึงการเป็นเจ้าของที่ดินทากินและ ที่อยู่อาศัยได้ 3. พรบ. สิทธิชุมชน เพื่อจัดการที่ดินและทรัพยากร ให้ชุมชนมีสิทธิในการจัดการปกป้ องทรัพยากรและป้ องกัน ปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่า ลดความขัดแย้งระหว่างชุมชน การปฏิรูปโครงสร้างอานาจ 1. จัดตั้ง “สภาประชาชน” ให้ประชาชนมีสิทธิ อานาจในการจัดการป่าไม้-ที่ดิน โดยต้องมีผู้มีส่วนได้เสียเข้า ร่วมเป็นคณะกรรมการ (ท้องถิ่น : ท้องที่ : ประชาชน) 2. จัดตั้ง “องค์กรอิสระ” จัดการที่ดินและป่าไม้ คณะเดียวมีเอกภาพในการจัดการที่ดิน-ป่าไม้ระดับประเทศ 3. จัดตั้ง “กองทุนที่ดิน” สนับสนุนการกระจายที่ดินและส่งเสริมประโยชน์การใช้ที่ดินของชุมชนอย่างยั่งยืน …………………………………………………
  • 3. 3 กลุ่มที่ 2 (ทรัพยากร – เขื่อน และ พลังงาน) ข้อเสนอ 1) ประชาชนในชุมชนที่มีส่วนได้ส่วนเสีย(ตัวแทนจากทุกภาคส่วน ทุกหมู่บ้าน จากทุกสายอาชีพ ที่เกี่ยวข้องและได้รับ ผลกระทบทั้งโดยตรงและอ้อม ไม่มีการแอบบอ้างใช้เสียงของประชาชนโดยผู้นาชุมชน)มีส่วนร่วมในการศึกษา สารวจข้อมูลและร่วมตัดสินใจ ก่อนดาเนินการโครงการขนาดใหญ่ ทั้งในเรื่อง - ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมธรรมชาติในพื้นที่ชุมชน - ผลกระทบด้านการกระกอบอาชีพ - วิถิชีวิตของเขาบ้าน - มาตรการการชดเชย หลักประกัน (สอดคล้องกับผลกระทบที่เกิดขึ้นจริง) - มาตรการดูแลและแผนการฟื้นฟู (มีการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง) 2) แก้กฎหมายให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการศึกษา EIA, EHIA มีโครงสร้างที่เป็นอิสระ โปรงใส มีอานาจ ตัดสินใจเกี่ยวกับการดาเนินการโครงการ และมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนโดยเฉพาะชุมชน จาเป็นที่จะต้องไม่มีผู้ที่จะ ได้รับผลประโยชน์จากโครงการอยู่ในคณะทางาน 3) มีช่องทางให้ประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบสามารถร้องเรียนถึงปัญหาที่ประสบ ความไม่ถูกต้องที่เกิดขึ้น 4) มีมาตรการหลังโครงการอย่างต่อเนื่องและเป็นธรรม โครงการที่สร้างเสร็จแล้วถ้ามีผลกระทบต่อประชาชนและชุมชน มากจนเกิดไป ประชาชนสามารถเรียกร้องให้ยุติโครงการ (ปิดเขื่อน ปิดโรงงานผลิตพลังงาน) 5) แก้กฎหมายทรัพยากรใต้ดิน ให้เป็นของท้องถิ่นในการบริหารจัดการ ไม่ใช้เป็นของรัฐ 6) มีการบริหารจัดการระบบน้า ผ่านภูมิปัญญาชาวบ้าน 7) ส่งเสริมให้ทุกบ้านในชุมชนผลิตก๊าซหุงต้มใช้เองในครัวเรือน การใช้พลังงานทางเลือก (ลม แสงอาทิตย์ เป็นต้น) 8) กาหนดนโยบาย ให้มีกองทุนเพื่อนาผลรายได้และกาไรจากโครงการ อย่างน้อย 20% ของรายได้ กลับเข้ามาดูแล พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชน และฟื้นฟูพื้นที่นั้นๆ 9) คณะกรรมการส่งข้อเสนอสู่สาธารณะ และนาออกสื่ออย่างต่อเนื่องจนกว่าข้อเสนอเป็นรูปธรรม
  • 4. 4 กลไกในการแก้ไข 1) ประชาชมมีส่วนร่วมอย่างแท้จริง สารวจประชนชนในพื้นที่ 100% และรับฟังปัญหารอบด้าน 2) มีคณะกรรมการอิสระทางานต่อเนื่องติดตามโครงการ (ทั้งนักวิชาการ + ชาวบ้าน + ปราชญ์ชาวบ้าน + ภาคประชา สังคม + สื่อ + นักกฎหมายที่ชาวบ้านยอมรับ + การปกครอง กานัน) 3) มีการสื่อสารต่อสาธารณะผ่านช่องทางสื่อต่างๆ ทั้งสื่อหลักและสื่อท้องถิ่น 4) แก้ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ทั้งกฎหมายทรัพยากรใต้ดินและ พ.ร.บ. ต่างๆที่จะให้สิทธิประชาชนในการมีส่วนร่วมใน กระบวนการต่างๆมากขึ้น ........................................................
  • 5. 5 กลุ่มที่ ๓ กลุ่มเกษตรกรอีสานใต้ เวที เสียงประชาชนที่ต้องฟังก่อนปฏิรูป ณ เมืองอุบลราชธานี ข้อเสนอปฐมบท “กลุ่มเกษตรกร เวที เสียงประชาชนที่ต้องฟังก่อนปฏิรูป ประกอบด้วย ประเด็นหลัก 3 ประเด็น 1. เกษตรอินทรีย์คุณภาพชีวิต 2. กฎหมายเรื่องเกษตร 3. การแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ เกษตรอินทรีย์คุณภาพชีวิต : จะนาให้ชีวิตเกษตรกรมีคุณภาพ ถนอมระบบสิ่งแวดล้อม ทั้งดิน น้า และ โรค อีกทั้ง ระบบกลไกราคา และ กลไกการผลิตที่ลดต้นทุน กลไกเดิม : เรื่องการรับรองคุณภาพสินค้าเกษตรกร - เกษตรกรรับรองตนเอง - หน่วยงานภายนอก อาทิ รัฐและเอกชน กฎหมายเรื่องเกษตร : ว่าด้วยประเด็น - FTA กรณี เมล็ดพันธุ์พืช อันเป็นข้อตกลงหรือเขตการค้าเสรี ที่กระทบต่อ เกษตรกรรายย่อย ฉะนั้นข้อกังวลของเครือข่ายเกษตรกรจึงมีมติให้มีการทบทวน ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น กรอบแนวทางเรื่องต่าง ๆ ในกรณี FTA ยังมีประเด็นที่เป็น ข้อกังวล ดังนี้การผูกขาดเมล็ดพันธุ์ , การคุ้มครองการลงทุน , สิทธิบัตรยา , หลักประกันสุขภาพ , ระบุให้ยกเลิกภา ภาษีศุลกากรเหล้าและบุหรี่ทั้งประเทศ : โดยสถานการณ์ที่ผ่านมาจนถึงขณะนี้มีการเจรจาระหว่างกรมเจรจาระหว่างประเทศ กับ กลุ่มสหภาพยุโรป ที่ผ่านมา 4 รอบ อย่างไม่มีส่วนร่วมของภาคประชาชน จึงเป็นข้อกังวล
  • 6. 6 - เกษตรพันธสัญญาในประเทศ รูปแบบการทาสัญญาไม่เป็นธรรม ระบบอาหารบริโภคในปัจจุบันมาจากการผลิตระบบเกษตรพันธสัญญาและมีสารเคมี อย่างเข้มข้น การแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ : ระบุกลไกใหม่ที่จะทาให้เกิดผลสาเร็จ - ให้มีการส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการจัดการ การตลาดทั้งระบบ - ภาครัฐส่งเสริมด้านการค้นคว้า วิจัย ให้ถึงมือเกษตรกร กลไกใหม่ - เกษตรอินทรีย์เป็นวาระแห่งชาติ - จัดตั้งสภาเกษตรกรอินทรีย์ - ตั้งสถาบัน / องค์กร โรงเรียน / มหาวิทยาลัย เกษตรอินทรีย์ ผลิตองค์ความรู้และ บุคคล ด้านเกษตรอินทรีย์และพัฒนาผลิตภัณฑ์ มีหน้าที่ : กากับดูแลบังคับใช้ส่งเสริมระเบียบ ส่งเสริมการเรียนรู้เกษตรกรอินทรีย์ - ให้เกษตรกรเป็นองค์กรจัดการตนเอง โดยการร่วมตัวสร้างเครือข่าย - ยกระดับปราชญ์ชาวบ้าน ในระดับอาเภอให้ทาหน้าที่ให้ความรู้เครือข่าย - มีศูนย์ปราชญ์ชาวบ้านยกระดับชาวบ้านเป็นผู้สอนเกษตรกรคนรุ่นใหม่ - มีช่องทีวี / สื่อเฉพาะเกษตรกรอินทรีย์ ********************************
  • 7. 7 กลุ่ม ๔ ประเด็น กระบวนการยุติธรรม ประเด็นที่ ๑ ข้อเสนอ ผลักดันการส่งเสริมโอกาสและความเสมอภาคระหว่างเพศ ที่มา - จากความไม่เป็นธรรมและการถูกเลือกปฏิบัติของสตรี - ได้เคยมีการเสนอร่าง พ.ร.บ.นี้เข้าสู่สภาแล้วจานวน ๒ ฉบับ คือ ฉบับที่เสนอโดยกระทรวงพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์ และฉบับ ของประชาชน ซึ่งมีความแตกต่างกันในบางประการเช่น มาตรา ๓ ของร่างของร่างของ กระทรวง พม. ตอนท้าย มีข้อยกเว้น “...กรณีมีเหตุผลทางวิชาการ ทางศาสนา หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะ”แต่ฉบับ ประชาชนไม่มี - มองว่าผู้มีอานาจตัดสินใจสูงสุดส่วนใหญ่ล้วนเป็นผู้ชายจึงไม่ค่อยรับฟังเสียงของผู้หญิง กลไก มีคณะกรรมการดาเนินการจัดทาและผลักดันจนสามารถนาเข้าสู่สภาใหม่ได้ เสนอร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมโอกาสและความเสมอภาคระหว่างเพศ (ฉบับประชาชน) และกดดันรอบใหม่ ประเด็นที่ ๒ ข้อเสนอ การมีสัญชาติและการมีสถานะทางทะเบียน ที่มา ปัจจุบันมี พ.ร.บ. สัญชาติ ปี ๒๕๕๑ มาตรา ๒๓ กาหนดให้ผู้ที่เกิดก่อน ๒๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ เป็นคนไทยแล้ว แต่ ปัจจุบันยังไม่มีการดาเนินการแต่ไม่คืบหน้า ทาให้ไม่มีบัตรประชาชน จึงไม่สามารถเข้าถึงสิทธิการรักษาพยาบาล บางคน ไม่มีเงินรักษาจนต้องปล่อยให้เสียชีวิต ต้องการให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติอย่างตรงไปตรงมา มีประชาชนอีกกลุ่มหนึ่งที่ไม่ใช่แรงงานต่างด้าว แต่เป็นบุคคลที่ไม่มีสถานะทางทะเบียน (เป็นบุคคลที่เป็นคนลาว อพยพเข้ามาในปี ๒๕๑๘ และรัฐกาหนดให้มีเลขบัตรประจาตัวประชาชนเป็น เลข ๐ ก่อนเพื่อรอเปลี่ยนเป็นบุคคลประเภท เลข ๖ แต่จนถึงปัจจุบันยังไม่มีการดาเนินการใดๆ จึงไม่มีสิทธิรักษาพยาบาล
  • 8. 8 อุปสรรค กลไกของรัฐระดับพื้นที่ไม่ประสานงานกัน (ระดับปฏิบัติ) การเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาล - ระดับนโยบาย เปลี่ยนกลับไปกลับมา - ระดับปฏิบัติ การโยกย้าย กลไก เสนอร่างพระราชบัญญัติสัญชาติและพิจารณาสถานะทางทะเบียน ตั้งคณะทางานตรวจสอบติดตามอย่างต่อเนื่อง จริงจัง โดยมีผู้ส่วนเกี่ยวข้องในเรื่องนี้เข้าเป็นคณะทางาน) จัดตั้งเครือข่าย มีกลุ่มสิทธิมนุษยชน (นักวิชาการ นักกฎหมาย) ประเด็นที่ ๓ ข้อเสนอ การแก้ปัญหาหนี้ของประชาชน ที่มา ปัจจุบันปัญหาหนี้นอกระบบมีหลากหลายรูปแบบ มีเจ้าหนี้นอกระบบใช้ช่องว่างของกฎหมายมาเอาเปรียบ หาผลประโยชน์ ซึ่งปัญหาลงลึกไปถึงระดับหมู่บ้านแล้ว กลไก แก้กฎหมายเพิ่มบทลงโทษผู้ที่ปล่อยเงินกู้นอกระบบ ทั้งทางแพ่งและอาญา ให้ความรู้กับชาวบ้านเพื่อไม่ให้ถูกโกง ถูกเอารัดเอาเปรียบ ประเด็นที่ ๔ ข้อเสนอ การปรับปรุงกระบวนการยุติธรรม ที่มา ปัจจุบันกระบวนการยุติธรรมมีปัญหาตั้งแต่ขั้นตอนการไต่สวน ประชาชนเข้าไม่ถึงกองทุนยุติธรรม เนื่องจาก ไม่ทราบ งบประมาณมีน้อย กองทุนยุติธรรมควรช่วยเหลือประชาชนคนจนได้จริงๆ เช่นเรื่องการประกันตัว การมีทนายช่วยเหลือ ปัญหากองทุนยุติธรรมในปัจจุบันคือ ความล่าช้า ทาให้ไม่สามารถช่วยเหลือประชาชนได้ทันท่วงที ความไม่ ทั่วถึง
  • 9. 9 กลไก เปลี่ยนระบบการพิจารณาคดีจากระบบกล่าวหา เป็น ระบบไต่สวน ยกระดับกองทุนยุติธรรมเป็นกฎหมาย โดยได้รับเงินอุดหนุนจากภาครัฐ จากค่าธรรมเนียมศาลและค่าปรับ ต่างๆ ตั้งคณะทางานดาเนินการอย่างต่อเนื่อง ..................................................................
  • 10. 10 กลุ่มที่ 7 เสียงก่อนการปฏิรูปทางการศึกษา ข้อเสนอ 1. มีการพัฒนาศักยภาพและยกระดับจิตใจของเด็กไทย -การปลูกฝังเยาวชนในด้านคุณธรรม จริยธรรม มีจิตใจเพื่อส่วนรวม พึ่งพาตนเองได้ -มีทักษะชีวิต ทักษะความเป็นมนุษย์ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษา -สร้างคน ให้เด็กพัฒนาต่อสิ่งที่ตนชานาญ สอนให้เด็กรู้จักตนเอง 2. มีการปรับหลักสูตร(ปฏิวัติหลักสูตร)ให้เหมาะสมกับปัจจุบัน -มีการออกแบบการเรียนการสอนให้ตอบสนองและตรงกับความถนัดและความสนใจของเด็ก -ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ใหม่ -มีการเรียนรู้เชิงปฏิบัติให้เพิ่มมากขึ้น ให้เป็นการเรียนแบบ Active Learning เพื่อพัฒนากระบวนการคิดอย่าง เป็นเหตุเป็นผล -ปรับการเรียนรู้ให้เหมาะตามหลักสูตร เพื่อลดการเรียนพิเศษเพิ่ม -การส่งเสริมในการเรียนรู้ภาษาที่3 เช่นภาษาASEAN ภาษาอังกฤษ -พัฒนาหลักสูตรให้มีมาตรฐานเป็นของตนเองและเทียบเท่าสากล 3. มีการให้ความสาคัญและเพิ่มการศึกษาทางเลือก/สายอาชีพ ที่ดีและเพียงพอ 4. เป้ าหมายการศึกษาที่มีความหลากหลาย / มีการศึกษาสาหรับทุกคน / การศึกษาตลอดชีวิต
  • 11. 11 5. ให้ความเท่าเทียมในการเข้าถึงการศึกษา/ มีการจัดการศึกษาที่ทั่วถึงอย่างแท้จริง 6. ปรับโครงสร้าง/ระบบ/กระทรวงศึกษาธิการ พรบ.ทางการศึกษา 7. โรงเรียนสามารถจัดการศึกษา่่ที่เป็นอิสระได้ด้วยตนเอง -มีการกระจายอานาจจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น -โรงเรียนจัดการบริหารงบประมาณด้วยตนเอง 8. จัดการศึกษาให้หลายฝ่ายมีส่วนร่วม ไม่ใช่เฉพาะแต่กระทรวงศึกษาเท่านั้น -บ้าน -โรงเรียน - วัด-ชุมชน -มีการเรียนการสอนที่มีชุมชนมีส่วนร่วมออกแบบ มีการเรียนรู้เชิงวัฒนธรรมให้เข้ากับบริบทสังคมในพื้นที่/ ปราชญ์ชาวบ้าน 9. มีการบูรณาการร่วมมือกันระหว่างภาคเอกชนและสถานศึกษาในการจัดการศึกษา เพื่อสร้างบุคลากรทาง การศึกษาที่มีคุณภาพและตรงต่ออาชีพ ทักษะที่ตลาดต้องการ 10. มีองค์กร/สถาบันที่สร้างครูที่เป็นครูอย่างแท้จริง มีการพัฒนาครูอย่างต่อเนื่อง -สามารถผลิตครูโดยตรง เพื่อคุณภาพครูที่ดีและมีจิตวิญญาณที่จะเป็นครูจริงๆ 11. มีระบบวิทยะฐานะและค่าตอบแทนที่เหมาะสม -ให้ครูได้มีเวลาสอนอย่างเต็มที่ ให้ผู้บริหารได้อยู่โรงเรียนมากขึ้น มากกว่ามุ่งสู่การทางานเพื่อปรับตาแหน่ง ของตนเอง
  • 12. 12 12. ให้การศึกษาที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง -ไม่มีระบบการเลือกตั้งตัวแทนครู -ให้มีรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาที่มีประสบการณ์ทางการศึกษาโดยตรง ไม่ใช่แค่นักการเมือง -งดการทุจริตคอรัปชั่นในวงการศึกษา กลไกที่จะทาให้เป็นจริง 1. ให้มีการกระจายอานาจจากส่วนกลางสู่ท้องถิ่น ให้โรงเรียนจัดการตนเอง - จังหวัดต้องรักษามาตรฐานของตัวเอง จัดเกณฑ์ให้เหมาะสมกับท้องถิ่น 2. พัฒนาระบบการผลิตครู -ครูมีความสามารถ มีความรู้ที่ครอบคลุม หลากหลาย -ครูมีจิตวิญญาณในความเป็นครู -ตั้งองค์กร/สถาบัน ที่รองรับโดยเฉพาะ 3. มีการร่วมมือของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา - เกิดการบูรณาการ ระหว่างรัฐ ชุมชน โรงเรียน เอกชน 4. วางทิศทางของระบบการศึกษาให้ชัดเจน -หลักสูตร -องค์กรที่รองรับ -สร้างคนให้กับระบบการศึกษา และสร้างคนให้ตอบสนองทั้งสายสามัญ และอาชีพ 5. มีการแก้ไขกฎหมาย พรบ.ทางการศึกษาที่เป็นอุปสรรค
  • 13. 13 -พัฒนาตัวแม่แบบทางการศึกษา 6. มีการจัดทาสื่อในการเรียนรู้แบบใหม่ 7. ถอดบทเรียนจากระบบการศึกษาที่สาเร็จ เพื่อมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 8. มีการรับฟังความต่างทางความคิด ยอมรับความคิดเห็น ความขัดแย้งที่เกิดขึ้น เพื่อปฏิรูปการศึกษา ..................................................................
  • 14. 14 กลุ่ม 6 การปฏิรูปการเมือง โครงสร้างทางการเมือง ข้อเสนอแนะ / ข้อเรียกร้อง ระดับท้องถิ่น 1 .อยากให้มีการตรวจสอบ ถ่วงดุลการใช้อานาจระดับท้องถิ่น 2. ลดอานาจผู้บริหารระดับท้องถิ่น และเพิ่มอานาจในการตรวจสอบถ่วงดุลผู้บริหารท้องถิ่นทุกระดับ 3. อยากให้มีสภาประชาชน / สภาพลเมือง ทุกระดับ 4. ผู้บริหารท้องถิ่นควรดารงตาแหน่งไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน ครั้งละ 4-5 ปี และให้เว้นวรรคทางการเมือง และห้ามส่ง เครือญาติลงสมัครแทน 5. ต้องการให้มีการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองท้องถิ่น และประชาชน และให้มีจังหวัดจัดการตนเอง และให้ผู้ว่า ราชการมาจากการเลือกตั้ง 6 .อยากให้มีการยุบ รวมองค์กรปกครองท้องถิ่นขนาดเล็ก (อบต) และรวมกันเป็นเทศบาล และให้ยุบ อบจ 7 ให้ประชาชนมีอานาจตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ โดยมีกฎหมายรองรับ และประชาชนสามารถเสนอกฎหมายได้ 8 ให้ประชานมีสิทธิในการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณระดับท้องถิ่น เสนอแนะแนวทางการพัฒนาในระดับท้องถิ่น 9 ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ด้านประชาธิปไตย / การเมือง ผ่านสถาบันการศึกษา 10 ให้รัฐช่วยเหลือเหลือค่าใช้จ่ายในการดาเนินคดีต่างๆ โดยเฉพาะคดีคอรัปชั่นทางการเมือง ข้อเสนอแนะ / ข้อเรียกร้อง ระดับประเทศ 1. นายกรัฐมนตรีต้องไม่สังกัดพรรคการเมืองใดเลย 2. นายกรัฐมนตรีต้องมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน 3. ให้นายกรัฐมนตรีดารงตาแหน่งไม่เกิน 2 วาระ 4. ให้มีสภาการเมือง เพื่อทาหน้าที่อบรมคุณธรรม จริยธรรม และสามารถลงโทษนักการเมืองที่คอรัปชั่นได้ด้วย 5. เพิ่มโทษคดีคอรัปชั่น เพิ่มอายุความในคดีคอรัปชั่น มีการลงโทษให้ชัดเจนเด็ดขาด และมีการช่วยเหลือประชาชนใน การดาเนินคดีทางการเมือง หรือคดีทุจริตของนักการเมือง
  • 15. 15 6. ส.ส. ต้องมาจากคนในพื้นที่เท่านั้น ห้ามมาจากจังหวัดอื่น เขตอื่น เพื่อที่จะเข้าใจปัญหาและสนใจแก้ปัญหาในพื้นที่ อย่างจริงจัง 7. ส.ส.ควรมาจากสาขาอาชีพที่ตนเองสังกัด ถนัด เชี่ยวชาญ 8. กาหนดให้มีจานวน ส.ส. ตามสัดส่วนของอาชีพ 9. กาหนดให้มีการอบรมผู้สมัคร ส.ส. อบรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 10. ส.ส. รมต. ควรสังกัดกระทรวงที่ตรงตามสาขาอาชีพ ความเชี่ยวชาญของตน 11 ผู้สมัครที่จะลงสมัครนายกรัฐมนตรี ต้องเสนอรายชื่อคณะรัฐมนตรี ประกอบเพื่อให้ประชาชนพิจารณาด้วย 12 ข้าราชระดับ 8 ขึ้นไป ถือว่ามีคุณสมบัติสามารถนักการเมืองได้ 13 ต้องการมีรัฐบาลกลาง เพื่อบริหารประเทศในระยะเปลี่ยนผ่าน ประมาณ 4-5ปี กลไกที่จะทาให้ข้อเสนอแนะเป็นจริง 1 รูปแบบสภาประชาชน ให้มีสภาประชาชนเพื่อถ่วงดุลอานาจรัฐ โดยจัดให้มีสภาประชาชนคู่ขนาดเป็นขาที่ 4 อำนำจนิติบัญญัติ สภำประชำชนอำนำจบริหำร อำนำจตุลำกำร
  • 16. 16 สภาประชาชนมาจากประชาชนทุกสาขาอาชีพ โดยแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ประเภท ก มาจากคนในองค์กรต่างๆ ประเภท ข มาจากตัวแทนกลุ่มอาชีพต่างๆ ประเภท ค มาจากผู้ที่เดือดร้อนในประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อานาจ + หน้าที่ของสภาประชาชน 1 มีสิทธิเข้าร่วมในการพิจารณางบประมาณ เสนองบประมาณประจาปีในระดับประเทศและระดับท้องถิ่นได้ด้วย 2 มีสิทธิในการยับยั้ง การตัดสินใจของรัฐ ในการดาเนินนโยบาย โครงการการพัฒนาต่างๆ (วีโต้) 3 มีสิทธิในการตรวจสอบ และประเมินผลการทางานต่างๆ ของผู้แทน 4 สิทธิในการเสนอ หรือยับยั้ง (ร่าง) กฎหมายต่างๆ เพื่อนาสู่กระบวนการประชามติ ………………………………………………… ระดับชำติ / รัฐบำลกลำง ระดับท้องถิ่น ระดับจังหวัดสภำประชำชน
  • 17. 17 กลุ่มที่ 7 การปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ 1. ปัญหา a.ขาดข้อมูลวิชาการจากภาครัฐความรู้ในการผลิตตามความต้องการของตลาดทาให้เกินการผลิตที่เกิน ความต้องการทาให้โดนกดราคาทาให้ไม่มีอานาจการกาหนดราคาตลาด b.ขาดบุคลากรภาครัฐทางวิชาการที่เข้าใจปัญหาที่ต้องส่งเสริมวิธีการด้านเศรฐกิจและการผลิต c.สินค้าที่ผลิตไม่เป็นตามมาตรฐานของตลาด (อย,GMP)ทาให้ผู้บริโภคขาดความเชื่อมั่น d.ขาดงบสนับสนุนของภาครัฐที่ตรงเป้ าหมายหรือมีงบสนับสนุนต่างๆ(กองทุนสตรี,กองทุนหมู่บ้านฯลฯ) แต่ไม่ทราบว่าจะเข้าถึงกองทุนต่างๆอย่างไรหรือมีปัญหาคุณสมบัติที่ยุ่งยากไม่สามารถเข้าถึงได้ เนื่องจากกฏเกณฑ์คุณสมบัติค่อนข้างยุ่งยาก e.หนี้สินครัวเรือนของเกษตรกร(ธกส)ที่เป็นผู้ผลิตวัตถุดิบป้ อนตลาดรวมถึงการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่จะใช้ ในการขยายโรงงานและหมุนเวียนใช้จ่ายในธุรกิจ f. การไม่มีรายได้หลังหน้าฤดูเพาะปลูก g.ค่าครองชีพสูงรายได้ต่า 2. ข้อเสนอแนะ a.ให้มีการสร้างอาชีพเสริมหลังน่านาเพื่อมีรายได้เสริมกับครอบครัว b.ให้มีการลดต้นทุนการเกษตรสนับสนุนปัจจัยการผลิตกับเกษตรกร c.อยากให้รัฐมีการสนับสนุนงบประมาณเพื่อทาการขยายการผลิตเงินกู้ดอกเบี้ยต่าโดยรัฐผลักดัน d.ให้มีการประชาสัมพันธ์ถึงช่องทางเข้าถึงกลไกกองทุนต่างๆที่รัฐตั้งขึ้น e.ให้รัฐสนับสนุนเงินผ่านกลุ่มออมทรัพย์ทั้งที่จดทะเบียนและไม่จดทะเบียน f. ลดกฏเกณฑ์เงื่อนไขคุณสมบัติเพื่อให้เข้าถึงแหล่งกองทุนต่างๆได้ง่ายขึ้นและมีประสิทธิภาพ g.อยากให้รัฐหาตลาดให้
  • 18. 18 h.ให้รัฐผลักดันให้เกิดใช้กลไกภาครัฐมาใช้สนับสนุนรับรองมาตรฐาน (ม.อุบล,สาธารณสุข)เพื่อให้ ผู้บริโภคมั่นใจในตัวสินค้าและสามารถขยายตลาดได้มากขึ้น i. ให้รัฐมีหน่วยงานให้คาแนะนาในเรื่องที่จาเป็นโดยเป็นคนที่รู้จริงในปัญหานั้นๆเพื่อให้คาแนะนาได้มี ประสิทธิภาพและให้ความรู้การศึกษาในด้านเศรษฐกิจ j. ให้รัฐทาแผนงานเพื่อส่งเสริมการผลิตให้มีประสิทธิภาพ k.รัฐส่งเสริมให้เกิดการรวมกลุ่มของทุกกลุ่มในทางเศรฐกิจ(วิสาหกิจชุมชน,กลุ่มแม่บ้าน,SME ฯลฯ)เพื่อ เข้าไปกาหนดนโยบายและแผนงานระดับจังหวัดและประเทศ(กรอ) l. ให้รัฐมีการส่งเสริมยกระดับสินค้าที่ผลิตได้ให้เกิด Value มากกว่าสินค้า Mass m. ให้รัฐสร้างโครงสร้างพื้นฐานการผลิตรองรับผลผลิตหรือเพื่อลดต้นทุนการผลิต n.ให้รัฐกระจายอานาจเพื่อให้จังหวัดได้จัดการตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ o.ให้ทาการบูรณาการของทุกกระทรวงที่ส่งเสริมกลุ่มเศรษฐกิจเพื่อให้เกิดผลที่มีประสิทธิภาพเพราะ ปัจจุบันต่างคนต่างส่งเสริมเรื่องเดียวกันทาให้ประสิทธิภาพต่า p.อยากให้รัฐปรับเปลี่ยนการทางานตามฤดูงบประมาณเพื่อให้เกิดความต่อเนื่อง q.ให้รัฐสนับสนุนส่งเสริมอย่างต่อเนื่องทั้งการเป็นพี่เลี้ยงติดตามผลต่อเนื่อง r. ใช้แนวทาง Digital Economy เป็นแนวทางสร้างเรื่องราวและขายผ่านทาง IT รวมถึงให้มหาวิทยาลัยเข้า ช่วยในการส่งเสริมเช่นเอาสินค้าของผู้ประกอบการไปให้นักศึกษาวิจัยระหว่างเรียนเพื่อให้สามารถจบ แล้วสร้างงานได้มากกว่าใบปริญญา s.ใช้แนวทาง เศรฐกิจสร้างสรรค์ t. แก้ปัญหาการผลิตเกินโดยใช้ระบบโซนนิ่งในการผลิต 3. กลไกแนวทางการแก้ปัญหา a.กองทุนกฏหมายและเครื่องมือ
  • 19. 19 i. โดยทาการออกกฏหมายใหม่เพื่อสามารถทาการกาหนดแผนงานเพื่อนาไปสู่การกาหนด นโยบายทั้งระดับจังหวัดและประเทศ b.การมีส่วนร่วม i. กลไกเชื่อมโยงระบบการศึกษาสถาบันเพื่อสร้างงานบนฐานแนวคิด Digital Economy และเศรฐกิจสร้างสรรค์ ii. มีการวางรูปแบบการจัดตั้งองค์กรเครือข่ายเศรษฐกิจทุกระดับเพื่อผลักดันนโยบายรวมถึง การลดต้นทุนและการจาหน่ายสินค้าไม่ให้เกิดการกดราคา c.การสื่อสาร i. ให้ปรับแก้แนวทางการสื่อสารช่องทางการเข้ารับการสนับสนุนจากภาครัฐไม่ว่าจะด้านการ ให้คาปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญที่จะมาเป็นพี่เลี้ยงหรือให้กลุ่มออมทรัพย์เป็นโครงสร้างพื้นฐาน ขับเคลื่อนในการเข้าถึงแหล่งกองทุนต่างๆที่รัฐสนับสนุน ……………………………………………
  • 20. 20 กลุ่มที่ 8 การอยู่ร่วมกันบนความเห็นต่างทางการเมือง:ภาพอนาคตการเมืองไทยร่วมกัน  รากเหง้าของความขัดแย้งนั้น คือ การทุจริต คอรัปชั่น ไม่คานึงถึงผลประโยชน์ของประชาชน องค์กรอิสระไม่มี ความเป็นกลาง ขาดศักยภาพในการตรวจสอบ เมื่อนักการเมืองเสียผลประโยชน์ ดึงมวลชนไปเป็นพวก ทาให้ แตกแยก ขัดแย้งกัน ให้ประชาชนมาฆ่ากันเอง  คนลุ่มน้าโขงทุกคนเป็นพี่น้องกันหมด เราไม่ได้โกรธเกลียดกัน เรารักกัน การเมืองต่างหากที่ขัดแย้ง ประชาชน ไม่ได้ขัดแย้งกัน แต่หลายๆ ฝ่ายก็ไม่ได้ฟังเสื้อแดงว่าต้องการอะไร  เราไม่ปฏิเสธว่าจะใช้ระบบไหนปกครองประเทศ หากเป็นระบอบประชาธิปไตย ประชาธิปไตยต้องมีศีลธรรม ไม่เอาคนโกง เราทั้งสองฝ่ายต่างยืนบนความถูกต้อง  คนทั่วไปมองว่า ศาสนาไม่เกี่ยวข้องกับการเมือง บทบาทของศาสนาคือ พาให้คนพ้นทุกข์ การเมืองก็ทาให้คน พ้นทุกข์เช่นกัน ดังนั้น ศาสนาจะไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองได้อย่างไร เป้ าหมายของศาสนาและการเมืองที่ เหมือนกัน คือ การพาให้คนพ้นทุกข์ คนอาสามาทางานการเมือง หาผลประโยชน์เข้าตัวเอง ทาให้ประเทศชาติ เสียหาย การที่ม.ราชธานีอโศกออกไปที่ท้องถนน หรือที่ไหนๆ ก็ตาม เพื่อออกมาจัดการให้สังคมเกิดความเป็น ธรรม  ทั้งสองฝ่าย ราชธานีอโศก และเสื้อแดง เราไม่ได้ขัดแย้ง เราข้ามผ่านความขัดแย้งมาแล้ว สิ่งที่ขัดแย้งกันอย่าง แท้จริง คือ การเมือง  จุดร่วมกันของทั้งสองฝ่าย คือ การจัดการการทุจริต ให้ออกไปจากสังคม  สังคมไทยขาดแบบอย่างที่ดี ทาให้สังคมไทยไม่สนใจเรื่องการมีคุณธรรม ถูกล้างสมองให้เชื่อการทุจริต คอรัปชั่นเป็นเรื่องธรรมดาในสังคมไทย  สิ่งที่ทั้งสองฝ่ายต้องการทาร่วมกัน คือ การต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น รณรงค์ต่อต้านการซื้อสิทธิ์ขายเสียง ยกตัวอย่างเช่น หากเราต้องการให้คนดี มีคุณธรรมเข้าไปบริหารประเทศ ต้องเริ่มต้นจากการไม่ซื้อสิทธิ์ขาย เสียง ข้าราชการต้องไม่เป็นทาสรับใช้นักการเมือง
  • 21. 21 ข้อเสนอของทั้งสองฝ่าย คือ การต่อต้านการทุจริต คอรัปชั่น กลไกที่ทาให้ข้อเสนอเป็นจริง  ต้องปลุกจิตสานึกร่วมกันในสังคม ปลูกศีลธรรม สร้างค่านิยมใหม่ สร้างแบบอย่างที่ดีให้คนรุ่นหลังได้เห็น ให้ คนในสังคมมีคุณธรรมจริยธรรม ต่อต้านการทุจริต คอรัปชั่น  สื่อ เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนรณรงค์ต่อต้านการทุจริตคอรัปชั่น ให้คนโกงเกิดความละอาย เกรงกลัวต่อ บาป อย่างเช่น ม.ราชธานีอโศก นักการเมืองไม่กล้าเข้ามาหาเสียง เพราะรู้ว่าซื้อเสียงไม่ได้  ควรสร้างพื้นที่ในการพูดคุยกัน  กฎหมายต้องใช้ได้จริง ทาให้กฎหมายมีความศักดิ์สิทธิ์ รวมถึงคนที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฏหมาย ต้อง ดาเนินการอย่างจริงจัง อย่างเช่น หากตรวจสอบว่า นักการเมืองทุจริตคอรัปชั่น ต้องมีบทลงโทษอย่างเด็ดขาด เช่น ยึดทรัพย์ทั้งหมด และยกเว้นการเล่นการเมืองไปตลอดชีวิต .......................................................
  • 22. 22 ประเด็นการสนทนาร่วมกลุ่มคละประเด็นปัญหา ผลการนาเสนอของกลุ่มย่อยตามประเด็นปัญหาต่อกลุ่มใหญ่ มีข้อสรุปร่วมกันในประเด็นสาคัญ 4 หัวข้อ ได้แก่ 1. การสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อขับเคลื่อนให้ข้อเสนอเป็นจริง 2. การกระจายอานาจและการขับเคลื่อนในประเด็นจังหวัดจัดการตนเอง 3. การใช้สื่อสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอของประชาชน 4. การสร้างพื้นที่พูดคุยของกลุ่มที่มีความเห็นขัดแย้งแตกต่างกัน จากนั้นได้มีการแบ่งกลุ่มย่อยตามความสนใจ คละประเด็นปัญหาโดยให้เลือกเข้ากลุ่มตามหัวข้อทั้ง 4 โดยสมัครใจ ผล ของการสนทนาในกลุ่มย่อยตามความสนใจนี้มีดังนี้
  • 23. 23 1. การสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อขับเคลื่อนให้ข้อเสนอเป็นจริง กลไกการมีส่วนร่วม ทาอย่างไรให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างแท้จริง ต้องการให้เกิดสภาประชาชน เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้อานาจที่มีอยู่ของตนเองได้อย่างแท้จริง วิธีการ ๑. แต่งตั้งคณะทางาน มาจาก ๑.๑ ประชาชนต้องปฏิรูปตนเองก่อน ๑.๒ ประชาชนมีจิตอาสาอยากจะช่วยเหลือประเทศอย่างแท้จริง ๒. รณรงค์การมีส่วนร่วมผ่านทางทุกภาคส่วน ทั้งชุมชน หมู่บ้าน สถาบันการศึกษา ๓. ประชุมคณะทางาน เพื่อพูดคุยหารือ โดยได้รับคาแนะนาและข้อเสนอแนะจากนักกฎหมาย นักวิชาการ และ ผู้เชี่ยวชาญต่างๆ และเพื่อ (ร่าง) กฎหมายสาหรับรองรับการจัดตั้งสภาประชาชน และกฎหมายอื่น โดยเน้นที่ การยกเลิกกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม และเพิ่มเติมกฎหมายที่จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนมากขึ้น, การเปิดเวที สาธารณะเพื่อแลกเปลี่ยนความเห็น โดยจัดให้ทั่วถึงในทุกภูมิภาคของประเทศ ๔. ออกแบบโครงสร้างของสภาประชาชน ว่าควรเป็นอย่างไร มีจานวนคนเท่าไร บริหารจัดการอย่างไร ๕. ประมวลผลการพูดคุย และข้อเสนอแนะของเครือข่ายต่างๆ หมายเหตุ: กลไกการมีส่วนร่วมค่อนข้างสอดคล้องกับกลไกการปฏิรูปกฎหมาย ซึ่งจะมีรายละเอียดโครงสร้างของสภา ประชาชนอยู่
  • 24. 24 2. การกระจายอานาจและการขับเคลื่อนในประเด็นจังหวัดจัดการตนเอง การกระจายอานาจ การจัดการตนเอง โครงสร้าง รัฐบาลกลาง - รวมศูนย์อานาจ - กาหนดนโยบาย - ระบบอุปถัมภ์ - เป็นการสั่งการแนวดิ่ง ทาให้ชุมชนอ่อนแอ ราชการส่วนภูมิภาค - กระทรวง กรม - ศาลากลางจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - อบจ เทศบาล อบต อ การจัดการตนเองของประชาชน การจัดการตนเองให้มีความเข็มแข็งรองรับการกระจายอานาจ จะทาอย่างไรบ้าง - ใช้จุดแข็งทางวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต นาไปสู่การรวมกลุ่ม - การรวมกลุ่มปัญหา เช่น ป่าชุมชน เครือข่าย องค์กรชุมชน เจรจาแก้ไขปัญหา กับหน่วยงานราชการ - ชุนชนร่วมกับหน่วยงานภาคีเครือข่าย NGO เครือข่ายนักวิชาการ - เจ้าของปัญหารวมกลุ่มต่อสู้ โดยมีผู้นาตามธรรมชาติ - ทุนในการจัดการตนเอง มีจิตสานึกในการดูแลตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และการพึ่งตนเองได้อย่างมีศักดิ์ศรี - ชุมชนน่าจะมีแผนมีมีงบประมาณสู่ชุมชนโดยตรง - มีองค์กรชุมชนที่มีความรู้ความเข็มแข็ง มีความหลายหลายในแต่ละสาขาอาชีพ
  • 25. 25 - การสร้างกระบวนการจิตอาสา จิตสานึกดีงาม สุจริตโปร่งใส และมีข้อตกลง กติการ่วมกัน - ประชาชนร่วมคิด ร่วมทา มีส่วมร่วมในการดาเนินกิจกรรม จะทาให้ชาวบ้านรักสามัคคี ห่วงแหนชุมชนตนเอง กระบวนการกระจายอานาจและให้ได้มาชึ้งอานาจ ชุมชนจะสร้างกระบวนการต่อรองอย่างไร? และจะขับเคลื่อนไปสู่ เป้ าหมายนั้นได้อย่างไร และจะออกแบบกระบวนการอย่างไร - ใช้วิธี การกระจายอานาจสู่ชุมชน แนวราบ - ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นแกนกลาง ในชุมชน - ให้มีการคัดสรรตัวแทน กลุ่มอาชีพ เครือข่าย กลุ่มปัญหา อื่นๆ เข้ามาทางานคู่ขนานกับ อปท ในรูปแบบของ สภา พลเมือง - ให้เพิ่มอานาจการตรวจสอบโดยองค์กรอิสระ กระบวนการยุติธรรม
  • 26. 26 3. การใช้สื่อสาธารณะเพื่อขับเคลื่อนข้อเสนอของประชาชน ประเด็นการสื่อสาร : เวทีเสียงประชาชนต้องฟังก่อนปฏิรูป (บ่าย) หอประชุมมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี 25 กันยายน 2557 นาเสนอกลไก : ประเด็นการสื่อสารในพื้นที่ชุมชนท้องถิ่น 3 ประเด็นหลัก 1. จัดตั้งองค์กรสื่อท้องถิ่นภาคประชาชน 2. จัดตั้งกองทุนสนับสนุนสื่อท้องถิ่น 3. กากับให้มีการสื่อสารประเด็นท้องถิ่นสู่สาธารณะอย่างต่อเนื่อง จัดตั้งองค์กรสื่อท้องถิ่นภาคประชาชน หน้าที่ กาหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนประเด็นข่าวสารในชุมชนท้องถิ่น ให้ได้นาเผยแพร่สู่ช่องทางสื่อท้องถิ่นและ เผยแพร่ในส่วนกลาง องค์กรสื่อท้องถิ่นภาคประชาชน ประกอบด้วย นักวิชาการ 10 % นักกฏหมาย 10 % ตัวแทนรัฐ 10 % นักวิชาชีพสื่อท้องถิ่น 10 % ประชาชนผู้บริโภคสื่อ 60 %
  • 27. 27 บทบาทหน้าที่ - ควบคุมคุณภาพสื่อท้องถิ่น - กาหนดยุทธศาสตร์การสื่อสารสื่อท้องถิ่นเชื่อส่วนกลางให้ได้เผยแพร่ - วางกรอบเนื้อหาการสื่อสารปัญหาชุมชนสู่สาธารณะอย่างต่อเนื่อง - ผลักดันให้เกิดการใช้ภาษาถิ่นในการสื่อสาร จัดตั้งกองทุนสนับสนุนสื่อท้องถิ่น - เพื่อกากับดูแลคุณภาพสื่อ คัดกรองสื่อท้องถิ่น ในการมีสิทธิเข้ารับการสนับสนุนจากกองทุนผู้ร่วมผลิตสื่อ ท้องถิ่น อย่างเป็นกัลยาณมิตรธรรมประชาชน - กากับดูแล เรื่องการคุ้มครองสิทธิ นักข่าว ผู้สื่อข่าว นักสื่อสารท้องถิ่น - ร่าง พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารสื่อชุมชน-สื่อท้องถิ่น กากับให้มีการสื่อสารประเด็นท้องถิ่นสู่สาธารณะอย่างต่อเนื่อง จัดให้สื่อท้องถิ่นชุมชน ภาคประชาชน มีพื้นที่และมีความต่อเนื่องในการสื่อสาร ประเด็นท้องถิ่น ประเด็นชุมชน สู่ พื้นที่ส่วนกลางอย่างต่อเนี่อง โดยเฉพาะสื่อของรัฐ จะต้องให้พื้นที่ในการเผยแพร่ข้อมูล โดยให้วัฒนธรรมทางภาคถิ่นใน การรายงานประเด็นพื้นที่ ขณะนี้เกิดปัญหาการสื่อสาร การรับสื่อจากส่วนกลาง (ภาษากลาง) เป็นอุปสรรค ไม่สามารถ แปลความได้อย่างถูกต้องโดยเฉพาะผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน **********************************
  • 28. 28 4. การสร้างพื้นที่พูดคุยของกลุ่มที่มีความเห็นขัดแย้งแตกต่างกัน การสร้างพื้นที่พูดคุย ภาคประชาชน/กลุ่มคนที่มีความเข้มแข็ง หรือสถานศึกษา เป็นเจ้าภาพ - ควรจัดหาสถานที่ที่เป็นกลาง คนที่เป็นกลาง -จัดเวทีในสถาบันให้ชาวบ้านนาเสนอ โดยการจัดกระบวนการ มีการพูดคุยผ่านสื่อต่างๆเช่น โทรทัศน์ วิทยุ - ภาคชุมชนโดยสภาชาวบ้าน ชุมชน สามารถจัดได้ทุกตาบล เช่น ประเด็นปัญหาของท้องถิ่นเช่นปัญหาขยะ - ควรพิจารณาเรื่องที่พูดคุย กับคนที่คุย - การพูดคุยควรมีสาระและมีแนวทางปฏิบัติ มิฉะนั้นเป็นวาทะที่เลื่อนลอย อาจจัดตั้งในรูปคณะกรรมการ กาหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชาวบ้าน มีการสร้างกติกาการพูดคุย เช่น ในหนึ่งเดือนจะกาหนดให้มีการพูดคุย ๑ ครั้ง มิฉะนั้นชาวบ้านจะไม่สนใจ - จัดระดับการพูดคุย ทั้งระดับท้องถิ่น ระดับภาค - มีกลไกการจัดการเช่น มีสภาพูดคุยหมู่บ้าน สภาตาบล สภาอาเภอ สภาท้องถิ่น สภาจังหวัด (ตัวอย่างจากศูนย์ ยุติธรรมชุมชน) - หลังจากที่มีการพูดคุยแล้วควรมีการดาเนินการต่อ ……………………………………………………