SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
สรุปประเด็น ข้อเสนอ กลไกการแก้ไขปัญหา 
เวทีที่ 2 โครงการเสียงประชาชนที่ต้องฟังก่อนปฏิรูป (อีสานเหนือ) 
วันที่ 27 กันยายน 2557 เวลา 8.30 - 17.00 น. 
ณ หอประชุมวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
---------------------------------------------------------- 
กลุ่มที่ 1 
กลุ่มที่ดิน + ป่าไม้ป่าชุมชน 
ข้อเสนอ 
ด้านกฎหมาย 
1. ป่าชุมชน ควรมีกฎหมายรองรับที่ชัดเจน 
2. อยากให้ยกเลิกประกาศ คสช. ที่ 64 และ 66/2557 และคาสั่งที่มีไปยังฝ่ายปกครอง 
3. มีกฎหมายรับรองสิทธิในวิถีชีวิต ชุมชน และวัฒนธรรม 
4. ให้คณะทางานร่วมออก พ.ร.บ. ว่าด้วยเรื่องที่ดินทากิน 
5. ปรับแก้แนวเขตป่าสงวน ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย และป่าอนุรักษ์ตามมติ ครม. ที่ไปทับซ้อนกับที่ดินทากินของ ประชาชน โดยใช้อานาจของประกาศ คสช. 
ภาพรวม 
1. ชะลอการไล่รื้อที่พักอาศัยของประชาชน 
2. อย่าทาลายทรัพย์สิน ตัดพืชเศรษฐกิจที่ประชาชนมีอยู่ 
3. ทบทวนแผนแม่บทป่าไม้ฯ ของ คสช. ที่จะมีการขอคืนพื้นที่ป่า 40% 
4. การจัดการป่าชุมชนให้เป็นรูปธรรม โดยคณะกรรมการชาวบ้าน 
5. ให้รัฐจัดที่ดินทากินและที่อยู่อาศัยให้ราษฎร 
6. แก้ไขและจัดทาแผนที่ทางอากาศใหม่ให้เป็นปัจจุบันและทันสมัยที่สุด เพราะที่ผ่านมาเป็นการใช้ข้อมูลจาก ราชการซึ่งเป็นข้อมูลเดิม 
7. จัดสาธารณูปโภคพื้นฐานให้ประชาชน ระหว่างการพิสูจน์สิทธิที่ดินให้กับประชาชน 
8. รวบรวมและแยกแยะประเด็นปัญหาในเรื่องที่ดินและป่าไม้ในแต่ละกลุ่ม แต่ละภาคให้ชัดเจน 
9. ก่อนการปฏิรูปต้องมีประกาศกลาง ที่มาจากข้อเสนอของประชาชน โดยเอาปัญหาอุปสรรคของชาวบ้าน ปัญหา ข้อกฎหมายที่ทับซ้อน มาแก้ไขตามข้อเสนอชุมชน โดยรัฐเป็นผู้สนับสนุน 
10. ประชาชนต้องเข้าใจปัญหาของตนเอง รวบรวมปัญหาเชิงระบบให้ชัด ไม่ใช่เฉพาะส่วนภูมิภาค แต่ต้องทั้ง ประเทศ 
11. คสช. ต้องเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติให้ชัดเจน โดยมีคาสั่ง คสช.ที่สั่ง “ประชาชน” เพื่อให้เกิดกระบวนการโดย ประชาชน ไม่เช่นนั้น คสช. จะมีคาสั่งที่สั่งแต่กับภาครัฐ 
12. คสช. มีแต่ข้อมูลที่เป็นอดีต ต้องเอาข้อมูลจากประชาชน เพราะเดิมเอาแต่ข้อมูลเก่าจากทางราชการมาใช้
13. ต้องกันพื้นที่ทากินกับเขตอุทยานให้แน่นอน โดยความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชนได้ 
14. อยากให้หน่วยงานราชการ / รัฐทุกหน่วย ระงับการจับกุม ดาเนินคดีประชาชนในเรื่องทรัพยากรไว้ก่อน 
15. ต้องอาศัยนักวิชาการในการศึกษาเรื่องที่ดิน กฎหมาย ให้ชัดเจน 
16. ประชาชนต้องมี “สื่อ” เป็นของตนเอง อยากให้ ThaiPBS เข้ามาเป็นเจ้าภาพร่วมกับประชาชน 
กลไกการขับเคลื่อน 
1. การมีภาคีเครือข่ายและประสานความร่วมมือ 4 ภาค 
2. สร้างระบบ “พี่เลี้ยง” และภาคีที่ประกอบด้วย 
- ชาวบ้าน / ชุมชนที่มีปัญหา 
- นักวิชาการ 
- ปราชญ์ชาวบ้าน 
- นักกฎหมาย 
- สื่อ 
3. ทาแผนที่ที่ดินทากิน เขตป่าสงวน ป่าอนุรักษ์ ใหม่ร่วมกัน 
4. การนาข้อมูลเสนอ “สภาปฏิรูป” 
5. มีคณะทางานร่วมของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งกัน เช่น ชาวบ้าน รัฐ คสช. 
6. “สื่อ” และภาคประชาชน ควรมีเวทีร่วมกัน เพื่อมีบทบาทในการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ 
7. พัฒนาความรู้ให้ประชาชน 
8. สะท้อนเวทีภาคประชาชนให้ถี่ยิ่งขึ้น 
-------------------------------------------------------
กลุ่มที่ 2 
ที่ดินและป่าชุมชน (อ.สุรเชษฐ์) 
ข้อเสนอ 
- ให้องค์กรชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่ 
- ยกเลิกป้ายประกาศจังหวัดในการขับไล่ประชาชนให้ออกนอกพื้นที่อุทยานแห่งชาติ 
- ให้มีการทบทวนแผนแม่บท พร้อมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนแม่บท 
- ให้รัฐมีการออกเอกสารสิทธิ์ให้แก่ประชาชน 
- ให้รัฐหยุด/ยุติการคุกคามประชาชนในพื้นที่ 
- ให้รัฐยึดตามข้อตกลงเดิมที่ได้มีการทาร่วมกันระหว่างรัฐกับประชาชน 
- ให้รัฐชะลอการดาเนินคดีที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม 
- หยุดการจับคุมตัวประชาชนในเรื่องการบุกรุกที่ดิน 
- ยุติการไล่รื้อตัดฟันต้นยางพาราของประชาชน โดยเห็นควรให้รัฐหาทางออกโดยวิธีอื่นที่มีความเหมาะสมกว่า 
- ให้มีการกั้นแนวเขตพื้นที่ให้มีความชัดเจนระหว่างที่ดินทากินของภาคประชาชนกับพื้นที่ป่าไม้/อุทยานแห่งชาติ 
กลไกการแก้ปัญหา 
- มีการสร้างทีมกฎหมายภาคประชาชน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ด้านกฎหมาย 
- หนุนเสริมศักยภาพประชาชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อเข้าไปดาเนินงานในสภาองค์กรภาคประชาชน เพื่อทางาน คู่ขนานกับรัฐ และท้องถิ่น 
- ต้องมีกฎหมายรับรอง คุ้มครองสิทธิชุมชน วัฒนธรรม และชาติพันธุ์ 
- ให้มีการจัดตั้งโรงเรียนการเมืองภาคประชาชน เพื่อพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ทางด้านการเมืองที่มีการ เปลี่ยนแปลงไป 
- ขับเคลื่อนกฎหมายทั้ง 4 ฉบับให้เกิดผลเป็นรูปธรรม (1. โฉนดที่ดิน สิทธิมนุษยชน 2. ธนาคารที่ดิน 3. ภาษีอัตรา ก้าวหน้า 4. กองทุนยุติธรรม ) 
- ให้รัฐสนับสนุนกองทุนการขับเคลื่อนความเข้มแข็งภาคประชาชน 
…………………………………………………
กลุ่มที่ 3 
กลุ่มเหมืองแร่ เขื่อน พลังงาน 
ข้อเสนอ 
เขื่อน และการจัดการน้า 
1. ควรกฎหมายควบคุมหน่วยงานที่เกี่ยวกับน้า การรวมศูนย์ให้เป็นยุทธศาสตร์เดียวกัน รวมถึงงบประมาณการบริหาร จัดการ 
2. ปรับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้าโดยรวมศูนย์อยู่ในองค์กรใด องค์กรหนึ่ง 
3. ปรับปรุงกฎหมายเฉพาะเรื่อง เช่นน้า 
4. ต้องมีกฎหมายน้าที่เป็นหน่วยงานบริหารจัดการโดยเฉพาะ ขึ้นตรงต่อสานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งรวมทั้งลุ่มน้าระหว่าง ประเทศ 
5. กาหนดให้น้าเป็นของประชาชน ทุกคนต้องมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน และร่วมตรวจสอบทุกโครงการที่อาจส่งผลกระทบ 
6. วิศวกรในการออกแบบสร้างเขื่อน ต้องมีคนในประเทศและคนในชุมชนรวมอยู่ด้วย ไม่เอาแค่ชาวต่างชาติ เพราะไม่ เข้าใจพื้นที่อย่างแท้จริง 
7. วิศวกรในการออกแบบสร้างเขื่อน ต้องมีคนในประเทศและคนในชุมชนรวมอยู่ด้วย ไม่เอาแค่ 
พลังงาน และเหมืองแร่ 
8. แก้พระราชบัญญัติปิโตเลียม พ.ศ.2514 
9. อยากให้หน่วยงานของรัฐมองเห็นความเป็นธรรมในการทา EIA และ EHIA ของเมืองที่ไม่เป็นธรรมต่อชาวบ้าน และ ในการศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ควรให้ภาคประชนชนที่จะได้รับหรือได้รับผลกระทบจากการ ประกอบการนั้นต้องมีส่วนร่วมในการจัดทา หรือภาคประชาชนเป็นผู้จัดทา EIA หรือ EHIA แทนภาคเอกชน 
10. อยากให้หน่วยงานของรัฐมองเห็นความเป็นธรรมในการทา EIA และ EHIA ของเมือง มีการศึกษาผลกระทบด้าน สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ควรให้ภาคประชนชนที่จะได้รับหรือได้รับผลกระทบจากการประกอบการนั้นต้องมีส่วนร่วม ในการจัดทา หรือภาคประชาชนเป็นผู้จัดทา EIA หรือ EHIA แทนภาคเอกชน 
ภาพรวม 
11. เนื่องจากหมายที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เหมือง น้า ป่า ถูกแยกเป็นกฎหมายย่อย และอยู่ในการบริหารของแต่ละ หน่วยงานที่กระจัดกระจาย (ซึ่งรวมถึงอานาจ และงบประมาณ) ดังนั้น จึงต้องมีการปรับโครงสร้างและกระทรวง โดยใช้ยุทธศาสตร์เดียวกัน รวมถึงขีดวงของพื้นที่ในแต่ละจังหวัดให้มีความชัดเจน ใช้ข้อมูลเดียวกัน 
12. ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการด้านทรัพยากรทั้งระบบ
13. เสนอให้มีหน่วยงานมาดูแลประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบอย่างแท้จริง 
14. ยกเลิกระบบสัมปทาน เป็นการแบ่งผลผลิต (เนื่องจากระบบสัมปทาน เป็นระบบของประเทศที่เป็นเมืองขึ้น แต่ ระบบการแบ่งปันผลผลิต เป็นระบบของประเทศที่เจริญแล้ว) 
15. วางระบบให้ชัดเจน โครงการที่ส่งผลกระทบควรชะลอไว้ก่อน เพื่อรอผลการศึกษาและการตัดสินใจ จากประชาชน ตัดสินใจจากประชาชน โดยการศึกษาวิจัยผลต้องผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน 
16. สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนทุกขั้นตอน มีการรวมตัวของเครือข่าย เพื่อเป็นพลังที่เข้มแข็ง 
17. มีเวทีสาหรับประชาชนที่มีผลกระทบโดยตรง กับบริษัท และภาครัฐ เพื่อเป็นช่องทางให้รัฐบาลรับฟัง 
18. ประชาชนสามารถเข้าสภาลงมติแสดงร่างกฎหมาย การจัดการร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาจัดเวทีสัมมนาร่วมกัน 
19. รัฐบาลต้องมองความต้องการของประชาชนเป็นหลัก ก่อนมองเรื่องอื่น ๆ ฟังประชาชนเป็นหลัก 
20. โครงการต่างๆ ที่อนุมัติหรืออนุญาต ผู้อนุมัติหรืออนุญาตต้องรับผิดชอบอย่างเต็มที่ต่อโครงการนั้น 
กลไกการขับเคลื่อน 
1. ภาครัฐสนับสนุน ให้มีสภาองค์กรชุมชนตาบล 
2. มีเครือข่ายและคณะทางาน ตั้งแต่ระดับตาบลขึ้นมา 
3. ปรับโครงสร้างการบริหารงานด้าน น้า ป่า พลังงาน สิ่งแวดล้อม และสุขภาวะชุมชน ให้เป็นยุทธศาสตร์เดียวกัน ทั้งระบบ 
4. ให้มีบทลงโทษทั้งผู้ดาเนินการและผู้อนุมัติโครงการในกรณีโครงการเกิดผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม ประเทศชาติ 
5. การจัดทา EIA และ EHIA ต้องมีการเปิดเผยข้อมูลที่แท้จริง ต้องให้องค์กรภาคประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมใน การศึกษา และวิจัยร่วมกัน 
6. ให้มีกฎหมายการสัมปทานในระดับท้องถิ่น ที่มาจากประชาชนผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่
………………………………………………… 
ภาครัฐ 
- ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการด้าน ทรัพยากรทั้งระบบ ทั้ง น้า ป่า พลังงาน สิ่งแวดล้อม และสุขภาวะ 
- กาหนดบทลงโทษสาหรับผู้ดาเนินการหรือ เจ้าพนักงานของรัฐที่รับผิดชอบโครงการที ส่งผลกระทบต่อประชาชน 
ภาคประชาชน 
- จัดตั้งสภาตาบล และออกกฎหมายในระดับ ท้องถิ่น 
- ร่วมดาเนินการ EIA และ EHIA ร่วมกับ ภาครัฐ 
สนับสนุน 
ประชาชน 
ในชุมชน 
ผู้นา 
ในชุมชน 
เครือข่าย
กลุ่มที่ 4 
เกษตรกรรม 
1. ดาริ จันทร์วรรณ อาชีพ ทานา อ.เวียงเก่า จ.ขอนแก่น 
ปัญหา : - พื้นที่ น้าแล้ง มีน้าไม่เพียงพอต่อการทาการเกษตร 
- เกษตรกรไม่ได้กาหนดราคาต้นทุนเอง 
- สารเคมีที่ใช้มีความรุนแรง ทาให้ดินเสีย สุขภาพเสื่อมโทรม ยังส่งผลต่อการเลี้ยงสัตว์ด้วย สารเคมีจากไร่อ้อย ไหลมาสู่พื้นที่นาของชาวบ้าน 
แนวทางแก้ไข : - รัฐบาลควรลด/งดการนาเข้าสารเคมี 
- ส่งเสริมให้เกษตรทาการเกษตรอินทรีย์ ทาปุ๋ยอินทรีย์เพื่อรักษาสภาพดิน 
- ต้องการให้มีการจัดสรรระบบชลประทานให้เข้าถึงพื้นที่ เพื่อลดปัญหาน้าแล้ง 
2. ปลูกข้าว, อ้อย 
ปัญหา : - ราคาผลผลิตตกต่า ราคาขายถูกตลาดเป็นผู้กาหนด 
- ไม่สารมารถต่อรองราคาต้นทุนได้ เกษตรกรกาหนดราคาเองไม่ได้ 
- เกิดความไม่สมดุลของราคาขายและต้นทุน 
3. ทองม้วน โลกาวี เกษตรผสมผสาน ต.เทศใหญ่ อ.พล จ.ขอนแก่น 
ปัญหา : - การทานาจะต้องพึ่งพาน้าฝน หากฝนไม่ตกตามฤดูกาล การทานาก็ไม่ประสบความสาเร็จตามที่ ต้องการ และถ้าหากฝนแล้งติดต่อกัน 2-3 ปี จะส่งผลให้ไม่มีพันธุ์ข้าวในการเพาะปลูก 
- พื้นที่การเกษตรบริเวณข้างเคียงยังทาการเกษตรเคมีอยู่ 
แนวทางแก้ไข : - อยากให้รัฐลงพื้นที่อย่างจริงจัง รับทราบสภาพปัญหาการขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง 
- จากปัญหาพื้นที่ข้างเคียงทาเกษตรอินทรีย์นั้น นายทองม้วนใช้การแก้ปัญหา คือ ทาคันสูง กันพื้นที่โดยรอบ 
4. สุรัตน์ รูปสูง อ.พล 
ปัญหา : - ปัญหาด้านการเกษตรของไทยมีปัญหาตั้งแต่การกาหนดนโยบายของรัฐ เพราะเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนในการ กาหนดนโยบายนั้น ไม่มีส่วนในการผลิต/เสริมสร้างภูมิปัญญาของคนไทย เพราะในการทาการเกษตรของเกษตรกรนั้นจะ ดูจากลักษณะภูมิประเทศ จากสูงลงสู่พื้นที่ราบ แต่รัฐไม่ได้ลงพื้นที่จริงจึงไม่ทราบวิถีชีวิตของเกษตรอย่างแท้จริง 
- ต้นทุนการผลิตที่สูง
- เกษตรกรยังไม่สามารถกาหนดราคาขายเองได้ 
- กระทรวงเกษตรหรือกรมส่งเสริมการเกษตรนั้น ไม่ส่งเสริม/ให้ความรู้กับเกษตรกรอย่างจริงจัง 
เน้นเพียงให้เกษตรกรปลูกพืช ใส่ปุ๋ยตามสูตร แต่ไม่มีการส่งเสริม/ให้ความรู้เกษตรกรอย่างถูกต้อง ทั้งในด้าน การผลิต การ แปรรูป การจาหน่าย ที่ครบวงจร 
- แหล่งเงินกู้ เงินทุน ของเกษตรกรมีอยู่อย่างจากัด มีเพียง ธกส. 
- เกษตรกรมีหนี้สินมาก รัฐบาลยังไม่มีการส่งเสริมให้เกษตรมีการรวมกลุ่มกัน ปัญหาหนี้สินควร 
มีการเร่งแก้ปัญหาก่อน 
5. เบญจมาศ ชาติสุภาพ ปลูกผัก อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ 
ปัญหา : - ยังขาดความรู้ในการดูแลผลผลิต 
6. ฉัตรนพวัฒน์ วีระศักดิ์ ประธานคณะกรรมการกลางเกษตร จ.ขอนแก่น 
- เกษตรกรรมมี 2 ประเภท คือ เกษตรกรรมยั่งยืน เช่น เกษตรธรรมชาติ เกษตรผสมผสาน 
เกษตรทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรกรรมเชิงเดี่ยว (เชิงพาณิชย์) 
- เกษตรกรสามารถกู้เงิน อชก. ได้รายละไม่เกิน 2.5 แสนบาท 
- เกษตรกรต้องปฏิบัติตาม AEC FTA วันที่ 31 ธ.ค. 2558 ซึ่งภาษีสินค้าเป็น 0 % 
- มาตรการ SPF การผลิตพืช สัตว์ที่ถูกหลักอนามัย 
- มาตรฐานการผลิต GPA ไร้สารเคมี , GMO หากมีจะไม่ซื้อ 
- มาตรฐาน GMP , ISO สถานที่ประกอบการ เครื่องจักรกลการผลิต 
- HACPP มีมาตรฐานการผลิต มีห้อง Lap 
- อย. ฯลฯ 
แต่ปัญหา คือ เรายังไม่ผ่านมาตรฐาน SPF คสช. มุ่งไปที่เกษตรกรโดยเฉพาะ 
สหกรณ์ - รัฐบาลยังไม่ส่งเสริมโครงการเกษตรเท่าที่ควร 
- ระบบสหกรณ์การเกษตรยังขาดประสิทธิภาพ 
อื่น ๆ - ระบบสหกรณ์ในปัจจุบันยังขาดประสิทธิภาพ 
- ควรส่งเสริมให้เกษตรกร มีความรู้ ความเข้าใจ ต่อการปลูก ผลิต แปรรูป จัดจาหน่ายอย่างครบ วงจร ไปจนถึงเกษตรพันธะสัญญาต่าง ๆ เพื่อเตรียมพร้อมกับ AEC 
…………………………………………………
กลุ่มที่ 5 
กระบวนการยุติธรรม 
กลไกที่จะทาให้ข้อเสนอแนะเป็นจริง 
1. ศูนย์ให้บริการประชาชนในการดาเนินคดีเบื้องต้นในระดับจังหวัด (One stop service) 
มีอำนำจหน้ำที่คือ 
- เป็นที่ปรึกษาให้ประชาชนในการดาเนินคดีต่างๆ 
- จัดหาทนายในการดาเนินคดี 
- จัดให้มีกองทุนช่วยเหลือในการดาเนินคดี 
- การแจ้งสิทธิขั้นพื้นฐาน ในการดาเนินคดีทุกขั้นตอนแก่ประชาชน 
- ให้ความรู้ความเข้าเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องของชุมชน ประชาชน 
- การกาหนดมาตรฐาน ขั้นตอนการบริหาร ของหน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัด 
องค์ประกอบ 
- เจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรมและผู้พิพากษา อัยการ ตารวจ และ 
- ผู้นาชุมชน หรือชาวบ้านที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นตัวแทน 
1. ศูนย์ยุติธรรมชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ระดับชุมชน 
กำรทำหน้ำที่ 
- ให้ความรู้เรื่องกฎหมาย ระเบียบต่างๆ แก่ชุมชน 
- การไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาทในชุมชน เพื่อลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาล 
- จัดให้มีกฎหมายรองรับการทางานและการไกล่เกลี่ย ระงับข้อพิพาท 
- จัดหาสถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ที่จาเป็นในการทางาน 
องค์ประกอบ 
- ชุมชนคัดเลือกผู้นาที่ชาวบ้านยอมรับเข้ามาทาหน้าที่ 
2. จัดระเบียบเรื่องลูกหนี้ 
- ให้ผู้มีอานาจ / รัฐบาลเข้ามาจัดการเรื่องลูกหนี้อย่างเป็นระบบ 
- ให้ผู้มีอานาจเข้ามาไกล่เกลี่ยกับเจ้าหนี้ ผู้มีอิทธิพล 
- ให้ผู้มีอานาจเข้ามาจัดการเรื่องดอกเบี้ยที่ไม่เป็นธรรม 
- ให้มีกฎหมายบังคับที่ชัดเจนเรื่องในเรื่องหนี้ 
…………………………………………………
กลุ่มที่ 6 
กลุ่มประเด็น “เศรษฐกิจ” 
ปัญหา 
1. เศรษฐกิจของเราไม่ได้พึ่งตัวเอง แต่พึ่งกลไกตลาดต่างประเทศ 
2. ชาวบ้านไม่เข้าใจความหมายคาว่า “เศรษฐกิจ” เป็นคาที่เข้าใจยาก 
3. รัฐบาลไม่ให้ความสาคัญเศรษฐกิจฐานล่าง ไม่มีการส่งเสริมอย่างจริงจัง 
4. งบประมาณที่รัฐสนับสนุนไม่ถึงชุมชน เนื่องจากมีการคอรัปชั่น 
5. ไม่มีการศึกษาระบบเศรษฐกิจฐานล่าง และระบบกลไกตลาดอย่างจริงจังและไม่ยั่งยืน 
6. สภาพพื้นที่แต่ละที่มีความแตกต่างกัน ไม่มีการต่อยอดภูมิปัญญา 
7. ยังมีความเหลื่อมล้าในระบบเศรษฐกิจ 
8. ชาวบ้านไม่มีแหล่งทุนและสินค้าที่ผลิตขาดการยอมรับ 
9. ข้าราชการ / บุคลากร ในพื้นที่ขาดจิตสาธารณะ / จิตอาสา 
10. สินค้าของชาวบ้านยังไม่มีมาตรฐานและคุณภาพเพียงพอ / ไม่มีระบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม 
11. ปัญหาหนี้นอกระบบ / หนี้ในระบบ 
ข้อเสนอ 
1. รัฐควรส่งเสริมและสนับสนุนในการให้ “องค์ความรู้” ในด้านวิชาชีพและภูมิปัญญาท้องถิ่นแก่ชาวบ้าน 
2. การสนับสนุนงบประมาณของรัฐต้องสอดคล้องกับความต้องการของแต่ละพื้นที่และชุมชน 
3. ระบบการให้การสนับสนุนงบประมาณของรัฐควรลดขั้นตอนลง และสามารถโปร่งใสตรวจสอบได้ 
4. กิจกรรมการให้การสนับสนุนของรัฐ ควรเน้นไปที่ชุมชนฐานล่างให้มากกว่าเดิม 
กลไกการแก้ไขปัญหา 
1. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจต้องประกอบไปด้วย 5 ภาคส่วน 
1.1 ภาครัฐ 
1.2 ภาคประชาสังคม 
1.3 ภาควิชาการ 
1.4 ภาคเอกชน 
1.5 ภาคประชาชน (ผู้บริโภค)
2. ต้องกาหนดราคากลาง ระยะเวลา และคุณภาพสินค้าที่ชัดเจน 
3. สนับสนุน “กองทุนร่วม” เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงกองทุนอย่างเป็นธรรม 
4. กลไกการให้เป็น “เกษตรกร เกรด A” 
4.1 แก้ไขปัญหาหนี้สิน ที่ดินทากิน 
4.2 สร้างแรงจูงใจให้รักถิ่นฐาน 
4.3 การสนับสนุนของภาครัฐ เช่น ระบบชลประทาน แหล่งน้า เน้นคุณภาพสินค้า ปุ๋ย (เน้นเกษตรอินทรีย์) 
4.4 ให้ความรู้แก่เกษตรกร เช่น ระบบการตลาด นวัตกรรม การจัดการ 
5. สนับสนุน ส่งเสริมวินัยการเงิน 
6. ส่งเสริมให้ประชาชนบริโภคสินค้าที่ผลิตภายในประเทศ ลดการนาเข้าสินค้าฟุ่มเฟือย (เพิ่ม GDP ในประเทศ) 
7. พัฒนาผลิตผลสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานโลก เช่น HACCP เพื่อเตรียมเข้าสู่ AEC 
8. เพิ่มผลิตภาพของแรงงานให้สอดคล้องกับค่าแรง 300 บาท 
…………………………………………………
กลุ่มที่ 7 
กลุ่มผู้บริโภค และสตรี 
ประกอบด้วย เครือข่ายผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี, เครือข่ายผู้หญิง, นิสิตนักศึกษา จานวน 17 ท่าน 
ข้อเสนอ 
1.ผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี ขาดความเท่าเทียมกันในสังคม มีการเลือกปฏิบัติ เช่น เมื่อเวลาไปทาฟัน จะต้องรอเป็นอันดับ สุดท้าย, โรงแรมบางแห่งในกรุงเทพไม่อนุญาตให้ผู้ติดเชื้อเข้ามาร่วมกิจกรรมต่างๆ ได้ เช่นการประชุม หรือเข้าพัก, การสมัคร งาน ถูกกีดกัน โดยไม่คานึงถึงศักยภาพที่มีอยู่จริง, สิทธิการกู้เงิน ธ .ก.ส., กองทุน อสม., การทาประกันชีวิต ไม่สามารถทาได้, ไม่มีสิทธิเป็นผู้นาชุมชน 
2. สิทธิสตรีไม่เท่าเทียมกัน มีแต่กฎหมาย แต่การบังคับใช้ยังไม่ชัดเจน เช่นการการเมืองท้องถิ่น ยังไม่เปิดโอกาสให้ ผู้หญิงมีบทบาทเท่ากับผู้ชาย 
3. ไม่มีกฎหมายที่เด็ดขาดในเรื่องผู้หญิง และเด็ก 
4. แรงงานนอกระบบไม่ได้รับการดูแล ทั้งด้านอาชีวอนามัย ด้านสวัสดิการ ด้านความมั่นคงทางอาชีพ 
5. ไม่มีความเท่าเทียมกันเรื่องรายได้ขั้นต่าของผู้หญิง และผู้ชาย ผู้หญิง 250 บาท ผู้ชาย 300บาท 
6. แต่ละหน่วยงานต่างฝ่าย ต่างขับเคลื่อนงาน และนโยบายในประเด็นของตนเอง 
7. ราคาของแพงขึ้น 
8. ข้าวของไม่ได้คุณภาพ เช่น มีการปนเปื้อน , ของปลอม, ราคาเกินจริง 
9. การบริการไม่ได้มาตรฐาน เช่น ด้านการแพทย์ 
10. สลากสินค้าตัวเล็ก อ่านไม่สะดวก 
11. sms กวนใจ กวนเงิน 
12. การเก็บค่าโดยสารเกินราคา 
13. การเก็บบริการสองมาตรฐาน 
14. แท็กซี่ไม่กดมิเตอร์
กลไกการแก้ปัญหา 
1. มีการเปิดโอกาสให้ผู้ติดเชื้อเอช ไอ วี มีสิทธิในการประกอบอาชีพ โดยมองที่ศักยภาพที่มีอยู่ในตัว 
2. ให้ความรู้กับบุคคลทั่วไปถึงการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อได้ 
3. ออกกฎหมายให้สตรีมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น 
4. ออกกฎหมายที่เด็ดขาดในเรื่องผู้หญิง และเด็ก มีบทลงโทษที่รุนแรง ชีวิตแลกด้วยชีวิต 
5. ออกกฎหมายแรงงานที่มีความเท่าเทียมกันในเรื่องค่าแรงของทั้งผู้หญิงและชาย 
6. ประชาสัมพันธ์ให้แรงงานทุกกลุ่มรู้ถึงสิทธิของตน 
7. มีภาคีเครือข่ายร่วมกันในการขับเคลื่อนแก้ปัญหาในเรื่องเดียวกัน ไม่ใช่ต่างฝ่ายต่างทา 
8. มีการตั้งสมาคมผู้บริโภคขึ้น โดยสร้างจากเครือข่ายทุกระดับ และมีการดาเนินการไปอย่างต่อเนื่อง 
9. มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึงสิทธิหน้าที่ของผู้บริโภค 
10. บรรจุความรู้เรื่องสิทธิผู้บริโภคลงในหลักสูตรระดับประถมศึกษา 
11. มีกลไกในการตรวจสอบ และติดตาม การทางานของคณะทางานในการดูแลผู้บริโภค 
12. สร้างจิตสานึกให้ผู้ผลิตตระหนักถึงผู้บริโภค เช่น การสร้างโฆษณาปลูกฝังจิตสานึก, เพิกถอนใบอนุญาตการประกอบ กิจการ , ส่งเสริมผู้ผลิตที่มีจิตสานึกดี, มีการแจ้งเตือน ให้เจ้าหน้าที่ไปเตือน , มีเวทีให้ผู้ผลิต พบผู้บริโภค/ผู้รับบริการ 
13. มีกฎหมายบังคับ ควบคุมการกดมิเตอร์ของแท็กซี่ 
----------------------------------------------------------------
กลุ่มที่ 8 
“ประเด็นการศึกษา” 
ข้อเสนอ 
1. มีการกาหนดเป้าหมายทางการศึกษาที่มุ่งทักษะของผู้เรียน เน้นการนาไปสู่อาชีพ และมีความหลากหลาย ตามความถนัดและสนใจของผู้เรียน 
- ลดการเรียนหรือหลักสูตรเพื่อรองรับเพียงแต่การสอบเข้ามหาวิทยาลัย 
- การศึกษาควรมีความหลากหลายทั้งวิชาการ และอาชีพ 
- การเพิ่มทักษะทางภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาที่สาม 
- เด็กทั้งประเทศที่จบประถมศึกษาต้องอ่านออกเขียนได้ทุกคน 
- มีหลักสูตรอาชีพสาหรับผู้ที่ออกนอกระบบการศึกษา และรองรับสู่การเข้าทางานได้จริง 
- มีปริญญาอาชีพ 
2. มีการจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับตลาดแรงงาน ตลาดอาชีพ เพื่อลดการตกงานหรือการขาดแคลน บุคลากรที่จาเป็น 
- รัฐควรมีแผนรองรับคนที่จบการศึกษาให้มีงานทา เหมาะสมกับตลาดที่ต้องการ 
3. มีการจัดการเรียนการสอนที่ดีให้เหมาะสมกับผู้เรียน วิชาที่เรียน โดยยึดกระบวนการเรียนรู้ที่สามารถให้ ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ได้ 
- การเรียนรู้ผ่านการทาโครงการ หรือ Project Base Learning (PBL) 
- มีการใช้ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนอย่างคุ้มค่า และครูผู้สอนควรมีความรู้ความเข้าใจและสามารถ บริหารจัดการใช้งานได้ดี 
- ควรมีการให้การบ้านและลดการบ้านตามความเหมาะสมของรายวิชา เพื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดของ ผู้เรียน และควรมีการบูรณาการการทางานหรือการบ้านร่วมกับการใช้ชีวิต ให้เด็กสนุกที่จะเรียนรู้ โดยที่ไม่รู้สึกว่าเป็น การบังคับ 
- ควรมีการจัดวิชาเรียน หรือตารางเรียนโดยคานึงถึงการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดที่ต่อเนื่องกันของผู้เรียน เช่นไม่อัด วิชาเรียนในหนึ่งวันจนมากเกินไป มีการเชื่อมโยงวิชาเรียนให้ได้ใช้กระบวนการคิดเรียนรู้สร้างความเข้าใจของผู้เรียน ต่อวิชามากที่สุด ไม่เน้นปริมาณแต่เป็นคุณภาพในการทาความเข้าใจต่อบทเรียน ไม่เน้นการท่องจา ตีความได้ 
- มีการเรียนการสอนที่แตกต่างไปในการเรียนรู้ของแต่ละช่วงชั้น 
- มีการสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียน โดยการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ 
- มีกลไกควบคุมการสอน
4. อยากเห็นวิชาชีวิต ผ่านการปฏิบัติ Labการเรียนรู้ 
- ไม่เพียงแต่เน้นวิชาการแต่ในห้องเรียน ควรมีการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม เรียนรู้นอกห้องเรียน ผ่านครอบครัวหรือ สิ่งแวดล้อมรอบตัว 
- เรียนรู้ร่วมกับชุมชน 
- สอนให้คนรู้จักการเรียนรู้ตลอดชีวิต 
- มีกิจกรรมช่วยเหลือสังคม 
5. ครูและโรงเรียนมีอานาจในการจัดการศึกษาอย่างแท้จริง 
6. ปรับปรุงระบบการคัดเลือกการเข้าเรียนต่อ 
- ให้มีความต่อเนื่องกับวิชาเรียนตั้งแต่ต้น คัดเลือกตามความสามารถ 
- ไม่ใช้มาตรฐานเดียววัดการสอบเข้าทั่วประเทศ 
7. มีความเท่าเทียมในการเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึง 
- เรียนฟรีอย่างต่อเนื่อง 
- คนที่ขาดแคลนสามารถเข้าถึงกองทุนกู้ยืมทางการศึกษา โดยมีระบบตรวจสอบที่เหมาะสมกว่าปัจจุบัน 
8. มีความต่อเนื่องของนโยบายทางการศึกษา 
- ความมั่นคงของระบบการสอบวัดผล เช่นการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ไม่ให้เปลี่ยนไปตามความต้องการของรัฐบาลในแต่ละชุด แต่ให้เห็นถึงประโยชน์สูงสุดของนักเรียน 
9. การศึกษานอกโรงเรียน หรือการศึกษาตามอัธยาศ ยต้องมีคุณภาพมากขึ้น 
- มีมาตรฐานทั้งการเรียนการสอน ครูผู้สอน 
- มีการยกระดับ กศน. อย่างแท้จริง 
- มีการรองรับและยอมรับผู้ที่จบจากการเรียนนอกระบบมากยิ่งขึ้น 
กลไก 
1. การกระจายอานาจการจัดการศึกษาสู่ท้องถิ่น 
- ครูสามารถปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของพื้นที่ และการเรียนรู้ของนักเรียน 
- โรงเรียนสามารถบริหารงบ จัดการโครงการของตนเอง เพื่อความรวดเร็วและต่อเนื่องในการพัฒนา
2. การมีส่วนร่วมจัดการศึกษาของชุมชน 
- มีโรงเรียนเป็นตัวเชื่อม ระหว่างนักเรียน และชุมชน เพื่อเกิดการแบ่งปันการเรียนรู้ การปลุกพลังให้กับคนในชุมชน โดยนักเรียน การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่การปฏิบัติจริง เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาบ้านเกิดของคนใน ชุมชน 
3. การมีเครือข่ายการพัฒนาทางการศึกษา 
- เครือข่ายทางวิชาการ เครือข่ายภาคเอกชน ร่วมมือกันสร้างการเรียนรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมทางการศึกษาแบบใหม่ 
4. มีหน่วยงาน หรือองค์กร ดูแล ให้ความช่วยเหลือการศึกษาของชุมชน 
- เช่นมีหน่วยงานการที่ไม่ขึ้นตรงกับรัฐ โดยการรวมกลุ่มหรือรวมตัวของผู้เชี่ยวชาญ ทั้งจากท้องถิ่นและนักวิชาการ 
5. ระบบการผลิตครูจากชุมชน เพื่อชุมชน “ครูชุมชน” 
- ผู้นาชุมชนโดยธรรมชาติมาเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในท้องถิ่น 
- สร้างการทางานเป็นทีมร่วมกันกับโรงเรียนและชุมชน 
- ผลิตครูชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการครูให้เหมาะสมกับคนในพื้นที่ 
6. ระบบตรวจสอบคุณภาพการศึกษาที่เข้มข้น การบังคับใช้กฎหมาย หรือกฎหมายที่จะนามาใช้ 
- การระงับสถาบันหรือหลักสูตรที่ไม่ได้มาตรฐาน เพื่อลดปริมาณของบัณฑิตที่ขาดความสามารถ 
- มีการตรวจสอบสถาบันและประเมินสถาบัน 
หมายเหตุ ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาปริญญาตรี และนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 
นักเรียน 
โรงเรียน 
ชุมชน 
ตัวเชื่อม 
เครือข่าย 
นักปฏิบัติ
กลุ่มที่ 9 
การเมือง 
ปัญหา 
- ความเหลื่อมล้าทางสังคม และกระบวนทัศน์ของสังคมที่มีต่อคนในภาคอีสาน เช่น จน โง่ ซื้อได้ 
- ทรัพยากรและงบประมาณกระจุกอยู่ที่ส่วนกลาง 
- ไม่มีหลักประกันในการรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชน 
- ผู้มีอานาจไม่เปิดโอกาสให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (เรื่องโครงสร้างอานาจ เช่น อิทธิพลแฝงที่มีผล ต่อการปฏิบัติงานและออกนโยบายของภาครัฐที่ตอบสนองผลประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าผลประโยชน์ของประชาชน) 
- กระบวนทัศน์ทางการเมืองที่มองประชาธิปไตยระบบตัวแทนเป็นหลัก ไปเลือกตั้งเข้าคูหากาเลือกผู้แทนเท่านั้น แต่ไม่ มองถึงประชาธิปไตยทางตรงของประชาชน 
- จริยธรรมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการเมือง ที่นาไปสู่ปัญหาคอรัปชั่นต่างๆ 
ข้อเสนอ 
- ประชาชนต้องตระหนักรู้ถึงสิทธิทางการเมือง และอานาจทางการเมืองที่ประชาชนมี 
- ประชาชนต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน เพื่อประกอบการตัดสินใจทางการเมือง 
- ปรับกระบวนทัศน์ทางการเมืองของสังคม 
- ประชาชนต้องเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง 
- นักการเมืองและสถาบันทางการเมืองต้องมีจริยธรรม และต้องถูกตรวจสอบการทางานได้โดยภาคประชาชน 
- การจัดสรรทรัพยากรและการใช้ประโยชน์ต้องเท่าเทียมและเป็นธรรม 
- ประชาชนต้องรู้และสามารถเข้าถึงสิทธิพลเมืองที่ตนพึงได้รับอย่างเท่าเทียมกัน 
- คณะกรรมการอิสระต่างๆ ต้องมาจากการคัดเลือกของภาคประชาชน 
กลไก 
- สร้างพื้นที่(ปลอดภัย)ที่ประชาชนทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็นและเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองได้ 
- สื่อควรเป็นพื้นที่ของประชาชน ที่มีบทบาทหลักในการสร้างการเรียนรู้ทางการเมืองแก่สังคม การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร รวมทั้งเป็นกลไกตรวจสอบการปฏิบัติงานของภาคการเมือง 
- สถาบันทางสังคม(ครอบครัว การศึกษา) ต้องมีบทบาทในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ตามวิถีทางประชาธิปไตย 
- ควรมีการเชื่อมร้อยเครือข่ายภาคประชาชนในระดับจังหวัด เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและการเคลื่อนไหวทาง สังคม (การกระจายอานาจ) 
- ทาข้อตกลงของชุมชนร่วมกันในการจัดการตนเอง (ชาวบ้านมีสิทธิในการจัดการชีวิตตนเองและชุมชนของตนอย่าง แท้จริง - กระจายอานาจ) 
- ต้องมีคณะกรรมการภาคประชาชนทั้งระดับท้องถิ่น ระดับประเทศในการติดตาม ตรวจสอบ กากับความรับผิดรับ ชอบของภาคการเมือง ภาคราชการ 
…………………………………………………
กลุ่มที่ 10 
(กลุ่มแกนนาเครือข่ายชาวบ้าน) 
ข้อเสนอ 
 ประเด็นเรื่องการเกษตร 
1. ส่งเสริมเกษตรยั่งยืนไปพร้อมๆกับเกษตรกระแสหลัก (50:50) 
- มีการศึกษา ทางานวิจัย 
- มีกองทุน 
- มีองค์กรอิสระ 
2. มีกฎหมาย คุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) 
3. มี พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประกอบการเกษตร 
4. มีการทาสัญญากลางระหว่างบริษัทนายทุนกับเกษตรกร 
5. มีองค์กรดูแลและตรวจสอบหลังการทาสัญญา 
 ประเด็นเรื่องที่ดิน 
1. ยกเลิกแผนแม่บทแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (คสช. 64) และ (มติ ครม. 30 มิ.ย. 41) 
2. ยุติการกระทาอันเนื่องจาก คสช. 64 ที่กระทบและละเมิดสิทธิชาวบ้าน 
3. แก้กฎหมายภาษีที่ดินก้าวหน้า 
4. มีกองทุนธนาคารที่ดิน 
5. มี พ.ร.บ. รับรองสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดิน 
6. มี พ.ร.บ. กองทุนยุติธรรมชุมชน ช่วยเหลือคดีเรื่องที่ดิน (ให้ยุติธรรมเรื่องคดีความ ช่าวเหลือเรื่องค่าประกันตัว คุ้มครองสิทธิ) 
7. ให้มีการปรับเปลี่ยนและแก้ไข กฎหมายป่าไม้และที่ดินที่ล้าหลังและขัดกัน 
 ประเด็นเรื่องน้า 
1. ให้ชุมชนมีส่วนร่วมและมีสิทธิออกแบบจัดการกระบวนการระบบจัดการน้า 
2. มีการทบทวนและศึกษาระบบจัดการน้าเดิม 
3. ส่งเสริมการจัดการน้าแบบระบบจัดการน้าแบบระบบย่อย 
4. ค่าชนเชยในกรณีเขื่อน 
 ประเด็นเรื่องท้องถิ่น
1. สภาให้องค์กรชุมชนมีส่วนร่วมในการกาหนดแผนพัฒนา 
2. กระจายอานาจให้ประชาชนมีส่วนร่วม 100% 
3. ออกแบบ พ.ร.บ. การจักการตนเองใหม่ 
4. ให้เทศบาลมีสัดส่วนที่เหมาะสม 
 ประเด็นเรื่องความยุติธรรม 
1. ปรับปรุงกระบวนการพิจารณารับฟังพยาน หลังฐาน การประกันตัวระหว่างคดีต่างๆ ของชุมชนให้มากขึ้น และให้จริงจัง 
 ประเด็นเรื่องแรงงานข้ามชาติ 
1. รับรองการประกอบอาชีพแปลของแรงงานข้ามชาติ 
2. การขายบัตรประกันสุขภาพให้ทั่วถึง (สิทธิเรื่องประกันสุขภาพ) 
 ประเด็นเรื่องผู้บริโภค 
1. มีองค์กรอิสระคุ้มครองผู้บริโภค 
2. มีกฎหมายคุ้มครองผู้เสียหาย 
กลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน 
1. การยกร่าง 
'จังหวัดจัดการตนเองมีสภาประชาชนเป็นอานาจระดับจังหวัดของทุกประเด็นปัญหา' 
วันที่ 3 ตุลาคม 2557 ณ พอช. ขอนแก่น 
เจ้าภาพ: เครือข่ายสภาองค์กรชุมชน ภาคอีสาน (พื้นที่กระบวนการ) 
กป. อพช. อีสาน (เลขากระบวนการ) 
และเคลือข่ายชาวบ้าน อื่นๆ
การประชุม เพื่อแก้ปัญหา คสช. 64 ให้มีคณะกรรมการร่วม ประกอบด้วย 
ภาคส่วนที่เข้าร่วมการประชุม 
ผู้ที่รับผิดชอบเชิญ 
สภาองค์กรชุมชน 
ธนาธร 
นักวิชาการ 
พัฒนชัย 
ทหาร 
สื่อ 
หวาน 
แกนนาและชาวบ้าน 
เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง แกะนา 
หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง 
นักกฎหมาย 
พัฒนชัย 
1. เฉพาะหน้า 
- เคลื่อนไหวรณรงค์โดยการรวมตัวของชาวบ้าน เพื่อหากลไกร่วมในการแก้ไขปัญหาของทุกด้าน 
- แก้ไขทุกประเด็นปัญหา 
- ร่วมคิด ร่วมขับเคลื่อนเฉพาะหน้าให้เกิดกลไกแก้ไขที่มีกฎหมายรองรับและเกิดผลจริง 
2. ระยะยาว 
- สภาประชาชนของภาคประชาชน ในระดับจังหวัด 
…………………………………………………

More Related Content

Similar to สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)

สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)Tum Meng
 
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อมGreenJusticeKlassroom
 
การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง sarayutunthachai
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54ps-most
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติsuthat22
 
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่GreenJusticeKlassroom
 

Similar to สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น) (7)

สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ   อีสานใต้(อุบล)
สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานใต้(อุบล)
 
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
 
การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง
 
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-542552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
2552 2.2-plan-of-the-administration-of-the ministry52-54
 
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันตินโยบาย พรรครักษ์สันติ
นโยบาย พรรครักษ์สันติ
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
 

More from Tum Meng

IM : คือ – อยู่ – เป็น
IM : คือ – อยู่ – เป็น IM : คือ – อยู่ – เป็น
IM : คือ – อยู่ – เป็น Tum Meng
 
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุขหนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุขTum Meng
 
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Lifeชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan LifeTum Meng
 
ReLearn ห้องเรียนเดินได้
ReLearn ห้องเรียนเดินได้ReLearn ห้องเรียนเดินได้
ReLearn ห้องเรียนเดินได้Tum Meng
 
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทยเหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทยTum Meng
 
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไทการศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไทTum Meng
 
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)Tum Meng
 
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)Tum Meng
 
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองสรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองTum Meng
 
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกEduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกTum Meng
 
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้Tum Meng
 
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนEduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนTum Meng
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....Tum Meng
 
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราโรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราTum Meng
 
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่Tum Meng
 
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)Tum Meng
 
Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Tum Meng
 
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าTum Meng
 
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นหลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นTum Meng
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองTum Meng
 

More from Tum Meng (20)

IM : คือ – อยู่ – เป็น
IM : คือ – อยู่ – เป็น IM : คือ – อยู่ – เป็น
IM : คือ – อยู่ – เป็น
 
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุขหนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
หนังสือ “อำเภอบุญประเพณีปลอดเหล้า” ขบวนการขับเคลื่อนสังคมแห่งความสุข
 
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Lifeชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
ชีวิต (ฅน) ป้อมมหากาฬ - Mahakan Life
 
ReLearn ห้องเรียนเดินได้
ReLearn ห้องเรียนเดินได้ReLearn ห้องเรียนเดินได้
ReLearn ห้องเรียนเดินได้
 
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทยเหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
เหตุการณ์สำคัญของ(การศึกษา)ไทย
 
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไทการศึกษาเพื่อความเป็นไท
การศึกษาเพื่อความเป็นไท
 
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
ชุมชนบ้านไม้โบราณ ป้อมมหากาฬ (บทความ)
 
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
ชุมชนป้อมมหากาฬ (ป้อมมีชีวิต ชีวิตหลังป้อม)
 
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมืองสรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
สรุปประมวล เวทีสนทนา คืนการศึกษาให้สังคม : ร่วมกัน-สร้าง-พลเมือง
 
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลกEduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
EduTalk : การศึกษาเอกชนบนเส้นทางการปฏิรูปเรียนรู้สู่การเป็นพลเมืองและพลโลก
 
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
EduTalk : การศึกษาที่เลือกได้
 
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วนEduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
EduTalk : การศึกษาไทยต้องปฏิรูปอย่างจริงจังและเร่งด่วน
 
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
ฐานการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ที่โรงเรียน : กรณี โรงเรียนเทศบาลวัดป่าเรไร อ.เมือง จ....
 
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเราโรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
โรงเรียนของชุมชน โรงเรียนของเรา
 
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
ประกาศฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะปฏิรูปการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่
 
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
คืนการศึกษาให้สังคม (เอกสารประกอบเวทีคืนการศึกษาให้สังคม)
 
Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015 Happy New Year : Calendar 2015
Happy New Year : Calendar 2015
 
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้าชุมชน ฅน สู้เหล้า
ชุมชน ฅน สู้เหล้า
 
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่นหลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
หลักสูตรดินน้ำลมไฟ โรงเรียนเทศบาลคุ้มหนองคู จ.ขอนแก่น
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
 

สรุปข้อมูล เวทีเสียงประชาชนฯ อีสานเหนือ(ขอนแก่น)

  • 1. สรุปประเด็น ข้อเสนอ กลไกการแก้ไขปัญหา เวทีที่ 2 โครงการเสียงประชาชนที่ต้องฟังก่อนปฏิรูป (อีสานเหนือ) วันที่ 27 กันยายน 2557 เวลา 8.30 - 17.00 น. ณ หอประชุมวิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น ---------------------------------------------------------- กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ดิน + ป่าไม้ป่าชุมชน ข้อเสนอ ด้านกฎหมาย 1. ป่าชุมชน ควรมีกฎหมายรองรับที่ชัดเจน 2. อยากให้ยกเลิกประกาศ คสช. ที่ 64 และ 66/2557 และคาสั่งที่มีไปยังฝ่ายปกครอง 3. มีกฎหมายรับรองสิทธิในวิถีชีวิต ชุมชน และวัฒนธรรม 4. ให้คณะทางานร่วมออก พ.ร.บ. ว่าด้วยเรื่องที่ดินทากิน 5. ปรับแก้แนวเขตป่าสงวน ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย และป่าอนุรักษ์ตามมติ ครม. ที่ไปทับซ้อนกับที่ดินทากินของ ประชาชน โดยใช้อานาจของประกาศ คสช. ภาพรวม 1. ชะลอการไล่รื้อที่พักอาศัยของประชาชน 2. อย่าทาลายทรัพย์สิน ตัดพืชเศรษฐกิจที่ประชาชนมีอยู่ 3. ทบทวนแผนแม่บทป่าไม้ฯ ของ คสช. ที่จะมีการขอคืนพื้นที่ป่า 40% 4. การจัดการป่าชุมชนให้เป็นรูปธรรม โดยคณะกรรมการชาวบ้าน 5. ให้รัฐจัดที่ดินทากินและที่อยู่อาศัยให้ราษฎร 6. แก้ไขและจัดทาแผนที่ทางอากาศใหม่ให้เป็นปัจจุบันและทันสมัยที่สุด เพราะที่ผ่านมาเป็นการใช้ข้อมูลจาก ราชการซึ่งเป็นข้อมูลเดิม 7. จัดสาธารณูปโภคพื้นฐานให้ประชาชน ระหว่างการพิสูจน์สิทธิที่ดินให้กับประชาชน 8. รวบรวมและแยกแยะประเด็นปัญหาในเรื่องที่ดินและป่าไม้ในแต่ละกลุ่ม แต่ละภาคให้ชัดเจน 9. ก่อนการปฏิรูปต้องมีประกาศกลาง ที่มาจากข้อเสนอของประชาชน โดยเอาปัญหาอุปสรรคของชาวบ้าน ปัญหา ข้อกฎหมายที่ทับซ้อน มาแก้ไขตามข้อเสนอชุมชน โดยรัฐเป็นผู้สนับสนุน 10. ประชาชนต้องเข้าใจปัญหาของตนเอง รวบรวมปัญหาเชิงระบบให้ชัด ไม่ใช่เฉพาะส่วนภูมิภาค แต่ต้องทั้ง ประเทศ 11. คสช. ต้องเข้ามาสนับสนุนการปฏิบัติให้ชัดเจน โดยมีคาสั่ง คสช.ที่สั่ง “ประชาชน” เพื่อให้เกิดกระบวนการโดย ประชาชน ไม่เช่นนั้น คสช. จะมีคาสั่งที่สั่งแต่กับภาครัฐ 12. คสช. มีแต่ข้อมูลที่เป็นอดีต ต้องเอาข้อมูลจากประชาชน เพราะเดิมเอาแต่ข้อมูลเก่าจากทางราชการมาใช้
  • 2. 13. ต้องกันพื้นที่ทากินกับเขตอุทยานให้แน่นอน โดยความร่วมมือจากภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคเอกชนได้ 14. อยากให้หน่วยงานราชการ / รัฐทุกหน่วย ระงับการจับกุม ดาเนินคดีประชาชนในเรื่องทรัพยากรไว้ก่อน 15. ต้องอาศัยนักวิชาการในการศึกษาเรื่องที่ดิน กฎหมาย ให้ชัดเจน 16. ประชาชนต้องมี “สื่อ” เป็นของตนเอง อยากให้ ThaiPBS เข้ามาเป็นเจ้าภาพร่วมกับประชาชน กลไกการขับเคลื่อน 1. การมีภาคีเครือข่ายและประสานความร่วมมือ 4 ภาค 2. สร้างระบบ “พี่เลี้ยง” และภาคีที่ประกอบด้วย - ชาวบ้าน / ชุมชนที่มีปัญหา - นักวิชาการ - ปราชญ์ชาวบ้าน - นักกฎหมาย - สื่อ 3. ทาแผนที่ที่ดินทากิน เขตป่าสงวน ป่าอนุรักษ์ ใหม่ร่วมกัน 4. การนาข้อมูลเสนอ “สภาปฏิรูป” 5. มีคณะทางานร่วมของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียซึ่งกัน เช่น ชาวบ้าน รัฐ คสช. 6. “สื่อ” และภาคประชาชน ควรมีเวทีร่วมกัน เพื่อมีบทบาทในการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะ 7. พัฒนาความรู้ให้ประชาชน 8. สะท้อนเวทีภาคประชาชนให้ถี่ยิ่งขึ้น -------------------------------------------------------
  • 3. กลุ่มที่ 2 ที่ดินและป่าชุมชน (อ.สุรเชษฐ์) ข้อเสนอ - ให้องค์กรชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่ - ยกเลิกป้ายประกาศจังหวัดในการขับไล่ประชาชนให้ออกนอกพื้นที่อุทยานแห่งชาติ - ให้มีการทบทวนแผนแม่บท พร้อมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทาแผนแม่บท - ให้รัฐมีการออกเอกสารสิทธิ์ให้แก่ประชาชน - ให้รัฐหยุด/ยุติการคุกคามประชาชนในพื้นที่ - ให้รัฐยึดตามข้อตกลงเดิมที่ได้มีการทาร่วมกันระหว่างรัฐกับประชาชน - ให้รัฐชะลอการดาเนินคดีที่ไม่ได้รับความเป็นธรรม - หยุดการจับคุมตัวประชาชนในเรื่องการบุกรุกที่ดิน - ยุติการไล่รื้อตัดฟันต้นยางพาราของประชาชน โดยเห็นควรให้รัฐหาทางออกโดยวิธีอื่นที่มีความเหมาะสมกว่า - ให้มีการกั้นแนวเขตพื้นที่ให้มีความชัดเจนระหว่างที่ดินทากินของภาคประชาชนกับพื้นที่ป่าไม้/อุทยานแห่งชาติ กลไกการแก้ปัญหา - มีการสร้างทีมกฎหมายภาคประชาชน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ด้านกฎหมาย - หนุนเสริมศักยภาพประชาชนให้มีความเข้มแข็ง เพื่อเข้าไปดาเนินงานในสภาองค์กรภาคประชาชน เพื่อทางาน คู่ขนานกับรัฐ และท้องถิ่น - ต้องมีกฎหมายรับรอง คุ้มครองสิทธิชุมชน วัฒนธรรม และชาติพันธุ์ - ให้มีการจัดตั้งโรงเรียนการเมืองภาคประชาชน เพื่อพัฒนาประชาชนให้มีความรู้ทางด้านการเมืองที่มีการ เปลี่ยนแปลงไป - ขับเคลื่อนกฎหมายทั้ง 4 ฉบับให้เกิดผลเป็นรูปธรรม (1. โฉนดที่ดิน สิทธิมนุษยชน 2. ธนาคารที่ดิน 3. ภาษีอัตรา ก้าวหน้า 4. กองทุนยุติธรรม ) - ให้รัฐสนับสนุนกองทุนการขับเคลื่อนความเข้มแข็งภาคประชาชน …………………………………………………
  • 4. กลุ่มที่ 3 กลุ่มเหมืองแร่ เขื่อน พลังงาน ข้อเสนอ เขื่อน และการจัดการน้า 1. ควรกฎหมายควบคุมหน่วยงานที่เกี่ยวกับน้า การรวมศูนย์ให้เป็นยุทธศาสตร์เดียวกัน รวมถึงงบประมาณการบริหาร จัดการ 2. ปรับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้าโดยรวมศูนย์อยู่ในองค์กรใด องค์กรหนึ่ง 3. ปรับปรุงกฎหมายเฉพาะเรื่อง เช่นน้า 4. ต้องมีกฎหมายน้าที่เป็นหน่วยงานบริหารจัดการโดยเฉพาะ ขึ้นตรงต่อสานักนายกรัฐมนตรี ซึ่งรวมทั้งลุ่มน้าระหว่าง ประเทศ 5. กาหนดให้น้าเป็นของประชาชน ทุกคนต้องมีส่วนร่วมทุกขั้นตอน และร่วมตรวจสอบทุกโครงการที่อาจส่งผลกระทบ 6. วิศวกรในการออกแบบสร้างเขื่อน ต้องมีคนในประเทศและคนในชุมชนรวมอยู่ด้วย ไม่เอาแค่ชาวต่างชาติ เพราะไม่ เข้าใจพื้นที่อย่างแท้จริง 7. วิศวกรในการออกแบบสร้างเขื่อน ต้องมีคนในประเทศและคนในชุมชนรวมอยู่ด้วย ไม่เอาแค่ พลังงาน และเหมืองแร่ 8. แก้พระราชบัญญัติปิโตเลียม พ.ศ.2514 9. อยากให้หน่วยงานของรัฐมองเห็นความเป็นธรรมในการทา EIA และ EHIA ของเมืองที่ไม่เป็นธรรมต่อชาวบ้าน และ ในการศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ควรให้ภาคประชนชนที่จะได้รับหรือได้รับผลกระทบจากการ ประกอบการนั้นต้องมีส่วนร่วมในการจัดทา หรือภาคประชาชนเป็นผู้จัดทา EIA หรือ EHIA แทนภาคเอกชน 10. อยากให้หน่วยงานของรัฐมองเห็นความเป็นธรรมในการทา EIA และ EHIA ของเมือง มีการศึกษาผลกระทบด้าน สุขภาพและสิ่งแวดล้อม ควรให้ภาคประชนชนที่จะได้รับหรือได้รับผลกระทบจากการประกอบการนั้นต้องมีส่วนร่วม ในการจัดทา หรือภาคประชาชนเป็นผู้จัดทา EIA หรือ EHIA แทนภาคเอกชน ภาพรวม 11. เนื่องจากหมายที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เหมือง น้า ป่า ถูกแยกเป็นกฎหมายย่อย และอยู่ในการบริหารของแต่ละ หน่วยงานที่กระจัดกระจาย (ซึ่งรวมถึงอานาจ และงบประมาณ) ดังนั้น จึงต้องมีการปรับโครงสร้างและกระทรวง โดยใช้ยุทธศาสตร์เดียวกัน รวมถึงขีดวงของพื้นที่ในแต่ละจังหวัดให้มีความชัดเจน ใช้ข้อมูลเดียวกัน 12. ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการด้านทรัพยากรทั้งระบบ
  • 5. 13. เสนอให้มีหน่วยงานมาดูแลประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบอย่างแท้จริง 14. ยกเลิกระบบสัมปทาน เป็นการแบ่งผลผลิต (เนื่องจากระบบสัมปทาน เป็นระบบของประเทศที่เป็นเมืองขึ้น แต่ ระบบการแบ่งปันผลผลิต เป็นระบบของประเทศที่เจริญแล้ว) 15. วางระบบให้ชัดเจน โครงการที่ส่งผลกระทบควรชะลอไว้ก่อน เพื่อรอผลการศึกษาและการตัดสินใจ จากประชาชน ตัดสินใจจากประชาชน โดยการศึกษาวิจัยผลต้องผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชน 16. สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนทุกขั้นตอน มีการรวมตัวของเครือข่าย เพื่อเป็นพลังที่เข้มแข็ง 17. มีเวทีสาหรับประชาชนที่มีผลกระทบโดยตรง กับบริษัท และภาครัฐ เพื่อเป็นช่องทางให้รัฐบาลรับฟัง 18. ประชาชนสามารถเข้าสภาลงมติแสดงร่างกฎหมาย การจัดการร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาจัดเวทีสัมมนาร่วมกัน 19. รัฐบาลต้องมองความต้องการของประชาชนเป็นหลัก ก่อนมองเรื่องอื่น ๆ ฟังประชาชนเป็นหลัก 20. โครงการต่างๆ ที่อนุมัติหรืออนุญาต ผู้อนุมัติหรืออนุญาตต้องรับผิดชอบอย่างเต็มที่ต่อโครงการนั้น กลไกการขับเคลื่อน 1. ภาครัฐสนับสนุน ให้มีสภาองค์กรชุมชนตาบล 2. มีเครือข่ายและคณะทางาน ตั้งแต่ระดับตาบลขึ้นมา 3. ปรับโครงสร้างการบริหารงานด้าน น้า ป่า พลังงาน สิ่งแวดล้อม และสุขภาวะชุมชน ให้เป็นยุทธศาสตร์เดียวกัน ทั้งระบบ 4. ให้มีบทลงโทษทั้งผู้ดาเนินการและผู้อนุมัติโครงการในกรณีโครงการเกิดผลกระทบต่อชุมชน สิ่งแวดล้อม ประเทศชาติ 5. การจัดทา EIA และ EHIA ต้องมีการเปิดเผยข้อมูลที่แท้จริง ต้องให้องค์กรภาคประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมใน การศึกษา และวิจัยร่วมกัน 6. ให้มีกฎหมายการสัมปทานในระดับท้องถิ่น ที่มาจากประชาชนผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่
  • 6. ………………………………………………… ภาครัฐ - ปรับโครงสร้างการบริหารจัดการด้าน ทรัพยากรทั้งระบบ ทั้ง น้า ป่า พลังงาน สิ่งแวดล้อม และสุขภาวะ - กาหนดบทลงโทษสาหรับผู้ดาเนินการหรือ เจ้าพนักงานของรัฐที่รับผิดชอบโครงการที ส่งผลกระทบต่อประชาชน ภาคประชาชน - จัดตั้งสภาตาบล และออกกฎหมายในระดับ ท้องถิ่น - ร่วมดาเนินการ EIA และ EHIA ร่วมกับ ภาครัฐ สนับสนุน ประชาชน ในชุมชน ผู้นา ในชุมชน เครือข่าย
  • 7. กลุ่มที่ 4 เกษตรกรรม 1. ดาริ จันทร์วรรณ อาชีพ ทานา อ.เวียงเก่า จ.ขอนแก่น ปัญหา : - พื้นที่ น้าแล้ง มีน้าไม่เพียงพอต่อการทาการเกษตร - เกษตรกรไม่ได้กาหนดราคาต้นทุนเอง - สารเคมีที่ใช้มีความรุนแรง ทาให้ดินเสีย สุขภาพเสื่อมโทรม ยังส่งผลต่อการเลี้ยงสัตว์ด้วย สารเคมีจากไร่อ้อย ไหลมาสู่พื้นที่นาของชาวบ้าน แนวทางแก้ไข : - รัฐบาลควรลด/งดการนาเข้าสารเคมี - ส่งเสริมให้เกษตรทาการเกษตรอินทรีย์ ทาปุ๋ยอินทรีย์เพื่อรักษาสภาพดิน - ต้องการให้มีการจัดสรรระบบชลประทานให้เข้าถึงพื้นที่ เพื่อลดปัญหาน้าแล้ง 2. ปลูกข้าว, อ้อย ปัญหา : - ราคาผลผลิตตกต่า ราคาขายถูกตลาดเป็นผู้กาหนด - ไม่สารมารถต่อรองราคาต้นทุนได้ เกษตรกรกาหนดราคาเองไม่ได้ - เกิดความไม่สมดุลของราคาขายและต้นทุน 3. ทองม้วน โลกาวี เกษตรผสมผสาน ต.เทศใหญ่ อ.พล จ.ขอนแก่น ปัญหา : - การทานาจะต้องพึ่งพาน้าฝน หากฝนไม่ตกตามฤดูกาล การทานาก็ไม่ประสบความสาเร็จตามที่ ต้องการ และถ้าหากฝนแล้งติดต่อกัน 2-3 ปี จะส่งผลให้ไม่มีพันธุ์ข้าวในการเพาะปลูก - พื้นที่การเกษตรบริเวณข้างเคียงยังทาการเกษตรเคมีอยู่ แนวทางแก้ไข : - อยากให้รัฐลงพื้นที่อย่างจริงจัง รับทราบสภาพปัญหาการขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง - จากปัญหาพื้นที่ข้างเคียงทาเกษตรอินทรีย์นั้น นายทองม้วนใช้การแก้ปัญหา คือ ทาคันสูง กันพื้นที่โดยรอบ 4. สุรัตน์ รูปสูง อ.พล ปัญหา : - ปัญหาด้านการเกษตรของไทยมีปัญหาตั้งแต่การกาหนดนโยบายของรัฐ เพราะเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนในการ กาหนดนโยบายนั้น ไม่มีส่วนในการผลิต/เสริมสร้างภูมิปัญญาของคนไทย เพราะในการทาการเกษตรของเกษตรกรนั้นจะ ดูจากลักษณะภูมิประเทศ จากสูงลงสู่พื้นที่ราบ แต่รัฐไม่ได้ลงพื้นที่จริงจึงไม่ทราบวิถีชีวิตของเกษตรอย่างแท้จริง - ต้นทุนการผลิตที่สูง
  • 8. - เกษตรกรยังไม่สามารถกาหนดราคาขายเองได้ - กระทรวงเกษตรหรือกรมส่งเสริมการเกษตรนั้น ไม่ส่งเสริม/ให้ความรู้กับเกษตรกรอย่างจริงจัง เน้นเพียงให้เกษตรกรปลูกพืช ใส่ปุ๋ยตามสูตร แต่ไม่มีการส่งเสริม/ให้ความรู้เกษตรกรอย่างถูกต้อง ทั้งในด้าน การผลิต การ แปรรูป การจาหน่าย ที่ครบวงจร - แหล่งเงินกู้ เงินทุน ของเกษตรกรมีอยู่อย่างจากัด มีเพียง ธกส. - เกษตรกรมีหนี้สินมาก รัฐบาลยังไม่มีการส่งเสริมให้เกษตรมีการรวมกลุ่มกัน ปัญหาหนี้สินควร มีการเร่งแก้ปัญหาก่อน 5. เบญจมาศ ชาติสุภาพ ปลูกผัก อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ ปัญหา : - ยังขาดความรู้ในการดูแลผลผลิต 6. ฉัตรนพวัฒน์ วีระศักดิ์ ประธานคณะกรรมการกลางเกษตร จ.ขอนแก่น - เกษตรกรรมมี 2 ประเภท คือ เกษตรกรรมยั่งยืน เช่น เกษตรธรรมชาติ เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรกรรมเชิงเดี่ยว (เชิงพาณิชย์) - เกษตรกรสามารถกู้เงิน อชก. ได้รายละไม่เกิน 2.5 แสนบาท - เกษตรกรต้องปฏิบัติตาม AEC FTA วันที่ 31 ธ.ค. 2558 ซึ่งภาษีสินค้าเป็น 0 % - มาตรการ SPF การผลิตพืช สัตว์ที่ถูกหลักอนามัย - มาตรฐานการผลิต GPA ไร้สารเคมี , GMO หากมีจะไม่ซื้อ - มาตรฐาน GMP , ISO สถานที่ประกอบการ เครื่องจักรกลการผลิต - HACPP มีมาตรฐานการผลิต มีห้อง Lap - อย. ฯลฯ แต่ปัญหา คือ เรายังไม่ผ่านมาตรฐาน SPF คสช. มุ่งไปที่เกษตรกรโดยเฉพาะ สหกรณ์ - รัฐบาลยังไม่ส่งเสริมโครงการเกษตรเท่าที่ควร - ระบบสหกรณ์การเกษตรยังขาดประสิทธิภาพ อื่น ๆ - ระบบสหกรณ์ในปัจจุบันยังขาดประสิทธิภาพ - ควรส่งเสริมให้เกษตรกร มีความรู้ ความเข้าใจ ต่อการปลูก ผลิต แปรรูป จัดจาหน่ายอย่างครบ วงจร ไปจนถึงเกษตรพันธะสัญญาต่าง ๆ เพื่อเตรียมพร้อมกับ AEC …………………………………………………
  • 9. กลุ่มที่ 5 กระบวนการยุติธรรม กลไกที่จะทาให้ข้อเสนอแนะเป็นจริง 1. ศูนย์ให้บริการประชาชนในการดาเนินคดีเบื้องต้นในระดับจังหวัด (One stop service) มีอำนำจหน้ำที่คือ - เป็นที่ปรึกษาให้ประชาชนในการดาเนินคดีต่างๆ - จัดหาทนายในการดาเนินคดี - จัดให้มีกองทุนช่วยเหลือในการดาเนินคดี - การแจ้งสิทธิขั้นพื้นฐาน ในการดาเนินคดีทุกขั้นตอนแก่ประชาชน - ให้ความรู้ความเข้าเรื่องกฎหมายที่เกี่ยวข้องของชุมชน ประชาชน - การกาหนดมาตรฐาน ขั้นตอนการบริหาร ของหน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัด องค์ประกอบ - เจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรมและผู้พิพากษา อัยการ ตารวจ และ - ผู้นาชุมชน หรือชาวบ้านที่ได้รับการคัดเลือกให้เป็นตัวแทน 1. ศูนย์ยุติธรรมชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ระดับชุมชน กำรทำหน้ำที่ - ให้ความรู้เรื่องกฎหมาย ระเบียบต่างๆ แก่ชุมชน - การไกล่เกลี่ยระงับข้อพิพาทในชุมชน เพื่อลดปริมาณคดีขึ้นสู่ศาล - จัดให้มีกฎหมายรองรับการทางานและการไกล่เกลี่ย ระงับข้อพิพาท - จัดหาสถานที่ บุคลากร อุปกรณ์ที่จาเป็นในการทางาน องค์ประกอบ - ชุมชนคัดเลือกผู้นาที่ชาวบ้านยอมรับเข้ามาทาหน้าที่ 2. จัดระเบียบเรื่องลูกหนี้ - ให้ผู้มีอานาจ / รัฐบาลเข้ามาจัดการเรื่องลูกหนี้อย่างเป็นระบบ - ให้ผู้มีอานาจเข้ามาไกล่เกลี่ยกับเจ้าหนี้ ผู้มีอิทธิพล - ให้ผู้มีอานาจเข้ามาจัดการเรื่องดอกเบี้ยที่ไม่เป็นธรรม - ให้มีกฎหมายบังคับที่ชัดเจนเรื่องในเรื่องหนี้ …………………………………………………
  • 10. กลุ่มที่ 6 กลุ่มประเด็น “เศรษฐกิจ” ปัญหา 1. เศรษฐกิจของเราไม่ได้พึ่งตัวเอง แต่พึ่งกลไกตลาดต่างประเทศ 2. ชาวบ้านไม่เข้าใจความหมายคาว่า “เศรษฐกิจ” เป็นคาที่เข้าใจยาก 3. รัฐบาลไม่ให้ความสาคัญเศรษฐกิจฐานล่าง ไม่มีการส่งเสริมอย่างจริงจัง 4. งบประมาณที่รัฐสนับสนุนไม่ถึงชุมชน เนื่องจากมีการคอรัปชั่น 5. ไม่มีการศึกษาระบบเศรษฐกิจฐานล่าง และระบบกลไกตลาดอย่างจริงจังและไม่ยั่งยืน 6. สภาพพื้นที่แต่ละที่มีความแตกต่างกัน ไม่มีการต่อยอดภูมิปัญญา 7. ยังมีความเหลื่อมล้าในระบบเศรษฐกิจ 8. ชาวบ้านไม่มีแหล่งทุนและสินค้าที่ผลิตขาดการยอมรับ 9. ข้าราชการ / บุคลากร ในพื้นที่ขาดจิตสาธารณะ / จิตอาสา 10. สินค้าของชาวบ้านยังไม่มีมาตรฐานและคุณภาพเพียงพอ / ไม่มีระบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม 11. ปัญหาหนี้นอกระบบ / หนี้ในระบบ ข้อเสนอ 1. รัฐควรส่งเสริมและสนับสนุนในการให้ “องค์ความรู้” ในด้านวิชาชีพและภูมิปัญญาท้องถิ่นแก่ชาวบ้าน 2. การสนับสนุนงบประมาณของรัฐต้องสอดคล้องกับความต้องการของแต่ละพื้นที่และชุมชน 3. ระบบการให้การสนับสนุนงบประมาณของรัฐควรลดขั้นตอนลง และสามารถโปร่งใสตรวจสอบได้ 4. กิจกรรมการให้การสนับสนุนของรัฐ ควรเน้นไปที่ชุมชนฐานล่างให้มากกว่าเดิม กลไกการแก้ไขปัญหา 1. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจต้องประกอบไปด้วย 5 ภาคส่วน 1.1 ภาครัฐ 1.2 ภาคประชาสังคม 1.3 ภาควิชาการ 1.4 ภาคเอกชน 1.5 ภาคประชาชน (ผู้บริโภค)
  • 11. 2. ต้องกาหนดราคากลาง ระยะเวลา และคุณภาพสินค้าที่ชัดเจน 3. สนับสนุน “กองทุนร่วม” เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึงกองทุนอย่างเป็นธรรม 4. กลไกการให้เป็น “เกษตรกร เกรด A” 4.1 แก้ไขปัญหาหนี้สิน ที่ดินทากิน 4.2 สร้างแรงจูงใจให้รักถิ่นฐาน 4.3 การสนับสนุนของภาครัฐ เช่น ระบบชลประทาน แหล่งน้า เน้นคุณภาพสินค้า ปุ๋ย (เน้นเกษตรอินทรีย์) 4.4 ให้ความรู้แก่เกษตรกร เช่น ระบบการตลาด นวัตกรรม การจัดการ 5. สนับสนุน ส่งเสริมวินัยการเงิน 6. ส่งเสริมให้ประชาชนบริโภคสินค้าที่ผลิตภายในประเทศ ลดการนาเข้าสินค้าฟุ่มเฟือย (เพิ่ม GDP ในประเทศ) 7. พัฒนาผลิตผลสินค้าเกษตรให้ได้มาตรฐานโลก เช่น HACCP เพื่อเตรียมเข้าสู่ AEC 8. เพิ่มผลิตภาพของแรงงานให้สอดคล้องกับค่าแรง 300 บาท …………………………………………………
  • 12. กลุ่มที่ 7 กลุ่มผู้บริโภค และสตรี ประกอบด้วย เครือข่ายผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี, เครือข่ายผู้หญิง, นิสิตนักศึกษา จานวน 17 ท่าน ข้อเสนอ 1.ผู้ติดเชื้อ เอช ไอ วี ขาดความเท่าเทียมกันในสังคม มีการเลือกปฏิบัติ เช่น เมื่อเวลาไปทาฟัน จะต้องรอเป็นอันดับ สุดท้าย, โรงแรมบางแห่งในกรุงเทพไม่อนุญาตให้ผู้ติดเชื้อเข้ามาร่วมกิจกรรมต่างๆ ได้ เช่นการประชุม หรือเข้าพัก, การสมัคร งาน ถูกกีดกัน โดยไม่คานึงถึงศักยภาพที่มีอยู่จริง, สิทธิการกู้เงิน ธ .ก.ส., กองทุน อสม., การทาประกันชีวิต ไม่สามารถทาได้, ไม่มีสิทธิเป็นผู้นาชุมชน 2. สิทธิสตรีไม่เท่าเทียมกัน มีแต่กฎหมาย แต่การบังคับใช้ยังไม่ชัดเจน เช่นการการเมืองท้องถิ่น ยังไม่เปิดโอกาสให้ ผู้หญิงมีบทบาทเท่ากับผู้ชาย 3. ไม่มีกฎหมายที่เด็ดขาดในเรื่องผู้หญิง และเด็ก 4. แรงงานนอกระบบไม่ได้รับการดูแล ทั้งด้านอาชีวอนามัย ด้านสวัสดิการ ด้านความมั่นคงทางอาชีพ 5. ไม่มีความเท่าเทียมกันเรื่องรายได้ขั้นต่าของผู้หญิง และผู้ชาย ผู้หญิง 250 บาท ผู้ชาย 300บาท 6. แต่ละหน่วยงานต่างฝ่าย ต่างขับเคลื่อนงาน และนโยบายในประเด็นของตนเอง 7. ราคาของแพงขึ้น 8. ข้าวของไม่ได้คุณภาพ เช่น มีการปนเปื้อน , ของปลอม, ราคาเกินจริง 9. การบริการไม่ได้มาตรฐาน เช่น ด้านการแพทย์ 10. สลากสินค้าตัวเล็ก อ่านไม่สะดวก 11. sms กวนใจ กวนเงิน 12. การเก็บค่าโดยสารเกินราคา 13. การเก็บบริการสองมาตรฐาน 14. แท็กซี่ไม่กดมิเตอร์
  • 13. กลไกการแก้ปัญหา 1. มีการเปิดโอกาสให้ผู้ติดเชื้อเอช ไอ วี มีสิทธิในการประกอบอาชีพ โดยมองที่ศักยภาพที่มีอยู่ในตัว 2. ให้ความรู้กับบุคคลทั่วไปถึงการใช้ชีวิตอยู่ร่วมกับผู้ติดเชื้อได้ 3. ออกกฎหมายให้สตรีมีบทบาททางการเมืองมากขึ้น 4. ออกกฎหมายที่เด็ดขาดในเรื่องผู้หญิง และเด็ก มีบทลงโทษที่รุนแรง ชีวิตแลกด้วยชีวิต 5. ออกกฎหมายแรงงานที่มีความเท่าเทียมกันในเรื่องค่าแรงของทั้งผู้หญิงและชาย 6. ประชาสัมพันธ์ให้แรงงานทุกกลุ่มรู้ถึงสิทธิของตน 7. มีภาคีเครือข่ายร่วมกันในการขับเคลื่อนแก้ปัญหาในเรื่องเดียวกัน ไม่ใช่ต่างฝ่ายต่างทา 8. มีการตั้งสมาคมผู้บริโภคขึ้น โดยสร้างจากเครือข่ายทุกระดับ และมีการดาเนินการไปอย่างต่อเนื่อง 9. มีการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้ถึงสิทธิหน้าที่ของผู้บริโภค 10. บรรจุความรู้เรื่องสิทธิผู้บริโภคลงในหลักสูตรระดับประถมศึกษา 11. มีกลไกในการตรวจสอบ และติดตาม การทางานของคณะทางานในการดูแลผู้บริโภค 12. สร้างจิตสานึกให้ผู้ผลิตตระหนักถึงผู้บริโภค เช่น การสร้างโฆษณาปลูกฝังจิตสานึก, เพิกถอนใบอนุญาตการประกอบ กิจการ , ส่งเสริมผู้ผลิตที่มีจิตสานึกดี, มีการแจ้งเตือน ให้เจ้าหน้าที่ไปเตือน , มีเวทีให้ผู้ผลิต พบผู้บริโภค/ผู้รับบริการ 13. มีกฎหมายบังคับ ควบคุมการกดมิเตอร์ของแท็กซี่ ----------------------------------------------------------------
  • 14. กลุ่มที่ 8 “ประเด็นการศึกษา” ข้อเสนอ 1. มีการกาหนดเป้าหมายทางการศึกษาที่มุ่งทักษะของผู้เรียน เน้นการนาไปสู่อาชีพ และมีความหลากหลาย ตามความถนัดและสนใจของผู้เรียน - ลดการเรียนหรือหลักสูตรเพื่อรองรับเพียงแต่การสอบเข้ามหาวิทยาลัย - การศึกษาควรมีความหลากหลายทั้งวิชาการ และอาชีพ - การเพิ่มทักษะทางภาษา ทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาที่สาม - เด็กทั้งประเทศที่จบประถมศึกษาต้องอ่านออกเขียนได้ทุกคน - มีหลักสูตรอาชีพสาหรับผู้ที่ออกนอกระบบการศึกษา และรองรับสู่การเข้าทางานได้จริง - มีปริญญาอาชีพ 2. มีการจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับตลาดแรงงาน ตลาดอาชีพ เพื่อลดการตกงานหรือการขาดแคลน บุคลากรที่จาเป็น - รัฐควรมีแผนรองรับคนที่จบการศึกษาให้มีงานทา เหมาะสมกับตลาดที่ต้องการ 3. มีการจัดการเรียนการสอนที่ดีให้เหมาะสมกับผู้เรียน วิชาที่เรียน โดยยึดกระบวนการเรียนรู้ที่สามารถให้ ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์ได้ - การเรียนรู้ผ่านการทาโครงการ หรือ Project Base Learning (PBL) - มีการใช้ทรัพยากรที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนอย่างคุ้มค่า และครูผู้สอนควรมีความรู้ความเข้าใจและสามารถ บริหารจัดการใช้งานได้ดี - ควรมีการให้การบ้านและลดการบ้านตามความเหมาะสมของรายวิชา เพื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุดของ ผู้เรียน และควรมีการบูรณาการการทางานหรือการบ้านร่วมกับการใช้ชีวิต ให้เด็กสนุกที่จะเรียนรู้ โดยที่ไม่รู้สึกว่าเป็น การบังคับ - ควรมีการจัดวิชาเรียน หรือตารางเรียนโดยคานึงถึงการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดที่ต่อเนื่องกันของผู้เรียน เช่นไม่อัด วิชาเรียนในหนึ่งวันจนมากเกินไป มีการเชื่อมโยงวิชาเรียนให้ได้ใช้กระบวนการคิดเรียนรู้สร้างความเข้าใจของผู้เรียน ต่อวิชามากที่สุด ไม่เน้นปริมาณแต่เป็นคุณภาพในการทาความเข้าใจต่อบทเรียน ไม่เน้นการท่องจา ตีความได้ - มีการเรียนการสอนที่แตกต่างไปในการเรียนรู้ของแต่ละช่วงชั้น - มีการสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียน โดยการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ - มีกลไกควบคุมการสอน
  • 15. 4. อยากเห็นวิชาชีวิต ผ่านการปฏิบัติ Labการเรียนรู้ - ไม่เพียงแต่เน้นวิชาการแต่ในห้องเรียน ควรมีการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม เรียนรู้นอกห้องเรียน ผ่านครอบครัวหรือ สิ่งแวดล้อมรอบตัว - เรียนรู้ร่วมกับชุมชน - สอนให้คนรู้จักการเรียนรู้ตลอดชีวิต - มีกิจกรรมช่วยเหลือสังคม 5. ครูและโรงเรียนมีอานาจในการจัดการศึกษาอย่างแท้จริง 6. ปรับปรุงระบบการคัดเลือกการเข้าเรียนต่อ - ให้มีความต่อเนื่องกับวิชาเรียนตั้งแต่ต้น คัดเลือกตามความสามารถ - ไม่ใช้มาตรฐานเดียววัดการสอบเข้าทั่วประเทศ 7. มีความเท่าเทียมในการเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึง - เรียนฟรีอย่างต่อเนื่อง - คนที่ขาดแคลนสามารถเข้าถึงกองทุนกู้ยืมทางการศึกษา โดยมีระบบตรวจสอบที่เหมาะสมกว่าปัจจุบัน 8. มีความต่อเนื่องของนโยบายทางการศึกษา - ความมั่นคงของระบบการสอบวัดผล เช่นการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ไม่ให้เปลี่ยนไปตามความต้องการของรัฐบาลในแต่ละชุด แต่ให้เห็นถึงประโยชน์สูงสุดของนักเรียน 9. การศึกษานอกโรงเรียน หรือการศึกษาตามอัธยาศ ยต้องมีคุณภาพมากขึ้น - มีมาตรฐานทั้งการเรียนการสอน ครูผู้สอน - มีการยกระดับ กศน. อย่างแท้จริง - มีการรองรับและยอมรับผู้ที่จบจากการเรียนนอกระบบมากยิ่งขึ้น กลไก 1. การกระจายอานาจการจัดการศึกษาสู่ท้องถิ่น - ครูสามารถปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของพื้นที่ และการเรียนรู้ของนักเรียน - โรงเรียนสามารถบริหารงบ จัดการโครงการของตนเอง เพื่อความรวดเร็วและต่อเนื่องในการพัฒนา
  • 16. 2. การมีส่วนร่วมจัดการศึกษาของชุมชน - มีโรงเรียนเป็นตัวเชื่อม ระหว่างนักเรียน และชุมชน เพื่อเกิดการแบ่งปันการเรียนรู้ การปลุกพลังให้กับคนในชุมชน โดยนักเรียน การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้สู่การปฏิบัติจริง เพื่อสร้างแรงบันดาลใจในการพัฒนาบ้านเกิดของคนใน ชุมชน 3. การมีเครือข่ายการพัฒนาทางการศึกษา - เครือข่ายทางวิชาการ เครือข่ายภาคเอกชน ร่วมมือกันสร้างการเรียนรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมทางการศึกษาแบบใหม่ 4. มีหน่วยงาน หรือองค์กร ดูแล ให้ความช่วยเหลือการศึกษาของชุมชน - เช่นมีหน่วยงานการที่ไม่ขึ้นตรงกับรัฐ โดยการรวมกลุ่มหรือรวมตัวของผู้เชี่ยวชาญ ทั้งจากท้องถิ่นและนักวิชาการ 5. ระบบการผลิตครูจากชุมชน เพื่อชุมชน “ครูชุมชน” - ผู้นาชุมชนโดยธรรมชาติมาเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาในท้องถิ่น - สร้างการทางานเป็นทีมร่วมกันกับโรงเรียนและชุมชน - ผลิตครูชุมชนเพื่อตอบสนองความต้องการครูให้เหมาะสมกับคนในพื้นที่ 6. ระบบตรวจสอบคุณภาพการศึกษาที่เข้มข้น การบังคับใช้กฎหมาย หรือกฎหมายที่จะนามาใช้ - การระงับสถาบันหรือหลักสูตรที่ไม่ได้มาตรฐาน เพื่อลดปริมาณของบัณฑิตที่ขาดความสามารถ - มีการตรวจสอบสถาบันและประเมินสถาบัน หมายเหตุ ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาปริญญาตรี และนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . นักเรียน โรงเรียน ชุมชน ตัวเชื่อม เครือข่าย นักปฏิบัติ
  • 17. กลุ่มที่ 9 การเมือง ปัญหา - ความเหลื่อมล้าทางสังคม และกระบวนทัศน์ของสังคมที่มีต่อคนในภาคอีสาน เช่น จน โง่ ซื้อได้ - ทรัพยากรและงบประมาณกระจุกอยู่ที่ส่วนกลาง - ไม่มีหลักประกันในการรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชน - ผู้มีอานาจไม่เปิดโอกาสให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างแท้จริง (เรื่องโครงสร้างอานาจ เช่น อิทธิพลแฝงที่มีผล ต่อการปฏิบัติงานและออกนโยบายของภาครัฐที่ตอบสนองผลประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าผลประโยชน์ของประชาชน) - กระบวนทัศน์ทางการเมืองที่มองประชาธิปไตยระบบตัวแทนเป็นหลัก ไปเลือกตั้งเข้าคูหากาเลือกผู้แทนเท่านั้น แต่ไม่ มองถึงประชาธิปไตยทางตรงของประชาชน - จริยธรรมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการเมือง ที่นาไปสู่ปัญหาคอรัปชั่นต่างๆ ข้อเสนอ - ประชาชนต้องตระหนักรู้ถึงสิทธิทางการเมือง และอานาจทางการเมืองที่ประชาชนมี - ประชาชนต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน เพื่อประกอบการตัดสินใจทางการเมือง - ปรับกระบวนทัศน์ทางการเมืองของสังคม - ประชาชนต้องเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองอย่างแท้จริง - นักการเมืองและสถาบันทางการเมืองต้องมีจริยธรรม และต้องถูกตรวจสอบการทางานได้โดยภาคประชาชน - การจัดสรรทรัพยากรและการใช้ประโยชน์ต้องเท่าเทียมและเป็นธรรม - ประชาชนต้องรู้และสามารถเข้าถึงสิทธิพลเมืองที่ตนพึงได้รับอย่างเท่าเทียมกัน - คณะกรรมการอิสระต่างๆ ต้องมาจากการคัดเลือกของภาคประชาชน กลไก - สร้างพื้นที่(ปลอดภัย)ที่ประชาชนทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็นและเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองได้ - สื่อควรเป็นพื้นที่ของประชาชน ที่มีบทบาทหลักในการสร้างการเรียนรู้ทางการเมืองแก่สังคม การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร รวมทั้งเป็นกลไกตรวจสอบการปฏิบัติงานของภาคการเมือง - สถาบันทางสังคม(ครอบครัว การศึกษา) ต้องมีบทบาทในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ตามวิถีทางประชาธิปไตย - ควรมีการเชื่อมร้อยเครือข่ายภาคประชาชนในระดับจังหวัด เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและการเคลื่อนไหวทาง สังคม (การกระจายอานาจ) - ทาข้อตกลงของชุมชนร่วมกันในการจัดการตนเอง (ชาวบ้านมีสิทธิในการจัดการชีวิตตนเองและชุมชนของตนอย่าง แท้จริง - กระจายอานาจ) - ต้องมีคณะกรรมการภาคประชาชนทั้งระดับท้องถิ่น ระดับประเทศในการติดตาม ตรวจสอบ กากับความรับผิดรับ ชอบของภาคการเมือง ภาคราชการ …………………………………………………
  • 18. กลุ่มที่ 10 (กลุ่มแกนนาเครือข่ายชาวบ้าน) ข้อเสนอ  ประเด็นเรื่องการเกษตร 1. ส่งเสริมเกษตรยั่งยืนไปพร้อมๆกับเกษตรกระแสหลัก (50:50) - มีการศึกษา ทางานวิจัย - มีกองทุน - มีองค์กรอิสระ 2. มีกฎหมาย คุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning) 3. มี พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประกอบการเกษตร 4. มีการทาสัญญากลางระหว่างบริษัทนายทุนกับเกษตรกร 5. มีองค์กรดูแลและตรวจสอบหลังการทาสัญญา  ประเด็นเรื่องที่ดิน 1. ยกเลิกแผนแม่บทแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ (คสช. 64) และ (มติ ครม. 30 มิ.ย. 41) 2. ยุติการกระทาอันเนื่องจาก คสช. 64 ที่กระทบและละเมิดสิทธิชาวบ้าน 3. แก้กฎหมายภาษีที่ดินก้าวหน้า 4. มีกองทุนธนาคารที่ดิน 5. มี พ.ร.บ. รับรองสิทธิชุมชนในการจัดการที่ดิน 6. มี พ.ร.บ. กองทุนยุติธรรมชุมชน ช่วยเหลือคดีเรื่องที่ดิน (ให้ยุติธรรมเรื่องคดีความ ช่าวเหลือเรื่องค่าประกันตัว คุ้มครองสิทธิ) 7. ให้มีการปรับเปลี่ยนและแก้ไข กฎหมายป่าไม้และที่ดินที่ล้าหลังและขัดกัน  ประเด็นเรื่องน้า 1. ให้ชุมชนมีส่วนร่วมและมีสิทธิออกแบบจัดการกระบวนการระบบจัดการน้า 2. มีการทบทวนและศึกษาระบบจัดการน้าเดิม 3. ส่งเสริมการจัดการน้าแบบระบบจัดการน้าแบบระบบย่อย 4. ค่าชนเชยในกรณีเขื่อน  ประเด็นเรื่องท้องถิ่น
  • 19. 1. สภาให้องค์กรชุมชนมีส่วนร่วมในการกาหนดแผนพัฒนา 2. กระจายอานาจให้ประชาชนมีส่วนร่วม 100% 3. ออกแบบ พ.ร.บ. การจักการตนเองใหม่ 4. ให้เทศบาลมีสัดส่วนที่เหมาะสม  ประเด็นเรื่องความยุติธรรม 1. ปรับปรุงกระบวนการพิจารณารับฟังพยาน หลังฐาน การประกันตัวระหว่างคดีต่างๆ ของชุมชนให้มากขึ้น และให้จริงจัง  ประเด็นเรื่องแรงงานข้ามชาติ 1. รับรองการประกอบอาชีพแปลของแรงงานข้ามชาติ 2. การขายบัตรประกันสุขภาพให้ทั่วถึง (สิทธิเรื่องประกันสุขภาพ)  ประเด็นเรื่องผู้บริโภค 1. มีองค์กรอิสระคุ้มครองผู้บริโภค 2. มีกฎหมายคุ้มครองผู้เสียหาย กลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน 1. การยกร่าง 'จังหวัดจัดการตนเองมีสภาประชาชนเป็นอานาจระดับจังหวัดของทุกประเด็นปัญหา' วันที่ 3 ตุลาคม 2557 ณ พอช. ขอนแก่น เจ้าภาพ: เครือข่ายสภาองค์กรชุมชน ภาคอีสาน (พื้นที่กระบวนการ) กป. อพช. อีสาน (เลขากระบวนการ) และเคลือข่ายชาวบ้าน อื่นๆ
  • 20. การประชุม เพื่อแก้ปัญหา คสช. 64 ให้มีคณะกรรมการร่วม ประกอบด้วย ภาคส่วนที่เข้าร่วมการประชุม ผู้ที่รับผิดชอบเชิญ สภาองค์กรชุมชน ธนาธร นักวิชาการ พัฒนชัย ทหาร สื่อ หวาน แกนนาและชาวบ้าน เครือข่ายที่เกี่ยวข้อง แกะนา หน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง นักกฎหมาย พัฒนชัย 1. เฉพาะหน้า - เคลื่อนไหวรณรงค์โดยการรวมตัวของชาวบ้าน เพื่อหากลไกร่วมในการแก้ไขปัญหาของทุกด้าน - แก้ไขทุกประเด็นปัญหา - ร่วมคิด ร่วมขับเคลื่อนเฉพาะหน้าให้เกิดกลไกแก้ไขที่มีกฎหมายรองรับและเกิดผลจริง 2. ระยะยาว - สภาประชาชนของภาคประชาชน ในระดับจังหวัด …………………………………………………