SlideShare a Scribd company logo
น้ำ บรรยายโดย  นายสุพัตรวัฒยุ ผู้อำนวยการสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ กรมชลประทาน
หัวข้อบรรยาย ปริมาณน้ำในโลก 1 น้ำในประเทศไทย 2 เรื่องน้ำในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่  10 3 แผนการปลูกพืชฤดูแล้ง ปี  2551/2552 5 สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ เรื่องน้ำในแผนบริหารราชการแผ่นดิน  2552-2554 4
ปริมาณน้ำในโลก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ
ปริมาณน้ำในโลก ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ
น้ำจืดเป็นทรัพยากรที่ขาดแคลนอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน  องค์การ สหประชาชาติ  พ . ศ .2543 - 2568  ประชากรโลก  เพิ่มจาก  6,070  ล้านคน เป็น  7,851  ล้านคน ปัจจุบัน  6,740  ล้านคน  ( ปี  2550) อัตราการใช้น้ำต่อคนเพิ่มขึ้นถึง  4  เท่า
ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน จัดระบบการใช้ที่ดินการเกษตร และแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ เพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต  ควบคุมพื้นที่ชลประทานให้ใช้เป็นพื้นที่สำหรับการผลิตในภาคเกษตร  การปรับโครงสร้าง ภาคเกษตร
ปัญหาของน้ำ  ขาดแคลน ความจุแหล่งน้ำ  72,428  ล้าน ลบ . ม . ความต้องการน้ำ  92,736  ล้าน ลบ . ม . ในปี  2548 น้ำท่วม 66  ครั้งในปี  2535  เสียหาย  5  พันล้าน 200  ครั้งในปี  2545  เสียหายเพิ่มขึ้นเป็น 1.3  หมื่นล้าน คุณภาพ เสื่อมโทรม แหล่งน้ำที่อยู่ในเกณฑ์ดีลดลงมาอยู่ในเกณฑ์พอใช้เกือบเท่าตัว
ดิน ที่ดิน การถือ ครองที่ดิน ที่ดินทำกินโดยเฉลี่ยลดลง จาก  21  ไร่ / คน ในปี  2536 เหลือ  19.3  ไร่ / คน ในปี  2546 เสื่อมโทรม ที่ดินเสื่อมโทรมร้อยละ  60 เพิ่มขึ้น  10  ล้านไร่  ในรอบ 10  ปี
ป่าไม้ พื้นที่ป่าถูกทำลาย  67  ล้านไร่ ใน  40  ปีลดลงจากร้อยละ  53.3  ในปี  2506  เหลือ ร้อยละ  32.6  ในปี  2546 พื้นที่ป่าปลูกเพิ่มขึ้น แต่ขาดความหลากหลายทางชีวภาพ ถูกทำลายจนระบบนิเวศเสีย สมดุล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และการสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย การบริหารจัดการลุ่มน้ำอย่างบูรณาการ  25  ลุ่มน้ำ  เพิ่มพื้นที่ชลประทาน ไม่น้อยกว่า  8  แสนไร่
ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และการสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำอย่างบูรณาการ เพื่อให้มีน้ำในปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสม สนองความต้องการจำเป็นในการดำรงชีวิตที่ดีและการผลิตทางเศรษฐกิจที่พอเพียง  พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น โดยการจัดหาน้ำสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภคให้เพียงพอทั่วถึงทุกหมู่บ้าน  เพิ่มขีดความสามารถในการเก็บกักของแหล่งน้ำที่มีอยู่เดิม ฟื้นฟูปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติ ขุดสระน้ำในไร่นา  พัฒนาระบบโครงข่ายเชื่อมโยงแหล่งน้ำและการกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำใหม่เพิ่มเติมเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสมและที่ประชาชนยอมรับ  พัฒนานำน้ำบาดาลมาใช้ร่วมกับน้ำผิวดิน ในพื้นที่ที่มีศักยภาพน้ำบาดาลเพียงพอ  ภายใต้การบริหารจัดการความต้องการใช้น้ำอย่างคุ้มค่า
แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2552-2554
นโยบายที่ ๑  นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก   นโยบายที่ ๒ นโยบายความมั่นคงของรัฐ  นโยบายที่ ๓ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต  นโยบายที่ ๔  นโยบายเศรษฐกิจ   นโยบายที่ ๕  นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม   นโยบายที่ ๖ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม  นโยบายที่ ๗ นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ  นโยบายที่ ๘ นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี  แนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน
๕ .  พัฒนา กลไก บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรน้ำ เพื่อเพิ่มน้ำต้นทุน รวมทั้งพัฒนาระบบน้ำ สะอาด −  จำนวนแหล่งน้ำผิวดิน  /  ใต้ดิน ที่ได้รับการพัฒนาและฟื้นฟู เป็นแหล่งน้ำ ต้นทุนสนับสนุน การอุปโภค บริโภคของประเทศ ภาคการเกษตร และอุตสาหกรรมอย่าง ทั่วถึง เพียงพอ ๑ . ๑ . ๕ ฟื้นฟูเศรษฐกิจที่กำลังประสบปัญหาเป็นการเร่งด่วน เป้าหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด ๑ . ๑  การสร้างความเชื่อมั่นและกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค
๑ .  ฟื้นฟูเศรษฐกิจที่กำลังประสบปัญหาเป็นการเร่งด่วน โดยจัดทำ เป็นแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะสั้นที่ครอบคลุมภาคเกษตรและเกษตรกร ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการและการท่องเที่ยว ภาคการส่งออกภาคอสังหาริมทรัพย์ การสร้างงานและสร้างรายได้ในชนบท การพัฒนาแหล่งน้ำธรรมชาติและฟื้นฟูทรัพยากรให้แล้วเสร็จภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ พร้อมทั้งจัดทำ งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณ พ . ศ .  ๒๕๕๒ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเม็ดเงินของรัฐเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและเพื่อให้สามารถบรรเทาภาวะความเดือดร้อนของประชาชนและภาคธุรกิจได้ −  จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการและส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้มีการใช้ทรัพยากรน้ำเป็นฐานในการพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่เดือดร้อนในระยะสั้น −  บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่เดือดร้อนในระยะสั้น −  พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำและการชลประทาน เน้นการสูบน้ำด้วยไฟฟ้าและสร้างสถานีสูบน้ำขนาดจิ๋วจากแหล่งน้ำธรรมชาติโดยให้เกษตรกรรวมกลุ่มวางแผนการผลิต รวมทั้งส่งเสริมการใช้ยางพาราเป็นวัตถุดิบ กลยุทธ์ / วิธีดำเนินการ
๑ . ๑ . ๗ เร่งลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ ๕ .  เพิ่มประสิทธิภาพการจัดหาแหล่งน้ำต้นทุนกักเก็บ และการกระจายน้ำ −  ขีดความสามารถในการกักเก็บและกระจายทรัพยากรน้ำของประเทศเพิ่มขึ้น เป้าหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
๑ .  เร่งลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยให้ความสำคัญแก่โครงการลงทุนที่มีความคุ้มค่ามากที่สุด เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการลงทุน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบการลงทุนเพื่อปรับโครงสร้างระบบบริการสุขภาพที่มุ่งสู่การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ การลงทุนพัฒนาระบบขนส่งมวลชน และการพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำและการชลประทาน ให้สามารถเริ่มดำเนินโครงการได้ในปี ๒๕๕๒ โดยให้ความสำคัญแก่การมีส่วนร่วมของประชาชนการรักษา  สิ่งแวดล้อมการดำเนินงานอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้และการรักษาวินัยการคลังของประเทศรวมทั้งเร่งรัดการเบิกจ่ายงบลงทุนของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ −  พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำและการชลประทานโดยการก่อสร้างแหล่งน้ำและระบบส่งน้ำ −  เพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนด้วยการพัฒนาและปรับปรุงฟื้นฟูแหล่งน้ำ และวางระบบกระจายน้ำให้ทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้ง การพัฒนาและฟื้นฟูระบบประปาผิวดินและบาดาล กลยุทธ์ / วิธีดำเนินการ
๔ . ๒ นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ๔ . ๒ . ๑ ภาคเกษตร ๓ .  ทรัพยากรการเกษตรได้รับการพัฒนา −  บริหารจัดการน้ำ ในพื้นที่ชลประทานไม่น้อยกว่า ๑ . ๗ ล้านไร่ เป้าหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
๗ .  เร่งรัดการจัดหาแหล่งน้ำ ให้ทั่วถึงและเพียงพอ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรน้ำเพื่อการผลิตทางการเกษตรโดยเน้นการเพิ่มสระน้ำในไร่นาและขุดลอกคูคลองเพื่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้งส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากน้ำ ให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับชนิดพืช เพิ่มพื้นที่ชลประทานทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ตลอดจนขยายระบบการกระจายน้ำ ในพื้นที่ชลประทานให้ใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ −  พัฒนาปรับปรุงและขยายระบบชลประทานโดยปรับปรุงพื้นที่ชลประทานเดิมให้สมบูรณ์และขยายพื้นที่ใหม่ รวมทั้งรณรงค์ ให้มีการใช้น้ำ อย่างมีประสิทธิภาพดำ เนินการจัดหาน้ำ ให้กับผู้ใช้น้ำ ทุกประเภท โดยการก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดกลาง ทำ การศึกษาสำรวจ ออกแบบ จัดหาที่ดิน ตลอดจนก่อสร้างแหล่งน้ำ ระบบส่งน้ำขนาดเล็กในพื้นที่ชุมชน รวมทั้งเร่งรัดพัฒนาระบบกระจายน้ำในพื้นที่ชลประทาน กลยุทธ์ / วิธีดำเนินการ
๘ .  คุ้มครองและรักษาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการทำเกษตรกรรมที่ได้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านชลประทานแล้ว เพื่อเป็นฐานการผลิตทางการเกษตรในระยะยาว  ฟื้นฟู คุณภาพดิน จัดหาที่ดินทำกินให้แก่เกษตรกรยากจนในรูปของธนาคารที่ดิน และเร่งรัดการออกเอกสารสิทธิให้แก่เกษตรกรยากจนและชุมชนที่ทำกินอยู่ในที่ดินของรัฐที่ไม่มีสภาพป่าแล้วในรูปของโฉนดชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรในรูปของนิคมการเกษตร −  คุ้มครองที่ดินเพื่อการเกษตร โดยเน้นพื้นที่ที่ได้รับการพัฒนาระบบชลประทานแล้วให้เป็นฐานการผลิตทางการเกษตรที่มั่นคงในระยะยาว
๕ . ๑  คุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำทรัพยากรธรณี ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งฟื้นฟูอุทยานทางทะเล อย่างเป็นระบบ ๒ .  พัฒนากลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และฟื้นฟูแหล่งน้ำ ต้นทุน รวมทั้งพัฒนาน้ำสะอาด −  แผนและกลไกบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแหล่งน้ำต้นทุนที่ได้รับการฟื้นฟู และระบบน้ำสะอาดที่ได้รับการพัฒนา เป้าหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
๑ .  คุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งฟื้นฟูอุทยานทางทะเลอย่างเป็นระบบ เร่งจัดทำ แนวเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยจัดแบ่งประเภทที่ดินระหว่างที่ดินของรัฐและเอกชนให้ชัดเจนเร่งประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์ กำหนดเขตและส่งเสริมการปลูกป่า ป่าชุมชน เพิ่มฝายต้นน้ำลำธารและฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำริ ส่งเสริมป่าเศรษฐกิจในพื้นที่ที่เหมาะสม ป้องกันการเกิดไฟป่าปราบปรามการบุกรุกทำลายป่าอย่างจริงจัง ส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกเพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน ลดการใช้สารเคมี และฟื้นฟูดินในบริเวณพื้นที่ที่ดินมีปัญหา รวมทั้งจัดให้มีระบบบริหารจัดการน้ำในระดับประเทศทั้งน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน เพื่อตอบสนองความต้องการของภาคเศรษฐกิจและการอุปโภคบริโภค −  พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งน้ำ เพื่อเพิ่มน้ำต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพการกระจายน้ำบูรณาการน้ำผิวดิน ใต้ดิน และกำหนดมาตรฐานพัฒนาระบบน้ำสะอาด สนับสนุนทุกภาคส่วน รวมทั้งมีกลไกบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการและมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน กลยุทธ์ / วิธีดำเนินการ
ใหญ่ กลาง รวม เหนือ ตอน . กลาง ตะวันตก ตะวันออก ใต้ รวม สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำ โครงการขนาดใหญ่และขนาดกลาง N ความจุ ปี  51 % 5 23,612 17,846 76 12 7,605 6,806 89 3 1,360 1,376 101 2 26,605 23,034 87 5 1,173 1,070 91 4 8,150 6,090 75 31 68,505 56,222 82 N ความจุ ปี  51 % 51 823 667 81 222 1,772 1,715 97 9 80 78 97 7 132 92 70 47 646 580 90 31 508 286 56 367 3,961 3,419 86 N ความจุ ปี  51 % 56 24,435 18,513 76 234 9,377 8,521 91 12 1,440 1,454 101 9 26,737 23,126 86 52 1,819 1,650 91 35 8,658 6,376 74 398 72,466 59,641 82
เล็ก สูบน้ำ กปร . เหนือ ตอน . กลาง ตะวันตก ตะวันออก ใต้ รวม โครงการชลประทานขนาดเล็ก สูบน้ำด้วยไฟฟ้า กปร . N ความจุ พื้นที่ ชป . 3,025 389 349,041 4,738 873 11,672 917 21 16,500 215 169 24462 792 44 37,469 1,880 174 129,374 11,567 1,672 568,518 N พื้นที่ ชป . รับ ปย . 753 1,180,408 165,144 1,089 2,069,163 139,920 27 57,438 54 85,830 93 207,583 1,500 113 187,355 6,750 2,129 3,787,777 313,314 N ความจุ รับ ปย . 691 237 553,376 491 123 306,019 95 23.04 83,150 53 14.74 57,875 172 48 89,933 743 53 734,917 2,245 500 1,824,270
แผน และผลการใช้น้ำปี  2550/2551 21 , 862 25 , 281 22 , 687 8 , 550 11 , 287 9 , 550 7 , 000 9 , 530 8 , 000 550 779 550 1 , 000 978 1 , 000
แผน - ผลการใช้น้ำปี  2551  และประสิทธิภาพชลประทานของลุ่มน้ำเจ้าพระยา (1  พ . ย . 2550 – 30  เม . ย . 2551) 6 , 794 5 , 612 8 , 706 71  % 7 46 473 991 820 473 991 1 , 779 1 , 280 2 , 215 1 , 561 1 , 431 1 , 866 1 , 888 1 , 846 2 , 759 73  % 57  % 58  % 77  % 67  %
น้ำต้นทุนและการจัดสรรฤดูแล้ง  2551/2552 36,128 15 , 499 1 , 945 5,218 22,687
8,782,742 753,285 3,645,853 13,181,880 แผนการปลูกพืชฤดูแล้ง  2551/2552
แผนการส่งน้ำสำหรับการปลูกพืชฤดูแล้ง ปี  2551/2552 สำรวจความต้องการปลูกพืช คำนวณความต้องการน้ำ ส่งน้ำตามความต้องการ ตรวจสอบและแก้ไขปัญหา ประเมินผลการส่งน้ำ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การส่งน้ำ เป็นภารกิจหลักของกรมชลประทาน ฝสบ. เป็นกำลังสำคัญในการดำเนินการไปสู่ความสำเร็จ
ขอขอบคุณ จบการบรรยาย

More Related Content

Similar to ¼êí¹

โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
Thai China
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำnunticha
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตmook_suju411
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตรdaiideah102
 
4.km พค ชป1
4.km พค ชป14.km พค ชป1
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทานChanapun Kongsomnug
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่Chanapun Kongsomnug
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2Thitapa1996
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่Thitapa1996
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์Moddang Tampoem
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์Moddang Tampoem
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
UNDP
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลjeabjeabloei
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged documentapecthaitu
 
ห้วยองคต
ห้วยองคตห้วยองคต
ห้วยองคตSnook12
 

Similar to ¼êí¹ (20)

โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
 
อากาศ
อากาศอากาศ
อากาศ
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
เรื่อง การทำการเกษตร
เรื่อง  การทำการเกษตรเรื่อง  การทำการเกษตร
เรื่อง การทำการเกษตร
 
4.km พค ชป1
4.km พค ชป14.km พค ชป1
4.km พค ชป1
 
โครงการชลประทาน
โครงการชลประทานโครงการชลประทาน
โครงการชลประทาน
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่โครงการชลประทาน ใหม่
โครงการชลประทาน ใหม่
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
Merged document
Merged documentMerged document
Merged document
 
ห้วยองคต
ห้วยองคตห้วยองคต
ห้วยองคต
 

Recently uploaded

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

¼êí¹

  • 1. น้ำ บรรยายโดย  นายสุพัตรวัฒยุ ผู้อำนวยการสำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ กรมชลประทาน
  • 2. หัวข้อบรรยาย ปริมาณน้ำในโลก 1 น้ำในประเทศไทย 2 เรื่องน้ำในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 3 แผนการปลูกพืชฤดูแล้ง ปี 2551/2552 5 สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ เรื่องน้ำในแผนบริหารราชการแผ่นดิน 2552-2554 4
  • 3.
  • 4.
  • 5. น้ำจืดเป็นทรัพยากรที่ขาดแคลนอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน องค์การ สหประชาชาติ  พ . ศ .2543 - 2568 ประชากรโลก เพิ่มจาก 6,070 ล้านคน เป็น 7,851 ล้านคน ปัจจุบัน 6,740 ล้านคน ( ปี 2550) อัตราการใช้น้ำต่อคนเพิ่มขึ้นถึง 4 เท่า
  • 6. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน จัดระบบการใช้ที่ดินการเกษตร และแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ เพื่อเพิ่มผลิตภาพการผลิต ควบคุมพื้นที่ชลประทานให้ใช้เป็นพื้นที่สำหรับการผลิตในภาคเกษตร การปรับโครงสร้าง ภาคเกษตร
  • 7. ปัญหาของน้ำ ขาดแคลน ความจุแหล่งน้ำ 72,428 ล้าน ลบ . ม . ความต้องการน้ำ 92,736 ล้าน ลบ . ม . ในปี 2548 น้ำท่วม 66 ครั้งในปี 2535 เสียหาย 5 พันล้าน 200 ครั้งในปี 2545 เสียหายเพิ่มขึ้นเป็น 1.3 หมื่นล้าน คุณภาพ เสื่อมโทรม แหล่งน้ำที่อยู่ในเกณฑ์ดีลดลงมาอยู่ในเกณฑ์พอใช้เกือบเท่าตัว
  • 8. ดิน ที่ดิน การถือ ครองที่ดิน ที่ดินทำกินโดยเฉลี่ยลดลง จาก 21 ไร่ / คน ในปี 2536 เหลือ 19.3 ไร่ / คน ในปี 2546 เสื่อมโทรม ที่ดินเสื่อมโทรมร้อยละ 60 เพิ่มขึ้น 10 ล้านไร่ ในรอบ 10 ปี
  • 9. ป่าไม้ พื้นที่ป่าถูกทำลาย 67 ล้านไร่ ใน 40 ปีลดลงจากร้อยละ 53.3 ในปี 2506 เหลือ ร้อยละ 32.6 ในปี 2546 พื้นที่ป่าปลูกเพิ่มขึ้น แต่ขาดความหลากหลายทางชีวภาพ ถูกทำลายจนระบบนิเวศเสีย สมดุล
  • 10. ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และการสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เป้าหมาย การบริหารจัดการลุ่มน้ำอย่างบูรณาการ 25 ลุ่มน้ำ เพิ่มพื้นที่ชลประทาน ไม่น้อยกว่า 8 แสนไร่
  • 11. ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ และการสร้างความมั่นคงของฐานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม บริหารจัดการน้ำในลุ่มน้ำอย่างบูรณาการ เพื่อให้มีน้ำในปริมาณและคุณภาพที่เหมาะสม สนองความต้องการจำเป็นในการดำรงชีวิตที่ดีและการผลิตทางเศรษฐกิจที่พอเพียง พัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้น โดยการจัดหาน้ำสะอาดเพื่อการอุปโภคบริโภคให้เพียงพอทั่วถึงทุกหมู่บ้าน เพิ่มขีดความสามารถในการเก็บกักของแหล่งน้ำที่มีอยู่เดิม ฟื้นฟูปรับปรุงแหล่งน้ำธรรมชาติ ขุดสระน้ำในไร่นา พัฒนาระบบโครงข่ายเชื่อมโยงแหล่งน้ำและการกระจายน้ำ พัฒนาแหล่งน้ำใหม่เพิ่มเติมเฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสมและที่ประชาชนยอมรับ พัฒนานำน้ำบาดาลมาใช้ร่วมกับน้ำผิวดิน ในพื้นที่ที่มีศักยภาพน้ำบาดาลเพียงพอ ภายใต้การบริหารจัดการความต้องการใช้น้ำอย่างคุ้มค่า
  • 13. นโยบายที่ ๑ นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก นโยบายที่ ๒ นโยบายความมั่นคงของรัฐ นโยบายที่ ๓ นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต นโยบายที่ ๔ นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายที่ ๕ นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นโยบายที่ ๖ นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม นโยบายที่ ๗ นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ นโยบายที่ ๘ นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี แนวทางการบริหารราชการแผ่นดิน
  • 14. ๕ . พัฒนา กลไก บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ อนุรักษ์ ฟื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรน้ำ เพื่อเพิ่มน้ำต้นทุน รวมทั้งพัฒนาระบบน้ำ สะอาด − จำนวนแหล่งน้ำผิวดิน / ใต้ดิน ที่ได้รับการพัฒนาและฟื้นฟู เป็นแหล่งน้ำ ต้นทุนสนับสนุน การอุปโภค บริโภคของประเทศ ภาคการเกษตร และอุตสาหกรรมอย่าง ทั่วถึง เพียงพอ ๑ . ๑ . ๕ ฟื้นฟูเศรษฐกิจที่กำลังประสบปัญหาเป็นการเร่งด่วน เป้าหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด ๑ . ๑ การสร้างความเชื่อมั่นและกระตุ้นเศรษฐกิจในภาพรวม เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นแก่ภาคประชาชนและเอกชนในการลงทุนและการบริโภค
  • 15. ๑ . ฟื้นฟูเศรษฐกิจที่กำลังประสบปัญหาเป็นการเร่งด่วน โดยจัดทำ เป็นแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจระยะสั้นที่ครอบคลุมภาคเกษตรและเกษตรกร ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการและการท่องเที่ยว ภาคการส่งออกภาคอสังหาริมทรัพย์ การสร้างงานและสร้างรายได้ในชนบท การพัฒนาแหล่งน้ำธรรมชาติและฟื้นฟูทรัพยากรให้แล้วเสร็จภายในเดือนมกราคม ๒๕๕๒ พร้อมทั้งจัดทำ งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปีงบประมาณ พ . ศ . ๒๕๕๒ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเม็ดเงินของรัฐเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจและเพื่อให้สามารถบรรเทาภาวะความเดือดร้อนของประชาชนและภาคธุรกิจได้ − จัดตั้งกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการและส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้มีการใช้ทรัพยากรน้ำเป็นฐานในการพัฒนาประเทศและคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และดำเนินการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่เดือดร้อนในระยะสั้น − บริหารจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรที่เดือดร้อนในระยะสั้น − พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำและการชลประทาน เน้นการสูบน้ำด้วยไฟฟ้าและสร้างสถานีสูบน้ำขนาดจิ๋วจากแหล่งน้ำธรรมชาติโดยให้เกษตรกรรวมกลุ่มวางแผนการผลิต รวมทั้งส่งเสริมการใช้ยางพาราเป็นวัตถุดิบ กลยุทธ์ / วิธีดำเนินการ
  • 16. ๑ . ๑ . ๗ เร่งลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ ๕ . เพิ่มประสิทธิภาพการจัดหาแหล่งน้ำต้นทุนกักเก็บ และการกระจายน้ำ − ขีดความสามารถในการกักเก็บและกระจายทรัพยากรน้ำของประเทศเพิ่มขึ้น เป้าหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
  • 17. ๑ . เร่งลงทุนเพื่อการพัฒนาประเทศ โดยให้ความสำคัญแก่โครงการลงทุนที่มีความคุ้มค่ามากที่สุด เพื่อเสริมสร้างบรรยากาศการลงทุน ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาทั้งระบบการลงทุนเพื่อปรับโครงสร้างระบบบริการสุขภาพที่มุ่งสู่การป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ การลงทุนพัฒนาระบบขนส่งมวลชน และการพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำและการชลประทาน ให้สามารถเริ่มดำเนินโครงการได้ในปี ๒๕๕๒ โดยให้ความสำคัญแก่การมีส่วนร่วมของประชาชนการรักษา สิ่งแวดล้อมการดำเนินงานอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้และการรักษาวินัยการคลังของประเทศรวมทั้งเร่งรัดการเบิกจ่ายงบลงทุนของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ − พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำและการชลประทานโดยการก่อสร้างแหล่งน้ำและระบบส่งน้ำ − เพิ่มปริมาณน้ำต้นทุนด้วยการพัฒนาและปรับปรุงฟื้นฟูแหล่งน้ำ และวางระบบกระจายน้ำให้ทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้ง การพัฒนาและฟื้นฟูระบบประปาผิวดินและบาดาล กลยุทธ์ / วิธีดำเนินการ
  • 18. ๔ . ๒ นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ๔ . ๒ . ๑ ภาคเกษตร ๓ . ทรัพยากรการเกษตรได้รับการพัฒนา − บริหารจัดการน้ำ ในพื้นที่ชลประทานไม่น้อยกว่า ๑ . ๗ ล้านไร่ เป้าหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
  • 19. ๗ . เร่งรัดการจัดหาแหล่งน้ำ ให้ทั่วถึงและเพียงพอ รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรน้ำเพื่อการผลิตทางการเกษตรโดยเน้นการเพิ่มสระน้ำในไร่นาและขุดลอกคูคลองเพื่อบรรเทาอุทกภัยและภัยแล้งส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากน้ำ ให้มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับชนิดพืช เพิ่มพื้นที่ชลประทานทั้งขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก ตลอดจนขยายระบบการกระจายน้ำ ในพื้นที่ชลประทานให้ใช้ประโยชน์ได้เต็มศักยภาพ − พัฒนาปรับปรุงและขยายระบบชลประทานโดยปรับปรุงพื้นที่ชลประทานเดิมให้สมบูรณ์และขยายพื้นที่ใหม่ รวมทั้งรณรงค์ ให้มีการใช้น้ำ อย่างมีประสิทธิภาพดำ เนินการจัดหาน้ำ ให้กับผู้ใช้น้ำ ทุกประเภท โดยการก่อสร้างโครงการชลประทานขนาดกลาง ทำ การศึกษาสำรวจ ออกแบบ จัดหาที่ดิน ตลอดจนก่อสร้างแหล่งน้ำ ระบบส่งน้ำขนาดเล็กในพื้นที่ชุมชน รวมทั้งเร่งรัดพัฒนาระบบกระจายน้ำในพื้นที่ชลประทาน กลยุทธ์ / วิธีดำเนินการ
  • 20. ๘ . คุ้มครองและรักษาพื้นที่ที่เหมาะสมกับการทำเกษตรกรรมที่ได้มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านชลประทานแล้ว เพื่อเป็นฐานการผลิตทางการเกษตรในระยะยาว ฟื้นฟู คุณภาพดิน จัดหาที่ดินทำกินให้แก่เกษตรกรยากจนในรูปของธนาคารที่ดิน และเร่งรัดการออกเอกสารสิทธิให้แก่เกษตรกรยากจนและชุมชนที่ทำกินอยู่ในที่ดินของรัฐที่ไม่มีสภาพป่าแล้วในรูปของโฉนดชุมชน รวมทั้งสนับสนุนการพัฒนาการเกษตรในรูปของนิคมการเกษตร − คุ้มครองที่ดินเพื่อการเกษตร โดยเน้นพื้นที่ที่ได้รับการพัฒนาระบบชลประทานแล้วให้เป็นฐานการผลิตทางการเกษตรที่มั่นคงในระยะยาว
  • 21. ๕ . ๑ คุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำทรัพยากรธรณี ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งฟื้นฟูอุทยานทางทะเล อย่างเป็นระบบ ๒ . พัฒนากลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ และฟื้นฟูแหล่งน้ำ ต้นทุน รวมทั้งพัฒนาน้ำสะอาด − แผนและกลไกบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแหล่งน้ำต้นทุนที่ได้รับการฟื้นฟู และระบบน้ำสะอาดที่ได้รับการพัฒนา เป้าหมายเชิงนโยบายและตัวชี้วัด
  • 22. ๑ . คุ้มครองและอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรธรณี ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งฟื้นฟูอุทยานทางทะเลอย่างเป็นระบบ เร่งจัดทำ แนวเขตการใช้ประโยชน์ที่ดิน โดยจัดแบ่งประเภทที่ดินระหว่างที่ดินของรัฐและเอกชนให้ชัดเจนเร่งประกาศพื้นที่ป่าอนุรักษ์ กำหนดเขตและส่งเสริมการปลูกป่า ป่าชุมชน เพิ่มฝายต้นน้ำลำธารและฝายชะลอน้ำตามแนวพระราชดำริ ส่งเสริมป่าเศรษฐกิจในพื้นที่ที่เหมาะสม ป้องกันการเกิดไฟป่าปราบปรามการบุกรุกทำลายป่าอย่างจริงจัง ส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกเพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน ลดการใช้สารเคมี และฟื้นฟูดินในบริเวณพื้นที่ที่ดินมีปัญหา รวมทั้งจัดให้มีระบบบริหารจัดการน้ำในระดับประเทศทั้งน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน เพื่อตอบสนองความต้องการของภาคเศรษฐกิจและการอุปโภคบริโภค − พัฒนาและฟื้นฟูแหล่งน้ำ เพื่อเพิ่มน้ำต้นทุน เพิ่มประสิทธิภาพการกระจายน้ำบูรณาการน้ำผิวดิน ใต้ดิน และกำหนดมาตรฐานพัฒนาระบบน้ำสะอาด สนับสนุนทุกภาคส่วน รวมทั้งมีกลไกบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการและมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน กลยุทธ์ / วิธีดำเนินการ
  • 23. ใหญ่ กลาง รวม เหนือ ตอน . กลาง ตะวันตก ตะวันออก ใต้ รวม สภาพน้ำในอ่างเก็บน้ำ โครงการขนาดใหญ่และขนาดกลาง N ความจุ ปี 51 % 5 23,612 17,846 76 12 7,605 6,806 89 3 1,360 1,376 101 2 26,605 23,034 87 5 1,173 1,070 91 4 8,150 6,090 75 31 68,505 56,222 82 N ความจุ ปี 51 % 51 823 667 81 222 1,772 1,715 97 9 80 78 97 7 132 92 70 47 646 580 90 31 508 286 56 367 3,961 3,419 86 N ความจุ ปี 51 % 56 24,435 18,513 76 234 9,377 8,521 91 12 1,440 1,454 101 9 26,737 23,126 86 52 1,819 1,650 91 35 8,658 6,376 74 398 72,466 59,641 82
  • 24. เล็ก สูบน้ำ กปร . เหนือ ตอน . กลาง ตะวันตก ตะวันออก ใต้ รวม โครงการชลประทานขนาดเล็ก สูบน้ำด้วยไฟฟ้า กปร . N ความจุ พื้นที่ ชป . 3,025 389 349,041 4,738 873 11,672 917 21 16,500 215 169 24462 792 44 37,469 1,880 174 129,374 11,567 1,672 568,518 N พื้นที่ ชป . รับ ปย . 753 1,180,408 165,144 1,089 2,069,163 139,920 27 57,438 54 85,830 93 207,583 1,500 113 187,355 6,750 2,129 3,787,777 313,314 N ความจุ รับ ปย . 691 237 553,376 491 123 306,019 95 23.04 83,150 53 14.74 57,875 172 48 89,933 743 53 734,917 2,245 500 1,824,270
  • 25. แผน และผลการใช้น้ำปี 2550/2551 21 , 862 25 , 281 22 , 687 8 , 550 11 , 287 9 , 550 7 , 000 9 , 530 8 , 000 550 779 550 1 , 000 978 1 , 000
  • 26. แผน - ผลการใช้น้ำปี 2551 และประสิทธิภาพชลประทานของลุ่มน้ำเจ้าพระยา (1 พ . ย . 2550 – 30 เม . ย . 2551) 6 , 794 5 , 612 8 , 706 71 % 7 46 473 991 820 473 991 1 , 779 1 , 280 2 , 215 1 , 561 1 , 431 1 , 866 1 , 888 1 , 846 2 , 759 73 % 57 % 58 % 77 % 67 %
  • 28. 8,782,742 753,285 3,645,853 13,181,880 แผนการปลูกพืชฤดูแล้ง 2551/2552
  • 29.
  • 30. การส่งน้ำ เป็นภารกิจหลักของกรมชลประทาน ฝสบ. เป็นกำลังสำคัญในการดำเนินการไปสู่ความสำเร็จ