Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา

FURD_RSU

ปัจจุบัน สงขลาได้เกิดกระแสการอนุรักษ์เมืองเก่าขึ้น มีการจัดโครงการและกิจกรรมมากมาย จนส่งผลให้เมืองเก่าสงขลาเป็นที่พูดถึงและโดดเด่นขึ้น กิจกรรมต่างๆ ยังทำให้ผู้คนในเมืองหันมาตระหนักถึงคุณค่าประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและสถาปัตยกรรมของเมือง ซึ่งภาคประชาชนที่มีบทบาทยิ่งในการขับเคลื่อนการอนุรักษ์มรดกเมืองดังกล่าวคือ “ภาคีคนรักเมืองสงขลา”

รังสี รัตนปราการ
ดร.จเร สุวรรณชาต
สืบสกุล ศรีสุข
ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
Heritage Trust
กับการพัถนาย่านเมืองเก่าสงขลา
| 2
Heritage Trust
กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
รังสี รัตนปราการ
ดร.จเร สุวรรณชาต
สืบสกุล ศรีสุข
| 3
ผู้เขียน รังสี รัตนปราการ ดร.จเร สุวรรณชาต สืบสกุล ศรีสุข
บรรณาธิการบริหาร นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล
ผู้ถอดความ นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
กองบรรณาธิการ นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร
นายฮาพีฟี สะมะแอ
ปก นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์
รูปเล่ม นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง
ปีที่เผยแพร่ มกราคม พ.ศ. 2560
ผู้เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ
(CPWI) ภายใต้แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง
ผู้สนับสนุน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
| 4
Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา
บทนา
ช่วงปีที่ผ่านมา ได้เกิดกระแสการอนุรักษ์เมืองเก่าขึ้นในเมืองสงขลา มีโครงการและกิจกรรม
เกิดขึ้นมากมายภายในเมือง ส่งผลให้เมืองสงขลาเป็นที่พูดถึงและโดดเด่นขึ้นมามาก โดยกิจกรรมที่
เกิดขึ้นเริ่มทาให้ผู้คนในเมืองหันมาตระหนักถึงคุณค่าประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมของเมือง
และที่สาคัญ เมืองสงขลาได้เตรียมผลักดันเมืองเก่าสงขลาขึ้นสู่การเป็นมรดกโลก ซึ่งภาคประชาชนใน
พื้นที่จังหวัดสงขลาได้มีบทบาทอย่างยิ่งในขับเคลื่อนดังกล่าว ประชาชนกลุ่มนี้เป็นที่รู้จักดีใน
นาม “ภาคีคนรักเมืองสงขลา” ทาหน้าที่สนับสนุนและประสานการทางานของภาครัฐและ
ประชาชนในพื้นที่ ภาคีคนรักเมืองสงขลาเริ่มต้นจากการรวมกลุ่มอย่างเข้มแข็งของผู้ซึ่งมีความคิดริเริ่ม
ในการผลักดันให้สงขลาเป็นเมืองมรดกโลก และต่อมาได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ จนถึงขณะนี้ การ
ดาเนินงานของภาคีคนรักเมืองสงขลาส่งผลดีต่อการพัฒนาเมืองสงขลาทั้งในแง่ของการอนุรักษ์และการ
ท่องเที่ยวอย่างมีทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน
แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง (FURD) ภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและ
เมือง มหาวิทยาลัยรังสิต จึงมีความสนใจในกระบวนการทางานของภาคประชาสังคมเมืองสงขลา ว่ามี
ความคิดริเริ่มอย่างไร ดาเนินงานอย่างไร มีบทเรียนอย่างไร เพื่อที่จะนาองค์ความรู้ด้านการพัฒนาที่
ได้มาต่อยอดเป็นแบบอย่างสาหรับการปรับปรุงและพัฒนาเมืองอื่นๆ ต่อไป
ความสาคัญของเมืองสงขลา1
สงขลา เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่สาคัญแห่งหนึ่งในคาบสมุทรสทิงพระมาตั้งแต่โบราณ ทั้งยัง
เป็นเมืองที่มีมรดกภูมิทัศน์วัฒนธรรมของบรรพบุรุษตกทอดมารุ่นแล้วรุ่นเล่า เมืองสงขลาเป็นเมือง
เก่าแก่ที่มีอายุกว่า 400 ปี สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค (ภาพที่ 1) ได้แก่
ยุค Singora เป็นยุคแรกของการตั้งรกรากของชาวสงขลา ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีกษัตริย์ดา
โต๊ะ โมกุล พ่อค้าชาวชวา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นกษัตริย์พระองค์แรก ขณะนั้นเมืองสงขลาเป็น
ศูนย์กลางการค้าขายทางทะเล ในบันทึกของพ่อค้าชาวจีนและชาวต่างชาติ ระบุว่าดินแดนแห่งนี้เป็น
เมืองท่าการแลกเปลี่ยนสินค้าทางทะเลที่เจริญรุ่งเรืองมาก สงขลาในยุคนี้ยังได้รับอิทธิพลจากฮอลลันดา
จากการเชื่อมต่อทางการค้ากับชาวดัชท์ ปัจจุบันจึงมีหลุมศพหินชาวดัชท์กว่า 22 หลุม ที่ยังเหลืออยู่ใน
เมือง นอกจากนี้ การที่เมืองสงขลาถูกปกครองด้วยกษัตริย์เชื้อสายเปอร์เซีย รูปแบบสถาปัตยกรรมจึง
ได้รับอิทธิพลจากอิสลามอยู่ไม่น้อย
1
ถอดความจากการบรรยายของ อาจารย์สืบสกุล ศรีสุข เป็นผู้อานวยการบริหารจัดการของภาคีคนรักเมืองสงขลา เมื่อวันที่ 9 มีนาคม
2559 ณ โรงสีแดง หับ โห้ หิ้น อาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
| 5
ยุคแหลมสน ช่วงหลังเมืองสงขลามีการแข็งเมือง ทาการค้าขายอย่างเสรีมากขึ้น จนทาให้
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชต้องยกทัพหลวงมาปราบจนราบคาบ ในปี พ.ศ. 2223 หลังจากเหตุการณ์
ดังกล่าว เมืองสงขลาก็กลายเป็นเมืองร้างไปเกือบหนึ่งศตวรรษ หลังจาก เมือง Singora แตกในครั้งนั้น
ผู้คนก็เริ่มย้ายมาสร้างบ้านเมืองใหม่บริเวณแหลมสน เรียกยุคนี้ว่า สงขลา ยุค “แหลมสน” โดยผู้ปกครอง
เป็นคนไทยพื้นถิ่น ต่อมาได้รับการแต่งตั้งจากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชให้เป็นพระสงขลา ปกครอง
เมืองสงขลาอยู่ระยะหนึ่ง แต่เนื่องจาก พื้นที่ตั้งเมืองฝั่งแหลมสนขาดน้าเป็นอันมาก และพื้นที่ขยายไปได้
ไม่มากนัก จึงทาให้เมืองสงขลาต้องย้ายชัยภูมิอีกครั้งไปที่บ่อยาง
ยุคบ่อยาง มีหลวงคีรี สมบัติ เป็นผู้ปกครอง ก่อนเปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบบข้าหลวง
เทศาภิบาล แรกเริ่ม สงขลาบ่อย่างมีที่ตั้งอยู่บริเวณย่านเมืองเก่า ในเขตกาแพงเมือง ซึ่งอยู่ตรงบริเวณ
ถนนเก้าห้องและถนนนครในในปัจจุบัน มีหลักฐานของศาลหลักเมืองตั้งอยู่บนถนนเก้าห้อง โดย
ศาลหลักเมืองดังกล่าวได้รับพระราชทานไม้ชัยพฤกษ์ จากรัชกาลที่ 3 พระราชทานเป็นเสาไม้หลักเมือง
ใน พ.ศ.2385 ยุคนี้เป็นยุคที่สงขลาได้รับอิทธิพลจากการค้าขายทางเรือของชาวจีน จึงทาให้
สถาปัตยกรรมของจังหวัดสงขลาส่วนใหญ่ก่อสร้างอาคารในรูปแบบจีน ในสมัยเจ้าวิเชียรคีรี หรือสมัย
พ.ศ. 2379 จากความรุ่งเรืองทางการค้าขาย ได้ส่งผลให้เมืองสงขลาบ่อยางมีการก่อสร้างอาคารห้องแถว
เพื่อการค้าขายจานวนมาก มีโรงสีข้าว ศาลเจ้า โรงแรม โรงละคร สถานศึกษา กระจายอยู่ทั่วไป โดย
รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของอาคารมีความใกล้เคียงกับประเทศข้างเคียง เช่น จีน มาเลเซีย สิงคโปร์
ซึ่งสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญของเมืองแบบจีนดั้งเดิม แบบจีนพาณิชย์ และแบบจีนผสมตะวันตก
(ภาพที่ 2-3)
ภาพที่ 1 แผนที่การตั้งเมืองสงขลาทั้ง 3 ยุค
| 6
การเปลี่ยนแปลงในเมืองสงขลา
1. การย้ายถิ่นฐานของผู้คน สืบเนื่องมาจากช่วงที่คนจีนในสงขลาเริ่มมีฐานะร่ารวยขึ้น จึงมี
ค่านิยมส่งลูกหลานให้เรียนสูง โดยมักจะส่งไปที่ปีนังหรือกรุงเทพฯ เพราะมีสถานศึกษาที่มี
ชื่อเสียงจานวนมาก เมื่อลูกหลานชาวจีนเหล่านั้นจบการศึกษา จึงมักทางานต่อในต่างประเทศ
หรือกรุงเทพฯ โดยไม่กลับมาใช้ชีวิตที่สงขลา นอกจากนี้เมื่อมีการสร้างรถไฟ ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงเส้นทางการส่งสินค้าจากทางทะเลเป็นทางบกแทน ทาให้อาเภอหาดใหญ่กลายเป็น
เมืองค้าขายแทนสงขลา ผู้คนที่ทาการในค้าสงขลารุ่นแรกๆ เริ่มย้ายที่อยู่ไปที่หาดใหญ่และที่
อื่นๆ มากขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดการย้ายถิ่นฐานของผู้คนออกนอกเมืองสงขลา เหลือเพียง
บ้านพักที่เคยอาศัยไว้เป็นเสมือนหลักฐานความมั่งคั่งของตระกูล
2. ผลจากการเปลี่ยนแปลงของเมือง หลังจากทาทางรถไฟไปหาดใหญ่ ทาให้สงขลาเปลี่ยนจาก
ย่านธุรกิจการค้าขายมาเป็นย่านประมง มีเรือประมงมาจอดกว่า 500 ลา มีการขนส่งด้วย
รถบรรทุกขนาดใหญ่ ขนสินค้าเข้าออกทุกวัน (ภาพที่ 4-5) ตลอดจนเป็นแหล่งที่พานักของ
ประชากรแฝง เริ่มมีร้านมีคาราโอเกะ มีการขายบริการของแรงงานต่างชาติ จนนามาสู่ปัญหา
ของเมืองในด้านต่างๆ ทั้งปัญหาขยะ ปัญหาอาชญากรรม และปัญหาโรคติดต่อ
3. ความเสื่อมโทรมย่านเมืองเก่า ด้วยเหตุปัจจัยการย้ายออกของผู้คน ประกอบกับคติความเชื่อ
ของชาวจีนสงขลาที่ประสบความสาเร็จว่าจะไม่ขายที่ดินหรือที่อยู่อาศัยให้กับผู้อื่น เนื่องจากจะ
เป็นการลบหลู่บรรพบุรุษ ทาให้บ้านเก่าหลายหลังกลายเป็นบ้านเช่า บางหลังถูกปิดไว้ บางหลัง
แปรสภาพเป็นที่เก็บของ จากการสารวจพบว่ามีบ้านอีกจานวนไม่น้อยที่มักจะเปลี่ยนผู้เช่า
บ่อยครั้ง ทาให้การที่ผู้เช่าจะลงทุนซ่อมแซมบ้านเช่าด้วยตนเองเป็นเรื่องเกินกาลังของผู้เช่า อีก
ทั้งหากจะต้องมีการบูรณะ ก็ต้องใช้เงินจานวนมาก แต่ทานองกลับกัน หากเจ้าของจะสร้างห้อง
แถวใหม่ กฎหมายก็ไม่เอื้ออานวยให้สร้างห้องแถวในที่ดินเดิม
ภาพที่ 2-3 บ้านและอาคารรูปแบบจีนในสงขลา
| 7
นอกจากนี้ การเปลี่ยนเป็นย่านประมง มีกิจการขนส่งด้วยรถบรรทุกขนาดใหญ่ทุกวัน
ทาให้ย่านเก่าเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว ช่วงเปลี่ยนผ่านระยะเวลาของเหตุการณ์ดังกล่าวจนถึง
ปัจจุบัน ผ่านมาเกือบ 100 ปี ส่งผลให้สภาพที่อยู่อาศัยในย่านเมืองเก่านี้ ชารุดทรุดโทรม และ
บางหลังถูกทิ้งร้างจนไม่สามารถเข้าอาศัยได้
ภาคีคนรักเมืองสงขลา2
จากการเปลี่ยนแปลงของเมืองสงขลาจนนาไปสู่ความเสื่อมโทรมของย่านเมืองเก่า ทาให้เกิดการ
รวมตัวของคนหลากหลายอาชีพซึ่งล้วนเป็นผู้มีจิตสานึกรักท้องถิ่นที่ต้องการรักษามรดกของเมืองและ
บูรณะฟื้นฟูย่านเมืองเก่าที่เสื่อมโทรมให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง ภายใต้ชื่อ “ภาคีคนรักเมืองสงขลา”
ภารกิจหลักของภาคีฯ คือการทางานร่วมกับภาครัฐและเอกชนเพื่อขับเคลื่อนการฟื้นฟูและรักษาคุณค่า
ของเมืองเก่า โดยได้รับการสนับสนุนทางวิชาการจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยและการ
เคหะแห่งชาติ
สานักงานภาคีคนรักเมืองสงขลาได้รับความอนุเคราะห์จากคุณรังสี รัตนปราการ ให้ใช้อาคารสี
แดง หับ โห้ หิ้น เลขที่ 13 ถนนนครนอก อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นสถานที่ตั้ง
บทบาทของภาคีคนรักเมืองสงขลา คือ อานวยความสะดวกในการฟื้นฟูย่านเมืองเก่า สนับสนุน
การจัดกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับภาครัฐ เช่น เทศบาลนครสงขลาหรือภาคส่วนจังหวัด ตลอดจนเป็น
ตัวกลางประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน เกิดความสัมพันธ์อันดี และลดความขัดแย้งระหว่าง
ภาคประชาชนกับภาครัฐ ให้ร่วมมือพัฒนาเมืองได้
ภาคีคนรักเมืองสงขลา สู่ ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม (Songkla heritage trust)
หลังจากภาคีคนรักเมืองสงขลาได้ทากิจกรรมหลากหลายรูปแบบเพื่อกระตุ้นและก่อกระแสการ
อนุรักษ์เมืองเก่ามาระยะหนึ่งก็ต้องการยกระดับการทางานอนุรักษ์เมืองเก่าสู่ระดับสากลมากขึ้น จึงได้
2
ถอดความจากการบรรยายของ คุณรังสี รัตนปราการ ประธานกลุ่มภาคีคนรักเมืองสงขลา ในโครงการฝึกอบรมการจัดทานคร
ลาปางให้เป็นเมืองน่าอยู่โดยการปกป้องรักษามรดกอันมีคุณค่าของเมือง สนับสนุนโดยการเคหะแห่งชาติ และมูลนิธิปัทมะเสวี เมื่อ
วันที่ 11 มกราคม 2559 ณ บ้านบริบูรณ์ เทศบาลเมืองลาปาง
ภาพที่ 4-5 การจอดเรือประมงและการขนส่งสินค้าด้วยรถบรรทุกสงขลา
| 8
เริ่มศึกษาบทเรียนด้านการพัฒนาจากต่างประเทศในเรื่อง heritage trust โดยศึกษาข้อมูลการทางาน
จาก Penang heritage trust (PHT) สมาคมอนุรักษ์เมืองเก่าปีนัง ที่เป็นเครือข่ายการทางานของภาคีคน
รักเมืองสงขลา
พ.ศ. 2556 ภาคีคนรักเมืองสงขลาได้จดทะเบียนเป็นสมาคมอนุรักษ์เมืองเก่าระดับสากล
และใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า “Songkhla Heritage trust” มีสถานะเป็นองค์กรอย่างเป็นทางการ
โครงสร้างขององค์กรประกอบด้วย สมาชิกตลอดชีพและสมาชิกสามัญ มีหน้าที่บริหารสมาคมให้
ดาเนินงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนสมาชิกสมทบและสมาชิกยุวชน จะมี
หน้าที่สนับสนุนการดาเนินงานของภาคีอย่างเข้มแข็ง โดยองค์กรมีวัตถุประสงค์การทางาน ดังนี้
1. เป็นศูนย์รวมความสามัคคี ความนึกคิดระหว่างสมาชิกด้วยกัน ทั้งภาครัฐและภาคประชาชน
2. รวบรวม ค้นคว้า และเผยแพร่ประวัติศาสตร์เมืองสงขลา
3. สนับสนุนกิจกรรมทางสาธารณะเพื่อประโยชน์ชุมชนให้เป็นการเรียนรู้แก่คนรุ่นต่อไป
4. ไม่ยุ่งเกี่ยวการเมือง
หลักการของ heritage trust
หลักการของสมาคม heritage trust ในระดับสากลนั้น จะต้องมีการบริจาคเงินเพื่อสร้างกองทุน
สนับสนุนการปรับปรุงและฟื้นฟูบ้านและอาคารเก่าในเมือง แต่ ณ ขณะนี้ ภาคีคนรักเมืองสงขลายังได้รับ
งบประมาณจากคุณรังสี รัตนปราการ แต่เพียงผู้เดียว อีกทั้งยังไม่มีการเก็บเงินจากสมาชิกของสมาคม
เนื่องจากต้องการให้ผู้คนเข้าร่วมจานวนมากก่อน โดยคาดหวังว่า ในอนาคตจะสามารถสร้างกองทุน
อนุรักษ์จากการมีส่วนร่วมของคนในเมืองได้อย่างแท้จริง
งบประมาณ
งบประมาณที่สนับสนุนกองทุนได้มาจาก คุณรังสี รัตนปราการ ซึ่งได้มอบเงินสบทบทุนเพื่อเป็น
ทุนในการดาเนินงานต่างๆ กว่า 2,000,000 บาท คณะกรรมการบริหารกองทุนมี 3 คน คือ คุณรังสี
รัตนปราการ คุณชนินทร์ สาครินทร์ และดร. จเร สุวรรณชาต นอกจากนี้ ภาคีฯ ยังมีกรรมการบริหาร
และดาเนินงาน คือ อาจารย์สืบสกุล ศรีสุข เป็นผู้อานวยการบริหารจัดการโครงการต่างๆ
สมาชิกกลุ่ม
ปัจจุบันภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม มีสมาชิกที่ทางานเป็นกลุ่ม Core Team (ภาพที่ 6) จาก
หลากหลายสาขาอาชีพประมาณ 60 คน ทั้งยังมีสมาชิกที่ลงทะเบียนเข้าร่วมกับสมาคมอีกกว่า 800 คน
และมีสมาชิกติดตามข่าวสารทาง Facebook ภาคีคนรักเมืองสงขลา อีกประมาณ 5,000 คน
| 9
เป้ าหมายการทางานของภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม
1. การนาสงขลาเข้าสู่เมืองมรดกโลก เป็นเป้าหมายระยะยาวของภาคีคนรักเมืองสงขลาเพื่อ
รักษาฟื้นฟูเมืองเก่า และเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว เนื่องจากการท่องเที่ยวเป็นภาคส่วนที่สร้าง
รายได้เข้าสู่ประเทศจานวนมาก อีกทั้งสงขลายังมีฐานนักท่องเที่ยวจากประเทศมาเลเซียและ
สิงคโปร์เป็นทุนเดิม ดังนั้น การท่องเที่ยวจะช่วยกระตุ้นความภูมิใจในท้องถิ่นและสร้าง
เศรษฐกิจเมืองให้เกิดขึ้นด้วย
การวางเป้าหมายระยะยาวเช่นนี้ถือเป็นหัวใจสาคัญในการทางาน เนื่องจากการ
ตั้งเป้าหมายที่เป็นรูปธรรมเช่นนี้ จะทาให้ทั้งคนทางาน ภาครัฐ และประชาชน เข้าใจและเห็น
ภาพปลายทางของการทางานด้านอนุรักษ์ ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมได้
2. การกระตุ้นให้คนในเมืองตระหนักถึงคุณค่าเมืองสงขลา เป็นเป้าหมายระยะสั้นของภาคี
คนรักเมืองสงขลา เนื่องจากการพัฒนาและฟื้นฟูเมืองนั้นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของคนใน
เมือง ภาคีฯ จึงให้ความสาคัญกับการสร้างความไว้วางใจต่อกัน พร้อมทั้งกระตุ้นอารมณ์ของคน
ในเมืองให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของธรรมชาติ สถาปัตยกรรม และวัฒนธรรมของเมือง
วิธีการทางานของภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม
การทางานของภาคีคนรักเมืองสงขลา เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การทางานที่ผ่านมา
จึงพยายามสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อดาเนินแผนการอนุรักษ์และกิจกรรมระดับเมือง โดย
ร่วมมือกับภาครัฐ เช่น เทศบาลนครสงขลา องค์การส่วนจังหวัด การเคหะแห่งชาติ สถาบันการศึกษา
เช่น มหาวิทยาลัยต่างๆ ในสงขลา และภาคเอกชน ได้แก่ บริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม จากัด
เป็นต้น ทั้งนี้ภาคีฯ ได้กาหนดวิธีการทางานเพื่อนาสู่เป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาวดังนี้
ภาพที่ 6 กลุ่มคนทางานหลักของภาคีคนรักเมืองสงขลา
| 10
1. การนาสงขลาเข้าสู่เมืองมรดกโลก ภาคีฯ มีการเตรียมข้อมูลเพื่อเข้าสู่การเป็นเมืองมรดกโลก
แม้เมืองสงขลามีขนาดเล็ก แต่มีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ถึง 3 แห่ง จึงมีนักวิชาการที่พร้อมทางาน
เพื่อเตรียมข้อมูลที่จะเข้าสู่การเป็นเมืองมรดกโลก สงขลาจาเป็นต้องมีข้อมูลเพื่อนาเสนอต่อ
คณะกรรมการมรดกโลกในการประเมินเพื่อพิจารณาและเป็นข้อมูลสาหรับการทาแผนอนุรักษ์
และฟื้นฟูเมืองเก่าต่อไป นักวิชาการในพื้นที่ได้จัดทาข้อมูลทั้งมรดกทางธรรมชาติ มรดกทาง
สถาปัตยกรรม มรดกด้านวัฒนธรรม โดยใช้วิธีการสารวจ สัมภาษณ์ และประเมินหาวิธีการ
พัฒนาและแก้ไขปัญหา (รายละเอียดอยู่ในหัวข้อการจัดทาแผนอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา)
2. การกระตุ้นให้คนในเมืองตระหนักถึงคุณค่าในเมืองสงขลา เป็นการเตรียมความรู้สึกของ
คนเมืองให้เข้าใจคุณค่าของสงขลา พร้อมสร้างคนรุ่นใหม่ให้มีคุณภาพ ทางภาคีฯ ได้จัดกิจกรรม
ระดับเมืองอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างบรรยากาศเมือง และสร้างคนควบคู่ไปกับการจัดทาข้อมูล
มรดกเมืองเพื่อจูงใจผู้คน ทาให้ 2 ปีที่ผ่านมา เมืองสงขลามีกิจกรรมที่สร้างความคึกคักและก่อ
กระแสการอนุรักษ์เมืองได้ตลอดทั้งปี ซึ่งแต่ละกิจกรรมมีผู้คนในเมืองเข้าร่วมจานวนมาก
(รายละเอียดอยู่ในหัวข้อโครงการที่ได้ดาเนินการมา)
ความร่วมมือระดับนานาชาติ
ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม (Songkhla Heritage Trust) ได้สร้างความร่วมมือระดับนานาชาติ
ร่วมกับกลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูเมืองเก่าประเทศต่างๆ โดยใน พ.ศ. 2557 ได้จัดการประชุมความร่วมมือทาง
วิชาการ (symposium) ภายใต้ชื่อ “IMT-GT 2015 Symposium on Liveable Old Town Tourism” จัด
ขึ้นที่พิพิธภัณฑ์สงขลา เป็นการประชุมความร่วมมือในด้านวิชาการเรื่องอนุรักษ์เมืองเก่าเพื่อ
ความก้าวหน้าร่วมกัน โดยมีการเซ็นสัญญาความร่วมมือกับ 7 เมือง ใน 3 ประเทศ ได้แก่ เมืองมะละกา
เมืองปีนัง ประเทศมาเลเซีย และเมืองเมดา เมืองปาเลมบัง เมืองบุโรพุทโธ ประเทศอินโดนีเซีย และ
เมืองสงขลา เมืองภูเก็ตของประเทศไทย เพื่อให้ทั้ง 7 เมืองเก่านี้กลายเป็นหนึ่งชุมชนแห่งการอนุรักษ์
(one community)
ภาพที่ 7 เรื่องราวของคุณ Arthur Stewart King Scarf
| 11
การเติบโตและการขยายผลในอนาคต
- การปรับข้อมูลของเมืองให้เป็นปัจจุบัน (Update) คือ การศึกษาและปรับข้อมูลเมืองอย่าง
สม่าเสมอ ซึ่งงบประมาณด้านนี้ได้รับจากการเคหะแห่งชาติ โดยจะใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาก
ขึ้นในการศึกษา เช่น กล้องถ่ายรูปแบบใหม่ กล้องโดรน มาปรับและศึกษาสภาพปัจจุบันของ
เมือง สารวจในตัวบ้านและอาคารให้มากขึ้น มีการรางวัดออกมากขึ้น ช่วยต่อยอดรูปแบบการใช้
วัสดุและรูปแบบทางสถาปัตยกรรม
- การก่อตั้ง มูลนิธิรัตนปราการ (Ratanaprakarn Foundation) ซึ่งเป็นมูลนิธิของคุณรังสี เป็น
อีกหนึ่งช่องทางที่จะช่วยสนับสนุนงานภาคีฯ ได้ในอนาคต โดยมูลนิธิมีวัตถุประสงค์ให้การ
สนับสนุนใน 3 ด้าน คือ ศาสนา โรงพยาบาล และการศึกษา นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงเรื่องการ
จัดการภัยพิบัติต่างๆ เนื่องจากมีผลกระทบต่อเมืองเก่ามาก
อุปสรรคและข้อจากัด
แม้ว่าลักษณะภายนอก เมืองสงขลาจะประสบความสาเร็จในการฟื้นฟูย่านเมืองเก่า แต่การ
ทางานยังคงมีปัญหาในหลายด้าน เช่น
- งบประมาณมีจากัด การจัดกิจกรรมเพื่อดึงความสนใจจากผู้คนและสร้างการเรียนรู้ของ
เยาวชนย่อมต้องอาศัยงบประมาณจานวนมาก เช่น การเปิดศูนย์เรียนรู้ หากมีโรงเรียนมาศึกษา
ดูงาน ภาคีฯ จะต้องแบกรับค่าใช้จ่ายทั้งหมด ย่อมนามาสู่ปัญหาด้านงบประมาณทั้งสิ้น แม้ว่า
ปัจจุบันภาคีฯ จะได้รับการสนับสนุนจากคุณรังสี รัตนปราการ เป็นหลัก จึงต้องใช้อย่างประหยัด
และต้องวางแผนเพื่อหางบประมาณเพิ่มด้วย เนื่องจากยังต้องดาเนินงานอนุรักษ์ฟื้นฟูอีกมาก
- ข้อจากัดด้านการสนับสนุนจากภาครัฐส่วนท้องถิ่น ตลอดการทางานฟื้นฟูย่านเก่าของภาคี
ฯ ใช่ว่าภาครัฐท้องถิ่นจะไม่สนับสนุน แต่ท้องถิ่นมีข้อจากัดเกี่ยวกับเงื่อนไขการใช้งบประมาณ
เนื่องจากการปรับปรุงบ้านเก่าไม่ได้อยู่ในเงื่อนไขการใช้จ่ายของส่วนท้องถิ่น
- การให้ความสาคัญจากรัฐส่วนกลาง การอนุรักษ์เมืองเก่า ที่ผ่านมายังไม่ได้รับความสนใจ
จากรัฐส่วนกลางเท่าที่ควร ทาให้มีอุปสรรคทั้งทางกฎหมายและงบประมาณสนับสนุน เมืองเก่า
หลายแห่งในประเทศไทยซึ่งมีบ้านและอาคารเก่าสวยงามจึงไม่สามารถจัดทาแผนฟื้นฟูได้
เนื่องจากข้อจากัดด้านงบประมาณ ภาครัฐส่วนกลางจึงควรเห็นความสาคัญของเรื่องดังกล่าว
โดยตั้งหน่วยงานเฉพาะเพื่อช่วยเหลือ
| 12
สรุป
ประสบการณ์อนุรักษ์ย่านเมืองเก่าของสงขลา ให้บทเรียนสาคัญ คือ การสร้างการมีส่วนร่วมของ
คนในเมืองที่ไม่ใช่แค่มีส่วนร่วมในกิจกรรม แต่ประชาชนในพื้นที่ควรเป็นส่วนหนึ่งของโครงการต่างๆ
ร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมมีส่วนได้ส่วนเสีย อีกทั้งต้องทาให้คนในชุมชนเข้าใจและตระหนักถึงประวัติศาสตร์
รากเหง้า วิถีชีวิตของตัวชุมชน สิ่งเหล่านี้ทาให้ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคมให้ความสาคัญกับการสร้าง
การมีส่วนร่วมของคนและกระตุ้นให้คนได้ตระหนักถึงคุณค่าในมรดกเมืองที่ตกทอดมา
การทางานอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองของภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคมที่ร่วมมือกับภาครัฐ
ภาคเอกชนและสถาบันการศึกษา ถือได้ว่ามีความก้าวหน้า มีความเป็นรูปธรรม ก่อให้เกิดกระแสการ
อนุรักษ์และหวงแหนเมืองอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งปัจจุบันยังมีการขับเคลื่อนการทางานสู่ความเป็นสากล
โดยร่วมมือกับกลุ่มอนุรักษ์ของต่างประเทศ นับเป็นตัวอย่างที่น่าติดตามของการทางานด้านการอนุรักษ์
เมืองเก่า ความร่วมมือระหว่างชุมชนกับรัฐ การจัดการเมืองเพื่อรองรับการท่องเที่ยว แม้ว่าจะมีอุปสรรค
และข้อจากัดหลายประการ แต่อย่างน้อยความเคลื่อนไหวทุกก้าวก็เป็นไปเพื่อการอนุรักษ์มรดกของเมือง
อันเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับเมืองอื่นในประเทศไทยเพื่อเรียนรู้และต่อยอดการพัฒนาและอนุรักษ์ของ
ประเทศไทยให้ยั่งยืนต่อไปได้
ภาคผนวก
การทาแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านเมืองเก่าสงขลา3
การจัดทาแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านเมืองเก่า ทีมวิชาการได้จัดทาแผนบริหารจัดการเมืองเก่าสงขลา
ตามแนวทางเมืองมรดกโลก ซึ่งกาหนดไว้โดยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง
สหประชาชาติ หรือ UNESCO เพื่อใช้เป็นแผนงานสาหรับปกป้องและส่งเสริมคุณค่าของเมือง โดย
เทียบเคียงมรดกเมืองของสงขลาเข้ากับตัวชี้วัดของ UNESCO ซึ่งพบว่า สงขลามีคุณสมบัติที่ใกล้เคียง
กับการเป็นพื้นที่ภูมิวัฒนธรรม (History Cultural Landscape) เพราะสงขลามีมรดกของเมืองหลายด้าน
ไม่ว่าจะเป็นมรดกทางธรรมชาติ มรดกสถาปัตยกรรม มรดกทางวัฒนธรรม มีประเพณี อาหารการกิน
ดั้งเดิมที่เป็นเอกลักษณ์ จากนั้นจึงทาการลงศึกษาพื้นที่ในวงกว้างและจัดทาแผนเพื่อบูรณาการมรดก
เมืองซึ่งมีอย่างหลากหลายเข้าด้วยกัน โดยการจัดทาข้อมูลมรดกของเมืองแต่ละด้าน มีรายละเอียด ดังนี้
- การจัดทาข้อมูลมรดกทางธรรมชาติ
สงขลาเป็นเมืองที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติที่สมบูรณ์เมืองหนึ่งของไทย ทีมวิชาการจึงได้สารวจ
แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ และวางจุดบนแผนที่ (ภาพที่ 1) โดยความโดดเด่นของสงขลา คือ การมีเกาะ
3
ถอดความจากการบรรยายของ ดร.จเร สุวรรณชาต อาจารย์ประจาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ศรีวิชัย ในโครงการฝึกอบรมการจัดทานครลาปางให้เป็นเมืองน่าอยู่โดยการปกป้องรักษามรดกอันมีคุณค่าของเมือง สนับสนุนโดย
การเคหะแห่งชาติ และมูลนิธิปัทมะเสวี เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2559 ณ บ้านบริบูรณ์ เทศบาลเมืองลาปาง
| 13
หลายเกาะ ทั้งเกาะหนู เกาะแมว มีทะเลสาบล้อมรอบเมือง อีกทั้งบริเวณใจกลางเมืองยังมีภูเขาศักดิ์สิทธิ์
เรียกว่า เขาตังกวน (ภาพที่ 2) ซึ่งเป็นที่บรรจุ เจดีย์พระธาตุ ภูเขานี้ยังเป็นจุดชมทัศนียภาพทั้งหมดของ
เมือง นอกจากนี้สงขลายังเป็นเมืองที่มีพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตกอยู่ในเมืองเดียวกันอีกด้วย
- การจัดทาข้อมูลมรดกทางสถาปัตยกรรม
สงขลามีประวัติศาสตร์ยาวนานจากการค้าขายของคนจีน ทาให้ปัจจุบันถนนนครนอก ถนนนคร
ใน และถนนนางงามยังคงเอกลักษณ์ดั้งเดิมเอาไว้ มีห้องแถวไม้แบบจีน มีตึกคลาสสิกสไตล์ชิโนโปรตุกีส
และยังมีอาคารตึกแถวแบบจีนโบราณของชาวจีนฮกเกี้ยนอยู่ปะปนกันทั้งสองฟากฝั่งถนน ทาให้ใน พ.ศ.
ภาพที่ 2 เขาตังกวน
ภาพที่ 1 แผนผังทรัพยากรธรรมชาติในสงขลา
| 14
2554 รัฐบาลประกาศให้สงขลาเป็น 1 ใน 10 เมืองเก่าของแผ่นดิน และเป็น 1 ใน 2 เมืองของภาคใต้ที่มี
ความสาคัญทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี
สาหรับการจัดทาแผนอนุรักษ์ ทางทีมวิชาการได้รวบรวมข้อมูลอาคารเก่า โดยใช้วิธีการเดิน
สารวจ เพื่อจัดทาแผนที่อาคารเก่า (ภาพที่ 3 ) จากการเดินสารวจทาให้ได้ข้อมูลรูปแบบสถาปัตยกรรม
บ้านและอาคารในเมือง โดยพบว่า มีรูปแบบอาคารจีนดั้งเดิม 92 หลัง จีนพาณิชย์ 89 หลัง จีนร่วมสมัย
63 หลัง และจีนตะวันตกอีก 43 หลัง (ภาพที่ 4)
นอกจากนี้ การสารวจทาให้ได้มาซึ่งข้อมูลระดับคุณภาพอาคารเก่าในเมืองด้วย โดยพบว่า มี
อาคารที่สมบูรณ์ 80-100% อยู่ถึง 432 หลัง อาคารที่สมบูรณ์ 60% มีจานวน 119 หลัง อาคารที่สมบูรณ์
50% มี 68 หลัง และอาคารที่ทรุดโทรมมากมีความสมบูรณ์เพียง 20% มีเพียง 26 หลังเท่านั้น (ภาพที่
5) แสดงให้เห็นว่าบ้านและอาคารเก่าในสงขลาส่วนใหญ่ยังอยู่ในสภาพดี มีความดั้งเดิมสูง เนื่องจาก
เจ้าของบ้านปล่อยให้เช่าโดยไม่มีการซ่อมแซม ไม่มีการเปลี่ยนวัสดุ ซึ่งนับเป็นข้อดีของอาคารเก่าใน
สงขลา แต่ในขณะเดียวกัน การไม่ซ่อมบารุงก็ทาให้อาคารเสื่อมโทรมลงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การ
สารวจยังทาให้พบว่ามีกาแพงเมืองที่ยังหลงเหลืออยู่ภายในถนนนครนอก และมีศาลเจ้าถึง 5 แห่ง ซึ่งแต่
ละศาลมีความเชื่อที่แตกต่างกันไป (ภาพที่ 6)
ภาพที่ 3 แผนผังสารวจมรดกทางสถาปัตยกรรมในสงขลา
| 15
- การจัดทาข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรม
ทีมวิชาการได้สารวจวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผู้คน ซึ่งพบว่าสงขลามีความโดดเด่นในเรื่องของ
อาหารดั้งเดิม ทั้งอาหารจีน อาหาหารมุสลิม จึงนามาสู่การสารวจและจัดทาแผนที่อาหารดั้งเดิม (Food
scape) (ภาพที่ 7) เพื่อนาเสนอวัฒนธรรมที่มีคุณค่า ส่งเสริมการท่องเที่ยว และส่งเสริมเศรษฐกิจเมือง
ภาพที่ 4 ผังและสถิติรูปแบบสถาปัตยกรรมในสงขลา ภาพที่ 5 ผังและสถิติระดับคุณภาพสถาปัตยกรรมในสงขลา
ภาพที่ 6 ศาลเจ้าจานวน 5 ศาล ในเมืองสงขลา
| 16
- การจัดทาข้อมูลบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์
นอกจากสารวจและจัดทาแผนทรัพยากรธรรมชาติและสถาปัตยกรรมแล้ว ทีมวิชาการยังค้นคว้า
ประวัติศาสตร์อย่างลึกซึ้ง โดยเฉพาะด้านบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์เพื่อนาเสนอให้คนในเมืองเกิด
ความภูมิใจในประวัติศาสตร์ ซึ่งเรื่องราวของบุคคลสาคัญเหล่านี้ จะสามารถเป็นเรื่องราวที่กระตุ้นให้
เมืองสงขลาน่าสนใจ ให้ผู้คนได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์มากขึ้น นาไปสู่การเดินทางค้นหาบ้านและเรื่องราว
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในอดีต โดยตัวอย่างเรื่องราวบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์ที่นาเสนอ ได้แก่ เรื่องของ
สายลับญี่ปุ่นที่ปลอมตัวเป็นแพทย์ ชื่อ หมอมาซาโอะ เคไซ แต่งงานกับหญิงไทยที่คาดว่าเป็นชาว
ภูเก็ต มีบุตรชายหนึ่งคน ปัจจุบันบุตรชายของท่านมีอายุประมาณ 80 ปี หลังจากสงครามจบลง ทาให้ลูก
ชายมีปัญหาเรื่องสัญชาติ เพราะคนญี่ปุ่นไม่ยอมรับว่าเป็นคนญี่ปุ่น คนไทยก็ไม่ยอมรับว่าเป็นคนไทย
เช่นกัน ทาให้ต้องใช้เวลากว่าค่อนชีวิตเพื่อให้ได้มาซึ่งสัญชาติไทย (ภาพที่ 8)
นอกจากเรื่องสายลับญี่ปุ่น ยังมีเรื่องของทหารอังกฤษ ชื่อ นาย Arthur Stewart King Scarf
วีรบุรุษของอังกฤษที่เสียชีวิตจากการถูกยิงบนน่านฟ้าเหนือเมืองสงขลาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย
ทหารท่านนี้ได้รับคาสั่งให้ไปทิ้งระเบิดฝูงเรือที่จะขึ้นบกบริเวณสงขลา แต่การสื่อสารช้าไป ทาให้ฐานทัพ
ถูกถล่มเสียก่อน เขาเป็นเพียงคนเดียวนาเครื่องบินขึ้นทัน และตัดสินใจบินเดี่ยวทาภารกิจจนสาเร็จ แต่
สุดท้ายโดนศัตรูโจมตีบาดเจ็บสาหัส บินกลับและนาเครื่องลงจอดเพื่อรายงานตัว และรอคนรักมาดูใจ แต่
ทนบาดแผลไม่ไหว เสียชีวิตก่อน ด้วยเหตุนี้ นายทหารดังกล่าวจึงได้รับเหรียญกล้าหาญสูงสุดสมเด็จ
พระราชินีวิคตอเรียแห่งอังกฤษ (ภาพที่ 9)
ภาพที่ 7 แผนผังอาคารดั้งเดิมในเมืองสงขลา
| 17
ภาพที่ 8 เรื่องราวของหมอซาโอะ เคไซ สายลับญี่ปุ่น
ภาพที่ 9 เรื่องราวของคุณ Arthur Stewart King Scarf
| 18
จากการวิจัยและการจัดทาข้อมูล เมื่อประเมินความเป็นไปได้และวิธีการพัฒนา ทาให้สามารถ
วางแผนการพัฒนาในอนาคตได้โดยสังเขป อันประกอบด้วย
1. การปรับปรุงบริเวณริมน้า (Water Front Upgrading) ได้แก่
1.1. การพัฒนาตามแนวทางของเมืองมะละกา ประเทศมาเลเซีย
1.2. การเพิ่มมูลค่าให้กับอาคารอนุรักษ์
1.3. การสร้างแนวกันชน (Buffer Zone) ระหว่างพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ประมง
1.4. การเพิ่มพื้นที่สร้างสรรค์และสร้างความสะดวกสบายในการเข้าถึงบริการสาธารณะและ
ตารวจ
2. การสร้างระบบบริการนักท่องเที่ยวกระจายตัวรอบเมือง จะส่งผลให้เมืองมีชีวิตชีวาได้
ภายใต้แนวคิดการเป็นศูนย์บริการข้อมูลการท่องเที่ยวของย่านเมืองเก่า เป็นศูนย์บริการ
นักท่องเที่ยว 24 ชั่วโมง และสามารถปรับเปลี่ยนย่านเมืองเก่าให้เป็นพื้นที่มีชีวิตได้ผ่านการนา
กาไรด้านการท่องเที่ยวกลับคืนสู่ชุมชน แนวคิดการพัฒนาระบบบริการนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
ประกอบด้วย การออกแบบเฟอร์นิเจอร์สาธารณะให้เป็นรูปแบบจีนสอดคล้องกับสถาปัตยกรรม
โดยรวมในพื้นที่ การปรับปรุงที่จอดรถ การจัดทาทางลาดและคู่มือการใช้เส้นทางสาหรับผู้สูงอายุ
และผู้ที่ต้องใช้ Wheel Chairs การทาตราสัญลักษณ์บอกชื่อถนนและการเพิ่มพื้นที่ทางเดิน
3. การก่อสร้างอาคารใหม่ที่มีสถาปัตยกรรมสอดคล้องกับสถาปัตยกรรมเชิงอนุรักษ์ และให้
มีการควบคุมการออกแบบหน้าตาอาคารสมัยใหม่ โดยมีการออกเทศบัญญัติควบคุม
โครงการหรือกิจกรรมที่ได้ดาเนินการมา
โครงการหรือกิจกรรมที่กลุ่มภาคีฯ ได้ดาเนินการ มีขอบเขตคือ การทากิจกรรมจะต้องไม่ออก
นอกเขตเมืองเก่า เนื่องจากในสงขลามีกลุ่มหรือชมรมที่เป็นภาคประชาสังคมจานวนมาก หากดาเนินการ
นอกเขตเมืองเก่า อาจไปกระทบหรือซ้าซ้อนกับกลุ่มอื่น อีกทั้งนอกเขตเมืองเก่าเป็นบริบทที่กลุ่มภาคีฯ
ไม่คุ้นเคย แต่ถ้าหากมีกลุ่มประชาสังคมอื่นที่สนใจเรื่องเมืองเก่า ทางภาคีฯ ก็ยินดีเป็นตัวนาในการ
ขับเคลื่อนและสนับสนุน โดยโครงการและกิจกรรมที่ได้ดาเนินการมามีหลายรูปแบบ แต่ส่วนใหญ่เป็นไป
เพื่อกระตุ้นและปลุกกระแสจิตสานึกให้คนในเมืองเก่าสงขลาได้มีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมและ
โครงการต่างๆ ร่วมกัน ดังนี้
1. โครงการ “ฉายภาพเก่า เล่าเรื่องแต่แรก” (ภาพที่ 10) มีเป้าหมายเพื่อปลูกจิตสานึกให้คน
สงขลารักเมืองเก่า โดยการนาภาพเก่าที่เกี่ยวข้องกับเมืองสงขลามานาเสนอแก่สาธารณชน เช่น
ในเทศกาลถนนคนเดิน (ภาพที่ 11) งานอนุรักษ์มรดกไทย งานเทศกาลเมืองเก่า เป็นต้น โดย
เชิญนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์หรือผู้ที่เคยคุ้นเคยกับภาพเก่าเหล่านั้นมาตั้งวงเสวนา
แลกเปลี่ยนความรู้และข้อคิดเห็น
ผลปรากฏว่ามีผู้คนในเมืองให้ความสนใจเป็นอันมาก เนื่องจากเป็นภาพที่พวกเขา
คุ้นเคย มีการพูดคุยถึงภาพร่วมกัน เป็นการย้อนจิตสานึกและสร้างความตระหนักถึงเรื่องราว
ประวัติศาสตร์ที่มีค่า เกิดพื้นที่การเรียนรู้และสร้างจิตสานึกรักเมืองเก่าและประชาชนและ
| 19
เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นเวทีสร้างประวัติศาสตร์ท้องถิ่นรุ่นใหม่ ผู้คนนาภาพออกมาเสนอ
อีกจานวนมาก ที่สาคัญภาพถ่ายเหล่านี้ยังช่วยประสานความสามัคคีระหว่างผู้คนในเมืองให้
เกิดขึ้นอีกด้วย
2. โครงการศูนย์การเรียนรู้นครสงขลา (Songkhla Smart Center) เป็นโครงการความร่วมมือ
ระหว่างอุทยานการเรียนรู้ (TK Park) เทศบาลนครสงขลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี
วิชัย และบริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม เพื่อปรับปรุงอาคารโรงสีแดง หับ โห้ หิ้น
บางส่วนเป็นศูนย์การเรียนรู้และห้องสมุด โดยรังสี รัตนปราการ ตั้งชื่อว่า “Reading Bride”
ภาพที่ 10 โครงการ “ฉายภาพเก่า เล่าเรื่องแต่แรก”
ภาพที่ 11 งานถนนคนเดินในสงขลา
| 20
เป็นห้องอ่านหนังสือที่สามารถมองเห็นทะเลสาบและมีลานกิจกรรม เป็นโอกาสให้นักเรียนและผู้
ที่สนใจเข้ามาเรียนรู้เรื่องราวเก่าๆ ของสงขลา และเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ
ในวันที่เปิดศูนย์การเรียนรู้ ได้รับความสนใจจากเยาวชนจานวนมาก (ภาพที่ 12) และ
ปัจจุบันยังมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ทางภาคีฯ ได้ร่วมกับ TK Park ผลิตหนังสือ
ที่เกี่ยวกับเมืองเก่าทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อเป็นสื่อให้เด็กและเยาวชนในการเรียนรู้
เรื่องราวของเมืองเก่าอีกด้วย
3. โครงการอบรมมัคคุเทศก์ เมืองเก่า เป็นโครงการที่ภาคีฯ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
และเทศบาลนครสงขลา จัดอบรมผลิตมัคคุเทศก์จานวน 80 คน เนื่องจากเทศบาลนครสงขลา
เห็นว่างานมัคคุเทศก์มีความสาคัญต่อการรองรับการท่องเที่ยวที่กาลังจะเกิดขึ้นในย่านเมืองเก่า
สงขลา โดยคนที่สามารถเป็นมัคคุเทศก์ได้จริง มีจานวน 15 คน ส่วนที่เหลือนั้นคือคนในเมืองที่
ต้องการเรียนรู้เรื่องเมืองเก่าทั้งเด็กและผู้ใหญ่ โครงการนี้ได้รับได้รับความสนใจตั้งแต่รุ่นแรก ซึ่ง
เป็นผลดีที่ทาให้คนในเมืองได้รับข้อมูลประวัติศาสตร์ชุดเดียวกับของภาคีฯ ปัจจุบันผู้ที่ผ่านการ
อบรมฯ ได้ตั้งกลุ่มชื่อว่า “กลุ่มมัคคุเทศก์เมืองเก่าสงขลา” เพื่อดาเนินกิจการท่องเที่ยวสร้างสรรค์
นอกจากนี้เทศบาลนครสงขลายังได้สนับสนุนจัดซื้อรถรางเพื่ออานวยความสะดวกด้านการ
ท่องเที่ยวด้วย
4. โครงการเทศดนตรี และเทศกาลละคร เป็นโครงการที่ได้รับการสนุนงบประมาณจากจังหวัด
ผ่านสานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสงขลา และมหาวิทยาลัยในพื้นที่ทั้ง 3
มหาวิทยาลัย โดยจัดให้มีกิจกรรมการแสดงละครและดนตรีสม่าเสมอ โดยใช้สถานที่โรงสีแดง
หับ โห้ หิ้น ในการจัดแสดง เช่น เทศกาลดนตรีเพลงของพ่อที่จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี โดยมีผู้
ประสานงานหลักคือ อาจารย์สืบสกุล ศรีสุข ผู้อานวยการภาคีฯ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมละคร
ภาพที่ 12 กิจกรรมในศูนย์การเรียนรู้นครสงขลา
| 21
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเพื่อสร้างความคึกคักและรื่นรมย์ให้กับเมือง (ภาพที่ 13)
ปัจจุบันผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายให้ภาคีฯ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
สงขลาและเทศบาลนครสงขลา จัดกิจกรรมในวันอาทิตย์ที่สองของทุกเดือนในธีม หลาดสองเล
เก๋าเท่ ริมชายหาด
5. โครงการ Street Art เป็นโครงการสร้างสรรค์เพื่อคนรุ่นใหม่ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก
สานักงานการท่องเที่ยวฯ และร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมงคลศรีวิชัย รับผิดชอบโครงการ
โดยอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญทางศิลปะ จัดให้มีจุดสาหรับ Street Art ตามฝาผนังในย่านเมืองเก่า
โดยนาวิถีชีวิตของผู้คนในเมืองเก่าและเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์มาเป็นแรงบันดาลใจในการ
สร้างสรรค์ ดังนี้
- Street Art ภาพที่ 1 เป็นภาพของเด็กน้อยและทหารญี่ปุ่น (ภาพที่ 14) สมัยที่เข้ามายึด
โรงสีแดง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และเปลี่ยนโรงสีแดงเปิดเป็นโรงพยาบาล ซึ่ง
นายทหารคนดังกล่าวอาจจะจะคิดถึงลูกหลาน จึงขอถ่ายภาพกับเด็กชาย ซึ่งเด็กชายใน
ภาพ คือ คุณรังสี รัตนปราการ ตอนอายุ 9 ขวบ โดยภาพนี้วาดอยู่ที่หน้าสานักงานภาคีฯ
ดังนั้นในวันที่ภาคี ฯ เปิดทางาน จะไม่มีใครเห็นภาพดังกล่าว แต่หากภาคี ฯ ปิดอยู่ จะเห็น
ภาพนี้เป็นเสมือนตัวแทนคุณรังสีที่ต้อนรับผู้มาเยือน
ภาพที่ 13 โครงการเทศดนตรี และเทศกาลละคร
| 22
- Street Art ภาพที่ 2 ภาพสื่อความหมายของโรงสีแดง แสดงประติกรรมรูปปั้นคนแบก
ข้าวสาร 2 คนแบกข้าวสารขึ้นและลงเรือสาเภา (ภาพที่ 15) คนแรกเลียนแบบคนทางานใน
โรงสี คนที่สอง ที่สวมรองเท้าบู๊ต เป็นนายทหารญี่ปุ่นมาแบกข้าวสารไปเป็นเสบียงในช่วง
สงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งภาพดังกล่าวสามารถสะท้อนความอุดมสมบูรณ์สมัยที่โรงสีแดงยัง
ค้าข้าว และสามารถถ่ายทอดประวัติศาสตร์สู่คนรุ่นหลังได้อย่างเด่นชัด ภาพที่ 15
ภาพที่ 14 ภาพ street art ทหารญี่ปุ่นและคุณรังสีสมัยเด็ก
ภาพที่ 15 ภาพ Street Art รูปปั้นคนแบกข้าวสาร
| 23
- Street Art ภาพที่ 3 ภาพดังกล่าวยังวาดไม่เสร็จสมบูรณ์ เป็นภาพบรรยากาศร้านน้าชาใน
อดีต ชื่อร้านว่า “ฟุเจา” (ภาพที่ 16) ที่ผู้คนมักจะมานั่งพูดคุยกัน โดยในภาพประกอบไป
ด้วย คนปั่นสามล้อ คุณครู และเถ้าแก่ เป็นเพื่อนที่มาแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ปัจจุบันภาพนี้
ได้กลายเป็น Land mark ของเมืองที่ผู้คนที่มาสงขลาต้องมาถ่ายรูปด้วย
นอกจากการจัด Street Art แล้ว ยังมีกิจกรรมต่างๆ ในช่วงเย็นที่จัดเป็นถนนคนเดินของเมือง มี
ร้านรวงมากมายเพื่อกระตุ้นสีสันและเศรษฐกิจเมือง (ภาพที่ 17)
ภาพที่ 16 ภาพ street art บรรยากาศร้านน้าชาในอดีต
ภาพที่ 17 ถนนคนเดินงาน street art
| 24
(กล่องที่ 1 ) โรงสีแดง หับ โห้ หิ้น
โรงสีแดงแห่งนี้มีบทบาทอย่างยิ่งให้เมืองเก่าสงขลา ปัจจุบันกลายมาเป็นพื้นที่รับแขกบ้านแขก
เมือง เป็นศูนย์กลางการจัดกิจกรรมในเมืองเก่าสงขลาทุกประเภท เช่น คอนเสิร์ต ศูนย์การเรียนรู้เมือง
เก่า งานฉลองวันเกิดเมือง การจัด Street Art เป็นต้น โรงสีแดงขนาดใหญ่นี้จึงเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของ
เมืองสงขลา ผู้คนที่มาส่งขลามักจะแวะเวียนเข้ามาถ่ายรูปมากมาย
นอกจากจะเป็นพื้นที่จัดกิจกรรมแล้ว คุณรังสี รัตนปราการ เจ้าของโรงสีแดงยังได้ยกพื้นที่ใน
โรงสีบางส่วนให้เป็นสานักงานของภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคมเพื่ออานวยความสะดวกให้ทีมงานได้มีที่
ทางานเป็นหลักแหล่งด้วย
ประวัติความเป็นมาของโรงสีแดง คุณรังสีเล่าว่า “ชาวบ้านเรียกโรงสีแดง เนื่องจากโรงสีทาสีแดง
มาตลอด ชื่อภาษาจีนของโรงสี คือ หับ โห้ หิ้น เป็นคำมงคลของชำวจีน คำว่ำ หับ โห้ หิ้น เป็นกำร
ออกเสียงตำมสำเนียงจีนฮกเกี๊ยน หมำยถึง ควำมสำมัคคี ควำมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ควำม
เจริญรุ่งเรือง
โรงสีแดง หับ โห้ หิ้น เป็นอาคารไม้ อายุ 102 ปี การที่โรงสีสามารถยังตั้งอยู่ได้ เพราะโครงสร้าง
ถูกวางไว้อย่างแข็งแรง มีปล่องไฟ ใช้อิฐทนไฟจากอินเดีย มีความแข็งแรง สังกะสีมีความหนา เพื่อ
รองรับเครื่องจักรไอน้าที่ใช้ในการผลิตข้าว ในสงขลามีโรงสีเพียง 6-7 แห่ง ที่ก่อสร้างโดยรองรับ
เครื่องจักรไอน้า ซึ่งโรงสีแดงนี้ เป็นโรงสีแห่งแรกที่ใช้เครื่องจักรสมัยใหม่จากอังกฤษ
ในช่วงหนึ่งของประวัติศาสตร์ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทหารญี่ปุ่นได้ยึดโรงสีแดงเป็น
สถานพยาบาล ทาให้โรงสีแดงได้รอดพ้นระเบิดจากกองทัพญี่ปุ่นได้และยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน”

Recommended

โครงงานคัดแยกขยะ by
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
55.7K views4 slides
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก by
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลก
ภาคีคนรักเมืองสงขลา ขับเคลื่อนสู่เมืองมรดกโลกFURD_RSU
2.7K views23 slides
โครงงานน้ำยาล้างมือ by
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือkitkit1974
5.4K views15 slides
โรคซึมเศร้า by
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
1.5K views5 slides
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น by
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
17K views13 slides
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line by
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red Line
04 FAR, BCR, OSR, and ISR : A Case Study of Khon Kaen LRT-Red LineSarit Tiyawongsuwan
2.5K views48 slides

More Related Content

What's hot

แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา by
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาNontaporn Pilawut
805 views54 slides
โครงงาน by
โครงงานโครงงาน
โครงงานIceeci Flatron
4.6K views4 slides
โครงงาน อ้อยกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บ้านหินกอง by
โครงงาน อ้อยกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บ้านหินกองโครงงาน อ้อยกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บ้านหินกอง
โครงงาน อ้อยกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บ้านหินกองlovehonggi
5.2K views2 slides
การสำรวจทางทะเล by
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลครูต๋อง ฉึก ฉึก
85.3K views29 slides
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ by
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Sitipun
49.1K views6 slides

What's hot(20)

แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา by Nontaporn Pilawut
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แบบประเมินสัมฤทธิผลการปฏิบัติหน้าที่รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
Nontaporn Pilawut805 views
โครงงาน อ้อยกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บ้านหินกอง by lovehonggi
โครงงาน อ้อยกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บ้านหินกองโครงงาน อ้อยกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บ้านหินกอง
โครงงาน อ้อยกับวิถีชีวิตของชาวบ้าน บ้านหินกอง
lovehonggi5.2K views
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ by Sitipun
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการเขียนข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
Sitipun49.1K views
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย by Nakhon Pathom Rajabhat University
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ by พัน พัน
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง การออกแบบอาคาร บ้าน เรือน ด้วยโปรแกรม 3 มิติ
พัน พัน98.2K views
รายงานออกแบบ by parwaritfast
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
parwaritfast5.9K views
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย by FURD_RSU
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทยวิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
วิถีชีวิตคนเมืองในประเทศไทย
FURD_RSU21.5K views
โครงงาน เรื่อง ขนมวง by Thanakorn Chanamai
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
Thanakorn Chanamai10.4K views
โครงงานเเยมกล้วย(Complete) by Pongpan Pairojana
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
Pongpan Pairojana102K views
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf by akke1881
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
akke188125.1K views
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย by FURD_RSU
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยเล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
FURD_RSU6.7K views
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน by FURD_RSU
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน  กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
กรอบคิดการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน
FURD_RSU5.5K views
โครงงานวิชา Is2 by LeoBlack1017
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
LeoBlack1017230.2K views

Viewers also liked

เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง by
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมืองเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมืองFURD_RSU
1.9K views41 slides
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา by
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาFURD_RSU
3.8K views51 slides
τσιικνοπεμπτη by
τσιικνοπεμπτητσιικνοπεμπτη
τσιικνοπεμπτηAlexandros Aggelis
460 views33 slides
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา" by
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"FURD_RSU
3K views79 slides
практична робота №6 by
практична робота №6 практична робота №6
практична робота №6 LeraPaschina
182 views6 slides
Notepad Testing Report by
Notepad Testing Report  Notepad Testing Report
Notepad Testing Report Paras
4.5K views23 slides

Viewers also liked(17)

เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง by FURD_RSU
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมืองเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับนโยบายของเมือง
FURD_RSU1.9K views
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา by FURD_RSU
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลาสถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
สถานการณ์ความเป็นเมืองของภาคใต้และจังหวัดสงขลา
FURD_RSU3.8K views
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา" by FURD_RSU
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
รายงาน "ทรัพยากรสำคัญสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา"
FURD_RSU3K views
практична робота №6 by LeraPaschina
практична робота №6 практична робота №6
практична робота №6
LeraPaschina182 views
Notepad Testing Report by Paras
Notepad Testing Report  Notepad Testing Report
Notepad Testing Report
Paras 4.5K views
I.T. Philippine Literature Report by Cedrick Abadines
I.T. Philippine Literature ReportI.T. Philippine Literature Report
I.T. Philippine Literature Report
Cedrick Abadines1.1K views
EC BH 2017 - Sessão Novas Economias com Lito 2017 by Guilherme Lito
EC BH 2017 - Sessão Novas Economias com Lito 2017EC BH 2017 - Sessão Novas Economias com Lito 2017
EC BH 2017 - Sessão Novas Economias com Lito 2017
Guilherme Lito314 views
Apa itu Typografi dan Perkembangannya by Raissa Sugiarto
Apa itu Typografi dan PerkembangannyaApa itu Typografi dan Perkembangannya
Apa itu Typografi dan Perkembangannya
Raissa Sugiarto548 views
Accelerating Innovation - A Functional Innovation Workshop by Innomantra
Accelerating Innovation - A Functional Innovation Workshop Accelerating Innovation - A Functional Innovation Workshop
Accelerating Innovation - A Functional Innovation Workshop
Innomantra 396 views
Introduction to Cloud Computing by CloudSyntrix
Introduction to Cloud Computing Introduction to Cloud Computing
Introduction to Cloud Computing
CloudSyntrix1K views
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง" by FURD_RSU
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
INFOGRAPHIC "Placemaking นวัตกรรมเพื่อสุขภาพคนเมือง"
FURD_RSU353 views
Beschaffung von IT-Lösungen im öffentlichen Sektor by Matthias Stürmer
Beschaffung von IT-Lösungen im öffentlichen SektorBeschaffung von IT-Lösungen im öffentlichen Sektor
Beschaffung von IT-Lösungen im öffentlichen Sektor
Matthias Stürmer337 views
Elaboration of ppt by Izz Hafiz
Elaboration of pptElaboration of ppt
Elaboration of ppt
Izz Hafiz265 views

Similar to Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา

แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น by
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์นแนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์น
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา อำเภอราชสาส์นฉันนี่แหละ มารตัวแม่
4.6K views39 slides
ประเพณีภาคใต้ by
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
6.3K views69 slides
จังหวัดปราจีนบุรี by
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรีKKloveyou
347 views16 slides
เชียงคานโมเดล by
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
3.1K views17 slides
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม by
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคามแนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคาม
แนะนำจังหวัดฉะเชิงเทรา ฉบับพนมสารคามฉันนี่แหละ มารตัวแม่
5.5K views348 slides
คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ) by
คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)
คำนิยมท่องศรีลังกา(สุภาศิริ)หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
1.1K views3 slides

Similar to Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา(20)

จังหวัดปราจีนบุรี by KKloveyou
จังหวัดปราจีนบุรีจังหวัดปราจีนบุรี
จังหวัดปราจีนบุรี
KKloveyou347 views
เชียงคานโมเดล by pentanino
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
pentanino3.1K views
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖ by Manoonpong Srivirat
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน” by Tum Meng
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
Tum Meng873 views
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ... by FURD_RSU
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล  กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
ระบบและกลไกการพัฒนาเมืองสุขภาวะในพื้นที่ปริมณฑล กรณีศึกษา เมืองไวท์เฮาส์ คลอ...
FURD_RSU807 views
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx by thammanoon laohpiyavisut
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx by thammanoon laohpiyavisut
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx by thammanoon laohpiyavisut
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย by Klangpanya
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ : ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
Klangpanya613 views
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย by Klangpanya
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทยโอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
โอกาสใหญ่ ภูมิศาสตร์ระหว่างประเทศกับการพัฒนาของไทย
Klangpanya350 views
เศรษฐกิจพอเพียง by GiiGx Giuseppina
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
GiiGx Giuseppina387 views
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง by FURD_RSU
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปางVibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
Vibrant Lampang กลมกล่อมไปกับวัฒนธรรมเมืองลำปาง
FURD_RSU383 views
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017) by FURD_RSU
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD Cities Monitor Vol.1 (January 2017)
FURD_RSU591 views
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก by FURD_RSU
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
FURD_RSU626 views

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก by
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
392 views16 slides
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ by
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
287 views33 slides
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล by
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
354 views15 slides
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม by
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
802 views22 slides
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม by
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
741 views26 slides
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ... by
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
890 views31 slides

More from FURD_RSU(20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก by FURD_RSU
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
FURD_RSU392 views
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ by FURD_RSU
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD_RSU287 views
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล by FURD_RSU
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
FURD_RSU354 views
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม by FURD_RSU
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
FURD_RSU802 views
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม by FURD_RSU
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
FURD_RSU741 views
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ... by FURD_RSU
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
FURD_RSU890 views
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16 by FURD_RSU
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD_RSU493 views
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15 by FURD_RSU
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD_RSU126 views
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม by FURD_RSU
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
FURD_RSU972 views
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก by FURD_RSU
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
FURD_RSU1.3K views
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข by FURD_RSU
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
FURD_RSU143 views
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง by FURD_RSU
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
FURD_RSU61 views
info graphic นิยามของมรดกเมือง by FURD_RSU
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
FURD_RSU58 views
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย by FURD_RSU
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
FURD_RSU62 views
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง by FURD_RSU
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
FURD_RSU165 views
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม by FURD_RSU
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
FURD_RSU783 views
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019) by FURD_RSU
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD_RSU162 views
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี by FURD_RSU
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
FURD_RSU1K views
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018) by FURD_RSU
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD_RSU239 views
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน... by FURD_RSU
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
FURD_RSU463 views

Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา

  • 1. รังสี รัตนปราการ ดร.จเร สุวรรณชาต สืบสกุล ศรีสุข ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต Heritage Trust กับการพัถนาย่านเมืองเก่าสงขลา
  • 2. | 2 Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา รังสี รัตนปราการ ดร.จเร สุวรรณชาต สืบสกุล ศรีสุข
  • 3. | 3 ผู้เขียน รังสี รัตนปราการ ดร.จเร สุวรรณชาต สืบสกุล ศรีสุข บรรณาธิการบริหาร นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการฝ่ายวิชาการ นางสาวยุวดี คาดการณ์ไกล ผู้ถอดความ นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง กองบรรณาธิการ นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง นายอรุณ สถิตพงศ์สถาพร นายฮาพีฟี สะมะแอ ปก นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง นางสาวจุฑามาศ พูลสวัสดิ์ รูปเล่ม นางสาวณัฐธิดา เย็นบารุง ปีที่เผยแพร่ มกราคม พ.ศ. 2560 ผู้เผยแพร่ ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับมูลนิธิส่งเสริมปัญญาสาธารณะ (CPWI) ภายใต้แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อการพัฒนาอนาคตของเมือง ผู้สนับสนุน สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 4. | 4 Heritage Trust กับการพัฒนาย่านเมืองเก่าสงขลา บทนา ช่วงปีที่ผ่านมา ได้เกิดกระแสการอนุรักษ์เมืองเก่าขึ้นในเมืองสงขลา มีโครงการและกิจกรรม เกิดขึ้นมากมายภายในเมือง ส่งผลให้เมืองสงขลาเป็นที่พูดถึงและโดดเด่นขึ้นมามาก โดยกิจกรรมที่ เกิดขึ้นเริ่มทาให้ผู้คนในเมืองหันมาตระหนักถึงคุณค่าประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมของเมือง และที่สาคัญ เมืองสงขลาได้เตรียมผลักดันเมืองเก่าสงขลาขึ้นสู่การเป็นมรดกโลก ซึ่งภาคประชาชนใน พื้นที่จังหวัดสงขลาได้มีบทบาทอย่างยิ่งในขับเคลื่อนดังกล่าว ประชาชนกลุ่มนี้เป็นที่รู้จักดีใน นาม “ภาคีคนรักเมืองสงขลา” ทาหน้าที่สนับสนุนและประสานการทางานของภาครัฐและ ประชาชนในพื้นที่ ภาคีคนรักเมืองสงขลาเริ่มต้นจากการรวมกลุ่มอย่างเข้มแข็งของผู้ซึ่งมีความคิดริเริ่ม ในการผลักดันให้สงขลาเป็นเมืองมรดกโลก และต่อมาได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ จนถึงขณะนี้ การ ดาเนินงานของภาคีคนรักเมืองสงขลาส่งผลดีต่อการพัฒนาเมืองสงขลาทั้งในแง่ของการอนุรักษ์และการ ท่องเที่ยวอย่างมีทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน แผนงานนโยบายสาธารณะเพื่อพัฒนาอนาคตของเมือง (FURD) ภายใต้ศูนย์ศึกษามหานครและ เมือง มหาวิทยาลัยรังสิต จึงมีความสนใจในกระบวนการทางานของภาคประชาสังคมเมืองสงขลา ว่ามี ความคิดริเริ่มอย่างไร ดาเนินงานอย่างไร มีบทเรียนอย่างไร เพื่อที่จะนาองค์ความรู้ด้านการพัฒนาที่ ได้มาต่อยอดเป็นแบบอย่างสาหรับการปรับปรุงและพัฒนาเมืองอื่นๆ ต่อไป ความสาคัญของเมืองสงขลา1 สงขลา เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่สาคัญแห่งหนึ่งในคาบสมุทรสทิงพระมาตั้งแต่โบราณ ทั้งยัง เป็นเมืองที่มีมรดกภูมิทัศน์วัฒนธรรมของบรรพบุรุษตกทอดมารุ่นแล้วรุ่นเล่า เมืองสงขลาเป็นเมือง เก่าแก่ที่มีอายุกว่า 400 ปี สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค (ภาพที่ 1) ได้แก่ ยุค Singora เป็นยุคแรกของการตั้งรกรากของชาวสงขลา ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา มีกษัตริย์ดา โต๊ะ โมกุล พ่อค้าชาวชวา ประเทศอินโดนีเซีย เป็นกษัตริย์พระองค์แรก ขณะนั้นเมืองสงขลาเป็น ศูนย์กลางการค้าขายทางทะเล ในบันทึกของพ่อค้าชาวจีนและชาวต่างชาติ ระบุว่าดินแดนแห่งนี้เป็น เมืองท่าการแลกเปลี่ยนสินค้าทางทะเลที่เจริญรุ่งเรืองมาก สงขลาในยุคนี้ยังได้รับอิทธิพลจากฮอลลันดา จากการเชื่อมต่อทางการค้ากับชาวดัชท์ ปัจจุบันจึงมีหลุมศพหินชาวดัชท์กว่า 22 หลุม ที่ยังเหลืออยู่ใน เมือง นอกจากนี้ การที่เมืองสงขลาถูกปกครองด้วยกษัตริย์เชื้อสายเปอร์เซีย รูปแบบสถาปัตยกรรมจึง ได้รับอิทธิพลจากอิสลามอยู่ไม่น้อย 1 ถอดความจากการบรรยายของ อาจารย์สืบสกุล ศรีสุข เป็นผู้อานวยการบริหารจัดการของภาคีคนรักเมืองสงขลา เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2559 ณ โรงสีแดง หับ โห้ หิ้น อาเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
  • 5. | 5 ยุคแหลมสน ช่วงหลังเมืองสงขลามีการแข็งเมือง ทาการค้าขายอย่างเสรีมากขึ้น จนทาให้ สมเด็จพระนารายณ์มหาราชต้องยกทัพหลวงมาปราบจนราบคาบ ในปี พ.ศ. 2223 หลังจากเหตุการณ์ ดังกล่าว เมืองสงขลาก็กลายเป็นเมืองร้างไปเกือบหนึ่งศตวรรษ หลังจาก เมือง Singora แตกในครั้งนั้น ผู้คนก็เริ่มย้ายมาสร้างบ้านเมืองใหม่บริเวณแหลมสน เรียกยุคนี้ว่า สงขลา ยุค “แหลมสน” โดยผู้ปกครอง เป็นคนไทยพื้นถิ่น ต่อมาได้รับการแต่งตั้งจากสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชให้เป็นพระสงขลา ปกครอง เมืองสงขลาอยู่ระยะหนึ่ง แต่เนื่องจาก พื้นที่ตั้งเมืองฝั่งแหลมสนขาดน้าเป็นอันมาก และพื้นที่ขยายไปได้ ไม่มากนัก จึงทาให้เมืองสงขลาต้องย้ายชัยภูมิอีกครั้งไปที่บ่อยาง ยุคบ่อยาง มีหลวงคีรี สมบัติ เป็นผู้ปกครอง ก่อนเปลี่ยนการปกครองมาเป็นระบบข้าหลวง เทศาภิบาล แรกเริ่ม สงขลาบ่อย่างมีที่ตั้งอยู่บริเวณย่านเมืองเก่า ในเขตกาแพงเมือง ซึ่งอยู่ตรงบริเวณ ถนนเก้าห้องและถนนนครในในปัจจุบัน มีหลักฐานของศาลหลักเมืองตั้งอยู่บนถนนเก้าห้อง โดย ศาลหลักเมืองดังกล่าวได้รับพระราชทานไม้ชัยพฤกษ์ จากรัชกาลที่ 3 พระราชทานเป็นเสาไม้หลักเมือง ใน พ.ศ.2385 ยุคนี้เป็นยุคที่สงขลาได้รับอิทธิพลจากการค้าขายทางเรือของชาวจีน จึงทาให้ สถาปัตยกรรมของจังหวัดสงขลาส่วนใหญ่ก่อสร้างอาคารในรูปแบบจีน ในสมัยเจ้าวิเชียรคีรี หรือสมัย พ.ศ. 2379 จากความรุ่งเรืองทางการค้าขาย ได้ส่งผลให้เมืองสงขลาบ่อยางมีการก่อสร้างอาคารห้องแถว เพื่อการค้าขายจานวนมาก มีโรงสีข้าว ศาลเจ้า โรงแรม โรงละคร สถานศึกษา กระจายอยู่ทั่วไป โดย รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของอาคารมีความใกล้เคียงกับประเทศข้างเคียง เช่น จีน มาเลเซีย สิงคโปร์ ซึ่งสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญของเมืองแบบจีนดั้งเดิม แบบจีนพาณิชย์ และแบบจีนผสมตะวันตก (ภาพที่ 2-3) ภาพที่ 1 แผนที่การตั้งเมืองสงขลาทั้ง 3 ยุค
  • 6. | 6 การเปลี่ยนแปลงในเมืองสงขลา 1. การย้ายถิ่นฐานของผู้คน สืบเนื่องมาจากช่วงที่คนจีนในสงขลาเริ่มมีฐานะร่ารวยขึ้น จึงมี ค่านิยมส่งลูกหลานให้เรียนสูง โดยมักจะส่งไปที่ปีนังหรือกรุงเทพฯ เพราะมีสถานศึกษาที่มี ชื่อเสียงจานวนมาก เมื่อลูกหลานชาวจีนเหล่านั้นจบการศึกษา จึงมักทางานต่อในต่างประเทศ หรือกรุงเทพฯ โดยไม่กลับมาใช้ชีวิตที่สงขลา นอกจากนี้เมื่อมีการสร้างรถไฟ ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงเส้นทางการส่งสินค้าจากทางทะเลเป็นทางบกแทน ทาให้อาเภอหาดใหญ่กลายเป็น เมืองค้าขายแทนสงขลา ผู้คนที่ทาการในค้าสงขลารุ่นแรกๆ เริ่มย้ายที่อยู่ไปที่หาดใหญ่และที่ อื่นๆ มากขึ้น ปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดการย้ายถิ่นฐานของผู้คนออกนอกเมืองสงขลา เหลือเพียง บ้านพักที่เคยอาศัยไว้เป็นเสมือนหลักฐานความมั่งคั่งของตระกูล 2. ผลจากการเปลี่ยนแปลงของเมือง หลังจากทาทางรถไฟไปหาดใหญ่ ทาให้สงขลาเปลี่ยนจาก ย่านธุรกิจการค้าขายมาเป็นย่านประมง มีเรือประมงมาจอดกว่า 500 ลา มีการขนส่งด้วย รถบรรทุกขนาดใหญ่ ขนสินค้าเข้าออกทุกวัน (ภาพที่ 4-5) ตลอดจนเป็นแหล่งที่พานักของ ประชากรแฝง เริ่มมีร้านมีคาราโอเกะ มีการขายบริการของแรงงานต่างชาติ จนนามาสู่ปัญหา ของเมืองในด้านต่างๆ ทั้งปัญหาขยะ ปัญหาอาชญากรรม และปัญหาโรคติดต่อ 3. ความเสื่อมโทรมย่านเมืองเก่า ด้วยเหตุปัจจัยการย้ายออกของผู้คน ประกอบกับคติความเชื่อ ของชาวจีนสงขลาที่ประสบความสาเร็จว่าจะไม่ขายที่ดินหรือที่อยู่อาศัยให้กับผู้อื่น เนื่องจากจะ เป็นการลบหลู่บรรพบุรุษ ทาให้บ้านเก่าหลายหลังกลายเป็นบ้านเช่า บางหลังถูกปิดไว้ บางหลัง แปรสภาพเป็นที่เก็บของ จากการสารวจพบว่ามีบ้านอีกจานวนไม่น้อยที่มักจะเปลี่ยนผู้เช่า บ่อยครั้ง ทาให้การที่ผู้เช่าจะลงทุนซ่อมแซมบ้านเช่าด้วยตนเองเป็นเรื่องเกินกาลังของผู้เช่า อีก ทั้งหากจะต้องมีการบูรณะ ก็ต้องใช้เงินจานวนมาก แต่ทานองกลับกัน หากเจ้าของจะสร้างห้อง แถวใหม่ กฎหมายก็ไม่เอื้ออานวยให้สร้างห้องแถวในที่ดินเดิม ภาพที่ 2-3 บ้านและอาคารรูปแบบจีนในสงขลา
  • 7. | 7 นอกจากนี้ การเปลี่ยนเป็นย่านประมง มีกิจการขนส่งด้วยรถบรรทุกขนาดใหญ่ทุกวัน ทาให้ย่านเก่าเสื่อมโทรมอย่างรวดเร็ว ช่วงเปลี่ยนผ่านระยะเวลาของเหตุการณ์ดังกล่าวจนถึง ปัจจุบัน ผ่านมาเกือบ 100 ปี ส่งผลให้สภาพที่อยู่อาศัยในย่านเมืองเก่านี้ ชารุดทรุดโทรม และ บางหลังถูกทิ้งร้างจนไม่สามารถเข้าอาศัยได้ ภาคีคนรักเมืองสงขลา2 จากการเปลี่ยนแปลงของเมืองสงขลาจนนาไปสู่ความเสื่อมโทรมของย่านเมืองเก่า ทาให้เกิดการ รวมตัวของคนหลากหลายอาชีพซึ่งล้วนเป็นผู้มีจิตสานึกรักท้องถิ่นที่ต้องการรักษามรดกของเมืองและ บูรณะฟื้นฟูย่านเมืองเก่าที่เสื่อมโทรมให้กลับมามีชีวิตชีวาอีกครั้ง ภายใต้ชื่อ “ภาคีคนรักเมืองสงขลา” ภารกิจหลักของภาคีฯ คือการทางานร่วมกับภาครัฐและเอกชนเพื่อขับเคลื่อนการฟื้นฟูและรักษาคุณค่า ของเมืองเก่า โดยได้รับการสนับสนุนทางวิชาการจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยและการ เคหะแห่งชาติ สานักงานภาคีคนรักเมืองสงขลาได้รับความอนุเคราะห์จากคุณรังสี รัตนปราการ ให้ใช้อาคารสี แดง หับ โห้ หิ้น เลขที่ 13 ถนนนครนอก อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา เป็นสถานที่ตั้ง บทบาทของภาคีคนรักเมืองสงขลา คือ อานวยความสะดวกในการฟื้นฟูย่านเมืองเก่า สนับสนุน การจัดกิจกรรมต่างๆ ร่วมกับภาครัฐ เช่น เทศบาลนครสงขลาหรือภาคส่วนจังหวัด ตลอดจนเป็น ตัวกลางประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน เกิดความสัมพันธ์อันดี และลดความขัดแย้งระหว่าง ภาคประชาชนกับภาครัฐ ให้ร่วมมือพัฒนาเมืองได้ ภาคีคนรักเมืองสงขลา สู่ ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม (Songkla heritage trust) หลังจากภาคีคนรักเมืองสงขลาได้ทากิจกรรมหลากหลายรูปแบบเพื่อกระตุ้นและก่อกระแสการ อนุรักษ์เมืองเก่ามาระยะหนึ่งก็ต้องการยกระดับการทางานอนุรักษ์เมืองเก่าสู่ระดับสากลมากขึ้น จึงได้ 2 ถอดความจากการบรรยายของ คุณรังสี รัตนปราการ ประธานกลุ่มภาคีคนรักเมืองสงขลา ในโครงการฝึกอบรมการจัดทานคร ลาปางให้เป็นเมืองน่าอยู่โดยการปกป้องรักษามรดกอันมีคุณค่าของเมือง สนับสนุนโดยการเคหะแห่งชาติ และมูลนิธิปัทมะเสวี เมื่อ วันที่ 11 มกราคม 2559 ณ บ้านบริบูรณ์ เทศบาลเมืองลาปาง ภาพที่ 4-5 การจอดเรือประมงและการขนส่งสินค้าด้วยรถบรรทุกสงขลา
  • 8. | 8 เริ่มศึกษาบทเรียนด้านการพัฒนาจากต่างประเทศในเรื่อง heritage trust โดยศึกษาข้อมูลการทางาน จาก Penang heritage trust (PHT) สมาคมอนุรักษ์เมืองเก่าปีนัง ที่เป็นเครือข่ายการทางานของภาคีคน รักเมืองสงขลา พ.ศ. 2556 ภาคีคนรักเมืองสงขลาได้จดทะเบียนเป็นสมาคมอนุรักษ์เมืองเก่าระดับสากล และใช้ชื่อภาษาอังกฤษว่า “Songkhla Heritage trust” มีสถานะเป็นองค์กรอย่างเป็นทางการ โครงสร้างขององค์กรประกอบด้วย สมาชิกตลอดชีพและสมาชิกสามัญ มีหน้าที่บริหารสมาคมให้ ดาเนินงานเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ส่วนสมาชิกสมทบและสมาชิกยุวชน จะมี หน้าที่สนับสนุนการดาเนินงานของภาคีอย่างเข้มแข็ง โดยองค์กรมีวัตถุประสงค์การทางาน ดังนี้ 1. เป็นศูนย์รวมความสามัคคี ความนึกคิดระหว่างสมาชิกด้วยกัน ทั้งภาครัฐและภาคประชาชน 2. รวบรวม ค้นคว้า และเผยแพร่ประวัติศาสตร์เมืองสงขลา 3. สนับสนุนกิจกรรมทางสาธารณะเพื่อประโยชน์ชุมชนให้เป็นการเรียนรู้แก่คนรุ่นต่อไป 4. ไม่ยุ่งเกี่ยวการเมือง หลักการของ heritage trust หลักการของสมาคม heritage trust ในระดับสากลนั้น จะต้องมีการบริจาคเงินเพื่อสร้างกองทุน สนับสนุนการปรับปรุงและฟื้นฟูบ้านและอาคารเก่าในเมือง แต่ ณ ขณะนี้ ภาคีคนรักเมืองสงขลายังได้รับ งบประมาณจากคุณรังสี รัตนปราการ แต่เพียงผู้เดียว อีกทั้งยังไม่มีการเก็บเงินจากสมาชิกของสมาคม เนื่องจากต้องการให้ผู้คนเข้าร่วมจานวนมากก่อน โดยคาดหวังว่า ในอนาคตจะสามารถสร้างกองทุน อนุรักษ์จากการมีส่วนร่วมของคนในเมืองได้อย่างแท้จริง งบประมาณ งบประมาณที่สนับสนุนกองทุนได้มาจาก คุณรังสี รัตนปราการ ซึ่งได้มอบเงินสบทบทุนเพื่อเป็น ทุนในการดาเนินงานต่างๆ กว่า 2,000,000 บาท คณะกรรมการบริหารกองทุนมี 3 คน คือ คุณรังสี รัตนปราการ คุณชนินทร์ สาครินทร์ และดร. จเร สุวรรณชาต นอกจากนี้ ภาคีฯ ยังมีกรรมการบริหาร และดาเนินงาน คือ อาจารย์สืบสกุล ศรีสุข เป็นผู้อานวยการบริหารจัดการโครงการต่างๆ สมาชิกกลุ่ม ปัจจุบันภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม มีสมาชิกที่ทางานเป็นกลุ่ม Core Team (ภาพที่ 6) จาก หลากหลายสาขาอาชีพประมาณ 60 คน ทั้งยังมีสมาชิกที่ลงทะเบียนเข้าร่วมกับสมาคมอีกกว่า 800 คน และมีสมาชิกติดตามข่าวสารทาง Facebook ภาคีคนรักเมืองสงขลา อีกประมาณ 5,000 คน
  • 9. | 9 เป้ าหมายการทางานของภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม 1. การนาสงขลาเข้าสู่เมืองมรดกโลก เป็นเป้าหมายระยะยาวของภาคีคนรักเมืองสงขลาเพื่อ รักษาฟื้นฟูเมืองเก่า และเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว เนื่องจากการท่องเที่ยวเป็นภาคส่วนที่สร้าง รายได้เข้าสู่ประเทศจานวนมาก อีกทั้งสงขลายังมีฐานนักท่องเที่ยวจากประเทศมาเลเซียและ สิงคโปร์เป็นทุนเดิม ดังนั้น การท่องเที่ยวจะช่วยกระตุ้นความภูมิใจในท้องถิ่นและสร้าง เศรษฐกิจเมืองให้เกิดขึ้นด้วย การวางเป้าหมายระยะยาวเช่นนี้ถือเป็นหัวใจสาคัญในการทางาน เนื่องจากการ ตั้งเป้าหมายที่เป็นรูปธรรมเช่นนี้ จะทาให้ทั้งคนทางาน ภาครัฐ และประชาชน เข้าใจและเห็น ภาพปลายทางของการทางานด้านอนุรักษ์ ซึ่งจะช่วยกระตุ้นให้ทุกฝ่ายเข้ามามีส่วนร่วมได้ 2. การกระตุ้นให้คนในเมืองตระหนักถึงคุณค่าเมืองสงขลา เป็นเป้าหมายระยะสั้นของภาคี คนรักเมืองสงขลา เนื่องจากการพัฒนาและฟื้นฟูเมืองนั้นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของคนใน เมือง ภาคีฯ จึงให้ความสาคัญกับการสร้างความไว้วางใจต่อกัน พร้อมทั้งกระตุ้นอารมณ์ของคน ในเมืองให้เข้าใจและเห็นคุณค่าของธรรมชาติ สถาปัตยกรรม และวัฒนธรรมของเมือง วิธีการทางานของภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม การทางานของภาคีคนรักเมืองสงขลา เน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การทางานที่ผ่านมา จึงพยายามสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนเพื่อดาเนินแผนการอนุรักษ์และกิจกรรมระดับเมือง โดย ร่วมมือกับภาครัฐ เช่น เทศบาลนครสงขลา องค์การส่วนจังหวัด การเคหะแห่งชาติ สถาบันการศึกษา เช่น มหาวิทยาลัยต่างๆ ในสงขลา และภาคเอกชน ได้แก่ บริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม จากัด เป็นต้น ทั้งนี้ภาคีฯ ได้กาหนดวิธีการทางานเพื่อนาสู่เป้าหมายทั้งระยะสั้นและระยะยาวดังนี้ ภาพที่ 6 กลุ่มคนทางานหลักของภาคีคนรักเมืองสงขลา
  • 10. | 10 1. การนาสงขลาเข้าสู่เมืองมรดกโลก ภาคีฯ มีการเตรียมข้อมูลเพื่อเข้าสู่การเป็นเมืองมรดกโลก แม้เมืองสงขลามีขนาดเล็ก แต่มีมหาวิทยาลัยตั้งอยู่ถึง 3 แห่ง จึงมีนักวิชาการที่พร้อมทางาน เพื่อเตรียมข้อมูลที่จะเข้าสู่การเป็นเมืองมรดกโลก สงขลาจาเป็นต้องมีข้อมูลเพื่อนาเสนอต่อ คณะกรรมการมรดกโลกในการประเมินเพื่อพิจารณาและเป็นข้อมูลสาหรับการทาแผนอนุรักษ์ และฟื้นฟูเมืองเก่าต่อไป นักวิชาการในพื้นที่ได้จัดทาข้อมูลทั้งมรดกทางธรรมชาติ มรดกทาง สถาปัตยกรรม มรดกด้านวัฒนธรรม โดยใช้วิธีการสารวจ สัมภาษณ์ และประเมินหาวิธีการ พัฒนาและแก้ไขปัญหา (รายละเอียดอยู่ในหัวข้อการจัดทาแผนอนุรักษ์เมืองเก่าสงขลา) 2. การกระตุ้นให้คนในเมืองตระหนักถึงคุณค่าในเมืองสงขลา เป็นการเตรียมความรู้สึกของ คนเมืองให้เข้าใจคุณค่าของสงขลา พร้อมสร้างคนรุ่นใหม่ให้มีคุณภาพ ทางภาคีฯ ได้จัดกิจกรรม ระดับเมืองอย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างบรรยากาศเมือง และสร้างคนควบคู่ไปกับการจัดทาข้อมูล มรดกเมืองเพื่อจูงใจผู้คน ทาให้ 2 ปีที่ผ่านมา เมืองสงขลามีกิจกรรมที่สร้างความคึกคักและก่อ กระแสการอนุรักษ์เมืองได้ตลอดทั้งปี ซึ่งแต่ละกิจกรรมมีผู้คนในเมืองเข้าร่วมจานวนมาก (รายละเอียดอยู่ในหัวข้อโครงการที่ได้ดาเนินการมา) ความร่วมมือระดับนานาชาติ ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม (Songkhla Heritage Trust) ได้สร้างความร่วมมือระดับนานาชาติ ร่วมกับกลุ่มอนุรักษ์ฟื้นฟูเมืองเก่าประเทศต่างๆ โดยใน พ.ศ. 2557 ได้จัดการประชุมความร่วมมือทาง วิชาการ (symposium) ภายใต้ชื่อ “IMT-GT 2015 Symposium on Liveable Old Town Tourism” จัด ขึ้นที่พิพิธภัณฑ์สงขลา เป็นการประชุมความร่วมมือในด้านวิชาการเรื่องอนุรักษ์เมืองเก่าเพื่อ ความก้าวหน้าร่วมกัน โดยมีการเซ็นสัญญาความร่วมมือกับ 7 เมือง ใน 3 ประเทศ ได้แก่ เมืองมะละกา เมืองปีนัง ประเทศมาเลเซีย และเมืองเมดา เมืองปาเลมบัง เมืองบุโรพุทโธ ประเทศอินโดนีเซีย และ เมืองสงขลา เมืองภูเก็ตของประเทศไทย เพื่อให้ทั้ง 7 เมืองเก่านี้กลายเป็นหนึ่งชุมชนแห่งการอนุรักษ์ (one community) ภาพที่ 7 เรื่องราวของคุณ Arthur Stewart King Scarf
  • 11. | 11 การเติบโตและการขยายผลในอนาคต - การปรับข้อมูลของเมืองให้เป็นปัจจุบัน (Update) คือ การศึกษาและปรับข้อมูลเมืองอย่าง สม่าเสมอ ซึ่งงบประมาณด้านนี้ได้รับจากการเคหะแห่งชาติ โดยจะใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาก ขึ้นในการศึกษา เช่น กล้องถ่ายรูปแบบใหม่ กล้องโดรน มาปรับและศึกษาสภาพปัจจุบันของ เมือง สารวจในตัวบ้านและอาคารให้มากขึ้น มีการรางวัดออกมากขึ้น ช่วยต่อยอดรูปแบบการใช้ วัสดุและรูปแบบทางสถาปัตยกรรม - การก่อตั้ง มูลนิธิรัตนปราการ (Ratanaprakarn Foundation) ซึ่งเป็นมูลนิธิของคุณรังสี เป็น อีกหนึ่งช่องทางที่จะช่วยสนับสนุนงานภาคีฯ ได้ในอนาคต โดยมูลนิธิมีวัตถุประสงค์ให้การ สนับสนุนใน 3 ด้าน คือ ศาสนา โรงพยาบาล และการศึกษา นอกจากนี้ ยังรวมไปถึงเรื่องการ จัดการภัยพิบัติต่างๆ เนื่องจากมีผลกระทบต่อเมืองเก่ามาก อุปสรรคและข้อจากัด แม้ว่าลักษณะภายนอก เมืองสงขลาจะประสบความสาเร็จในการฟื้นฟูย่านเมืองเก่า แต่การ ทางานยังคงมีปัญหาในหลายด้าน เช่น - งบประมาณมีจากัด การจัดกิจกรรมเพื่อดึงความสนใจจากผู้คนและสร้างการเรียนรู้ของ เยาวชนย่อมต้องอาศัยงบประมาณจานวนมาก เช่น การเปิดศูนย์เรียนรู้ หากมีโรงเรียนมาศึกษา ดูงาน ภาคีฯ จะต้องแบกรับค่าใช้จ่ายทั้งหมด ย่อมนามาสู่ปัญหาด้านงบประมาณทั้งสิ้น แม้ว่า ปัจจุบันภาคีฯ จะได้รับการสนับสนุนจากคุณรังสี รัตนปราการ เป็นหลัก จึงต้องใช้อย่างประหยัด และต้องวางแผนเพื่อหางบประมาณเพิ่มด้วย เนื่องจากยังต้องดาเนินงานอนุรักษ์ฟื้นฟูอีกมาก - ข้อจากัดด้านการสนับสนุนจากภาครัฐส่วนท้องถิ่น ตลอดการทางานฟื้นฟูย่านเก่าของภาคี ฯ ใช่ว่าภาครัฐท้องถิ่นจะไม่สนับสนุน แต่ท้องถิ่นมีข้อจากัดเกี่ยวกับเงื่อนไขการใช้งบประมาณ เนื่องจากการปรับปรุงบ้านเก่าไม่ได้อยู่ในเงื่อนไขการใช้จ่ายของส่วนท้องถิ่น - การให้ความสาคัญจากรัฐส่วนกลาง การอนุรักษ์เมืองเก่า ที่ผ่านมายังไม่ได้รับความสนใจ จากรัฐส่วนกลางเท่าที่ควร ทาให้มีอุปสรรคทั้งทางกฎหมายและงบประมาณสนับสนุน เมืองเก่า หลายแห่งในประเทศไทยซึ่งมีบ้านและอาคารเก่าสวยงามจึงไม่สามารถจัดทาแผนฟื้นฟูได้ เนื่องจากข้อจากัดด้านงบประมาณ ภาครัฐส่วนกลางจึงควรเห็นความสาคัญของเรื่องดังกล่าว โดยตั้งหน่วยงานเฉพาะเพื่อช่วยเหลือ
  • 12. | 12 สรุป ประสบการณ์อนุรักษ์ย่านเมืองเก่าของสงขลา ให้บทเรียนสาคัญ คือ การสร้างการมีส่วนร่วมของ คนในเมืองที่ไม่ใช่แค่มีส่วนร่วมในกิจกรรม แต่ประชาชนในพื้นที่ควรเป็นส่วนหนึ่งของโครงการต่างๆ ร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมมีส่วนได้ส่วนเสีย อีกทั้งต้องทาให้คนในชุมชนเข้าใจและตระหนักถึงประวัติศาสตร์ รากเหง้า วิถีชีวิตของตัวชุมชน สิ่งเหล่านี้ทาให้ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคมให้ความสาคัญกับการสร้าง การมีส่วนร่วมของคนและกระตุ้นให้คนได้ตระหนักถึงคุณค่าในมรดกเมืองที่ตกทอดมา การทางานอนุรักษ์และฟื้นฟูเมืองของภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคมที่ร่วมมือกับภาครัฐ ภาคเอกชนและสถาบันการศึกษา ถือได้ว่ามีความก้าวหน้า มีความเป็นรูปธรรม ก่อให้เกิดกระแสการ อนุรักษ์และหวงแหนเมืองอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งปัจจุบันยังมีการขับเคลื่อนการทางานสู่ความเป็นสากล โดยร่วมมือกับกลุ่มอนุรักษ์ของต่างประเทศ นับเป็นตัวอย่างที่น่าติดตามของการทางานด้านการอนุรักษ์ เมืองเก่า ความร่วมมือระหว่างชุมชนกับรัฐ การจัดการเมืองเพื่อรองรับการท่องเที่ยว แม้ว่าจะมีอุปสรรค และข้อจากัดหลายประการ แต่อย่างน้อยความเคลื่อนไหวทุกก้าวก็เป็นไปเพื่อการอนุรักษ์มรดกของเมือง อันเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับเมืองอื่นในประเทศไทยเพื่อเรียนรู้และต่อยอดการพัฒนาและอนุรักษ์ของ ประเทศไทยให้ยั่งยืนต่อไปได้ ภาคผนวก การทาแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านเมืองเก่าสงขลา3 การจัดทาแผนอนุรักษ์ฟื้นฟูย่านเมืองเก่า ทีมวิชาการได้จัดทาแผนบริหารจัดการเมืองเก่าสงขลา ตามแนวทางเมืองมรดกโลก ซึ่งกาหนดไว้โดยองค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่ง สหประชาชาติ หรือ UNESCO เพื่อใช้เป็นแผนงานสาหรับปกป้องและส่งเสริมคุณค่าของเมือง โดย เทียบเคียงมรดกเมืองของสงขลาเข้ากับตัวชี้วัดของ UNESCO ซึ่งพบว่า สงขลามีคุณสมบัติที่ใกล้เคียง กับการเป็นพื้นที่ภูมิวัฒนธรรม (History Cultural Landscape) เพราะสงขลามีมรดกของเมืองหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นมรดกทางธรรมชาติ มรดกสถาปัตยกรรม มรดกทางวัฒนธรรม มีประเพณี อาหารการกิน ดั้งเดิมที่เป็นเอกลักษณ์ จากนั้นจึงทาการลงศึกษาพื้นที่ในวงกว้างและจัดทาแผนเพื่อบูรณาการมรดก เมืองซึ่งมีอย่างหลากหลายเข้าด้วยกัน โดยการจัดทาข้อมูลมรดกของเมืองแต่ละด้าน มีรายละเอียด ดังนี้ - การจัดทาข้อมูลมรดกทางธรรมชาติ สงขลาเป็นเมืองที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติที่สมบูรณ์เมืองหนึ่งของไทย ทีมวิชาการจึงได้สารวจ แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ และวางจุดบนแผนที่ (ภาพที่ 1) โดยความโดดเด่นของสงขลา คือ การมีเกาะ 3 ถอดความจากการบรรยายของ ดร.จเร สุวรรณชาต อาจารย์ประจาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย ในโครงการฝึกอบรมการจัดทานครลาปางให้เป็นเมืองน่าอยู่โดยการปกป้องรักษามรดกอันมีคุณค่าของเมือง สนับสนุนโดย การเคหะแห่งชาติ และมูลนิธิปัทมะเสวี เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2559 ณ บ้านบริบูรณ์ เทศบาลเมืองลาปาง
  • 13. | 13 หลายเกาะ ทั้งเกาะหนู เกาะแมว มีทะเลสาบล้อมรอบเมือง อีกทั้งบริเวณใจกลางเมืองยังมีภูเขาศักดิ์สิทธิ์ เรียกว่า เขาตังกวน (ภาพที่ 2) ซึ่งเป็นที่บรรจุ เจดีย์พระธาตุ ภูเขานี้ยังเป็นจุดชมทัศนียภาพทั้งหมดของ เมือง นอกจากนี้สงขลายังเป็นเมืองที่มีพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตกอยู่ในเมืองเดียวกันอีกด้วย - การจัดทาข้อมูลมรดกทางสถาปัตยกรรม สงขลามีประวัติศาสตร์ยาวนานจากการค้าขายของคนจีน ทาให้ปัจจุบันถนนนครนอก ถนนนคร ใน และถนนนางงามยังคงเอกลักษณ์ดั้งเดิมเอาไว้ มีห้องแถวไม้แบบจีน มีตึกคลาสสิกสไตล์ชิโนโปรตุกีส และยังมีอาคารตึกแถวแบบจีนโบราณของชาวจีนฮกเกี้ยนอยู่ปะปนกันทั้งสองฟากฝั่งถนน ทาให้ใน พ.ศ. ภาพที่ 2 เขาตังกวน ภาพที่ 1 แผนผังทรัพยากรธรรมชาติในสงขลา
  • 14. | 14 2554 รัฐบาลประกาศให้สงขลาเป็น 1 ใน 10 เมืองเก่าของแผ่นดิน และเป็น 1 ใน 2 เมืองของภาคใต้ที่มี ความสาคัญทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี สาหรับการจัดทาแผนอนุรักษ์ ทางทีมวิชาการได้รวบรวมข้อมูลอาคารเก่า โดยใช้วิธีการเดิน สารวจ เพื่อจัดทาแผนที่อาคารเก่า (ภาพที่ 3 ) จากการเดินสารวจทาให้ได้ข้อมูลรูปแบบสถาปัตยกรรม บ้านและอาคารในเมือง โดยพบว่า มีรูปแบบอาคารจีนดั้งเดิม 92 หลัง จีนพาณิชย์ 89 หลัง จีนร่วมสมัย 63 หลัง และจีนตะวันตกอีก 43 หลัง (ภาพที่ 4) นอกจากนี้ การสารวจทาให้ได้มาซึ่งข้อมูลระดับคุณภาพอาคารเก่าในเมืองด้วย โดยพบว่า มี อาคารที่สมบูรณ์ 80-100% อยู่ถึง 432 หลัง อาคารที่สมบูรณ์ 60% มีจานวน 119 หลัง อาคารที่สมบูรณ์ 50% มี 68 หลัง และอาคารที่ทรุดโทรมมากมีความสมบูรณ์เพียง 20% มีเพียง 26 หลังเท่านั้น (ภาพที่ 5) แสดงให้เห็นว่าบ้านและอาคารเก่าในสงขลาส่วนใหญ่ยังอยู่ในสภาพดี มีความดั้งเดิมสูง เนื่องจาก เจ้าของบ้านปล่อยให้เช่าโดยไม่มีการซ่อมแซม ไม่มีการเปลี่ยนวัสดุ ซึ่งนับเป็นข้อดีของอาคารเก่าใน สงขลา แต่ในขณะเดียวกัน การไม่ซ่อมบารุงก็ทาให้อาคารเสื่อมโทรมลงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ การ สารวจยังทาให้พบว่ามีกาแพงเมืองที่ยังหลงเหลืออยู่ภายในถนนนครนอก และมีศาลเจ้าถึง 5 แห่ง ซึ่งแต่ ละศาลมีความเชื่อที่แตกต่างกันไป (ภาพที่ 6) ภาพที่ 3 แผนผังสารวจมรดกทางสถาปัตยกรรมในสงขลา
  • 15. | 15 - การจัดทาข้อมูลมรดกทางวัฒนธรรม ทีมวิชาการได้สารวจวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของผู้คน ซึ่งพบว่าสงขลามีความโดดเด่นในเรื่องของ อาหารดั้งเดิม ทั้งอาหารจีน อาหาหารมุสลิม จึงนามาสู่การสารวจและจัดทาแผนที่อาหารดั้งเดิม (Food scape) (ภาพที่ 7) เพื่อนาเสนอวัฒนธรรมที่มีคุณค่า ส่งเสริมการท่องเที่ยว และส่งเสริมเศรษฐกิจเมือง ภาพที่ 4 ผังและสถิติรูปแบบสถาปัตยกรรมในสงขลา ภาพที่ 5 ผังและสถิติระดับคุณภาพสถาปัตยกรรมในสงขลา ภาพที่ 6 ศาลเจ้าจานวน 5 ศาล ในเมืองสงขลา
  • 16. | 16 - การจัดทาข้อมูลบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์ นอกจากสารวจและจัดทาแผนทรัพยากรธรรมชาติและสถาปัตยกรรมแล้ว ทีมวิชาการยังค้นคว้า ประวัติศาสตร์อย่างลึกซึ้ง โดยเฉพาะด้านบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์เพื่อนาเสนอให้คนในเมืองเกิด ความภูมิใจในประวัติศาสตร์ ซึ่งเรื่องราวของบุคคลสาคัญเหล่านี้ จะสามารถเป็นเรื่องราวที่กระตุ้นให้ เมืองสงขลาน่าสนใจ ให้ผู้คนได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์มากขึ้น นาไปสู่การเดินทางค้นหาบ้านและเรื่องราว ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในอดีต โดยตัวอย่างเรื่องราวบุคคลสาคัญในประวัติศาสตร์ที่นาเสนอ ได้แก่ เรื่องของ สายลับญี่ปุ่นที่ปลอมตัวเป็นแพทย์ ชื่อ หมอมาซาโอะ เคไซ แต่งงานกับหญิงไทยที่คาดว่าเป็นชาว ภูเก็ต มีบุตรชายหนึ่งคน ปัจจุบันบุตรชายของท่านมีอายุประมาณ 80 ปี หลังจากสงครามจบลง ทาให้ลูก ชายมีปัญหาเรื่องสัญชาติ เพราะคนญี่ปุ่นไม่ยอมรับว่าเป็นคนญี่ปุ่น คนไทยก็ไม่ยอมรับว่าเป็นคนไทย เช่นกัน ทาให้ต้องใช้เวลากว่าค่อนชีวิตเพื่อให้ได้มาซึ่งสัญชาติไทย (ภาพที่ 8) นอกจากเรื่องสายลับญี่ปุ่น ยังมีเรื่องของทหารอังกฤษ ชื่อ นาย Arthur Stewart King Scarf วีรบุรุษของอังกฤษที่เสียชีวิตจากการถูกยิงบนน่านฟ้าเหนือเมืองสงขลาในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดย ทหารท่านนี้ได้รับคาสั่งให้ไปทิ้งระเบิดฝูงเรือที่จะขึ้นบกบริเวณสงขลา แต่การสื่อสารช้าไป ทาให้ฐานทัพ ถูกถล่มเสียก่อน เขาเป็นเพียงคนเดียวนาเครื่องบินขึ้นทัน และตัดสินใจบินเดี่ยวทาภารกิจจนสาเร็จ แต่ สุดท้ายโดนศัตรูโจมตีบาดเจ็บสาหัส บินกลับและนาเครื่องลงจอดเพื่อรายงานตัว และรอคนรักมาดูใจ แต่ ทนบาดแผลไม่ไหว เสียชีวิตก่อน ด้วยเหตุนี้ นายทหารดังกล่าวจึงได้รับเหรียญกล้าหาญสูงสุดสมเด็จ พระราชินีวิคตอเรียแห่งอังกฤษ (ภาพที่ 9) ภาพที่ 7 แผนผังอาคารดั้งเดิมในเมืองสงขลา
  • 17. | 17 ภาพที่ 8 เรื่องราวของหมอซาโอะ เคไซ สายลับญี่ปุ่น ภาพที่ 9 เรื่องราวของคุณ Arthur Stewart King Scarf
  • 18. | 18 จากการวิจัยและการจัดทาข้อมูล เมื่อประเมินความเป็นไปได้และวิธีการพัฒนา ทาให้สามารถ วางแผนการพัฒนาในอนาคตได้โดยสังเขป อันประกอบด้วย 1. การปรับปรุงบริเวณริมน้า (Water Front Upgrading) ได้แก่ 1.1. การพัฒนาตามแนวทางของเมืองมะละกา ประเทศมาเลเซีย 1.2. การเพิ่มมูลค่าให้กับอาคารอนุรักษ์ 1.3. การสร้างแนวกันชน (Buffer Zone) ระหว่างพื้นที่อยู่อาศัยและพื้นที่ประมง 1.4. การเพิ่มพื้นที่สร้างสรรค์และสร้างความสะดวกสบายในการเข้าถึงบริการสาธารณะและ ตารวจ 2. การสร้างระบบบริการนักท่องเที่ยวกระจายตัวรอบเมือง จะส่งผลให้เมืองมีชีวิตชีวาได้ ภายใต้แนวคิดการเป็นศูนย์บริการข้อมูลการท่องเที่ยวของย่านเมืองเก่า เป็นศูนย์บริการ นักท่องเที่ยว 24 ชั่วโมง และสามารถปรับเปลี่ยนย่านเมืองเก่าให้เป็นพื้นที่มีชีวิตได้ผ่านการนา กาไรด้านการท่องเที่ยวกลับคืนสู่ชุมชน แนวคิดการพัฒนาระบบบริการนักท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ประกอบด้วย การออกแบบเฟอร์นิเจอร์สาธารณะให้เป็นรูปแบบจีนสอดคล้องกับสถาปัตยกรรม โดยรวมในพื้นที่ การปรับปรุงที่จอดรถ การจัดทาทางลาดและคู่มือการใช้เส้นทางสาหรับผู้สูงอายุ และผู้ที่ต้องใช้ Wheel Chairs การทาตราสัญลักษณ์บอกชื่อถนนและการเพิ่มพื้นที่ทางเดิน 3. การก่อสร้างอาคารใหม่ที่มีสถาปัตยกรรมสอดคล้องกับสถาปัตยกรรมเชิงอนุรักษ์ และให้ มีการควบคุมการออกแบบหน้าตาอาคารสมัยใหม่ โดยมีการออกเทศบัญญัติควบคุม โครงการหรือกิจกรรมที่ได้ดาเนินการมา โครงการหรือกิจกรรมที่กลุ่มภาคีฯ ได้ดาเนินการ มีขอบเขตคือ การทากิจกรรมจะต้องไม่ออก นอกเขตเมืองเก่า เนื่องจากในสงขลามีกลุ่มหรือชมรมที่เป็นภาคประชาสังคมจานวนมาก หากดาเนินการ นอกเขตเมืองเก่า อาจไปกระทบหรือซ้าซ้อนกับกลุ่มอื่น อีกทั้งนอกเขตเมืองเก่าเป็นบริบทที่กลุ่มภาคีฯ ไม่คุ้นเคย แต่ถ้าหากมีกลุ่มประชาสังคมอื่นที่สนใจเรื่องเมืองเก่า ทางภาคีฯ ก็ยินดีเป็นตัวนาในการ ขับเคลื่อนและสนับสนุน โดยโครงการและกิจกรรมที่ได้ดาเนินการมามีหลายรูปแบบ แต่ส่วนใหญ่เป็นไป เพื่อกระตุ้นและปลุกกระแสจิตสานึกให้คนในเมืองเก่าสงขลาได้มีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมและ โครงการต่างๆ ร่วมกัน ดังนี้ 1. โครงการ “ฉายภาพเก่า เล่าเรื่องแต่แรก” (ภาพที่ 10) มีเป้าหมายเพื่อปลูกจิตสานึกให้คน สงขลารักเมืองเก่า โดยการนาภาพเก่าที่เกี่ยวข้องกับเมืองสงขลามานาเสนอแก่สาธารณชน เช่น ในเทศกาลถนนคนเดิน (ภาพที่ 11) งานอนุรักษ์มรดกไทย งานเทศกาลเมืองเก่า เป็นต้น โดย เชิญนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์หรือผู้ที่เคยคุ้นเคยกับภาพเก่าเหล่านั้นมาตั้งวงเสวนา แลกเปลี่ยนความรู้และข้อคิดเห็น ผลปรากฏว่ามีผู้คนในเมืองให้ความสนใจเป็นอันมาก เนื่องจากเป็นภาพที่พวกเขา คุ้นเคย มีการพูดคุยถึงภาพร่วมกัน เป็นการย้อนจิตสานึกและสร้างความตระหนักถึงเรื่องราว ประวัติศาสตร์ที่มีค่า เกิดพื้นที่การเรียนรู้และสร้างจิตสานึกรักเมืองเก่าและประชาชนและ
  • 19. | 19 เยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม เป็นเวทีสร้างประวัติศาสตร์ท้องถิ่นรุ่นใหม่ ผู้คนนาภาพออกมาเสนอ อีกจานวนมาก ที่สาคัญภาพถ่ายเหล่านี้ยังช่วยประสานความสามัคคีระหว่างผู้คนในเมืองให้ เกิดขึ้นอีกด้วย 2. โครงการศูนย์การเรียนรู้นครสงขลา (Songkhla Smart Center) เป็นโครงการความร่วมมือ ระหว่างอุทยานการเรียนรู้ (TK Park) เทศบาลนครสงขลา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี วิชัย และบริษัท ปตท.สารวจและผลิตปิโตรเลียม เพื่อปรับปรุงอาคารโรงสีแดง หับ โห้ หิ้น บางส่วนเป็นศูนย์การเรียนรู้และห้องสมุด โดยรังสี รัตนปราการ ตั้งชื่อว่า “Reading Bride” ภาพที่ 10 โครงการ “ฉายภาพเก่า เล่าเรื่องแต่แรก” ภาพที่ 11 งานถนนคนเดินในสงขลา
  • 20. | 20 เป็นห้องอ่านหนังสือที่สามารถมองเห็นทะเลสาบและมีลานกิจกรรม เป็นโอกาสให้นักเรียนและผู้ ที่สนใจเข้ามาเรียนรู้เรื่องราวเก่าๆ ของสงขลา และเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ในวันที่เปิดศูนย์การเรียนรู้ ได้รับความสนใจจากเยาวชนจานวนมาก (ภาพที่ 12) และ ปัจจุบันยังมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ทางภาคีฯ ได้ร่วมกับ TK Park ผลิตหนังสือ ที่เกี่ยวกับเมืองเก่าทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษเพื่อเป็นสื่อให้เด็กและเยาวชนในการเรียนรู้ เรื่องราวของเมืองเก่าอีกด้วย 3. โครงการอบรมมัคคุเทศก์ เมืองเก่า เป็นโครงการที่ภาคีฯ ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา และเทศบาลนครสงขลา จัดอบรมผลิตมัคคุเทศก์จานวน 80 คน เนื่องจากเทศบาลนครสงขลา เห็นว่างานมัคคุเทศก์มีความสาคัญต่อการรองรับการท่องเที่ยวที่กาลังจะเกิดขึ้นในย่านเมืองเก่า สงขลา โดยคนที่สามารถเป็นมัคคุเทศก์ได้จริง มีจานวน 15 คน ส่วนที่เหลือนั้นคือคนในเมืองที่ ต้องการเรียนรู้เรื่องเมืองเก่าทั้งเด็กและผู้ใหญ่ โครงการนี้ได้รับได้รับความสนใจตั้งแต่รุ่นแรก ซึ่ง เป็นผลดีที่ทาให้คนในเมืองได้รับข้อมูลประวัติศาสตร์ชุดเดียวกับของภาคีฯ ปัจจุบันผู้ที่ผ่านการ อบรมฯ ได้ตั้งกลุ่มชื่อว่า “กลุ่มมัคคุเทศก์เมืองเก่าสงขลา” เพื่อดาเนินกิจการท่องเที่ยวสร้างสรรค์ นอกจากนี้เทศบาลนครสงขลายังได้สนับสนุนจัดซื้อรถรางเพื่ออานวยความสะดวกด้านการ ท่องเที่ยวด้วย 4. โครงการเทศดนตรี และเทศกาลละคร เป็นโครงการที่ได้รับการสนุนงบประมาณจากจังหวัด ผ่านสานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสงขลา และมหาวิทยาลัยในพื้นที่ทั้ง 3 มหาวิทยาลัย โดยจัดให้มีกิจกรรมการแสดงละครและดนตรีสม่าเสมอ โดยใช้สถานที่โรงสีแดง หับ โห้ หิ้น ในการจัดแสดง เช่น เทศกาลดนตรีเพลงของพ่อที่จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี โดยมีผู้ ประสานงานหลักคือ อาจารย์สืบสกุล ศรีสุข ผู้อานวยการภาคีฯ นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมละคร ภาพที่ 12 กิจกรรมในศูนย์การเรียนรู้นครสงขลา
  • 21. | 21 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเพื่อสร้างความคึกคักและรื่นรมย์ให้กับเมือง (ภาพที่ 13) ปัจจุบันผู้ว่าราชการจังหวัดมอบหมายให้ภาคีฯ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด สงขลาและเทศบาลนครสงขลา จัดกิจกรรมในวันอาทิตย์ที่สองของทุกเดือนในธีม หลาดสองเล เก๋าเท่ ริมชายหาด 5. โครงการ Street Art เป็นโครงการสร้างสรรค์เพื่อคนรุ่นใหม่ ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สานักงานการท่องเที่ยวฯ และร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมงคลศรีวิชัย รับผิดชอบโครงการ โดยอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญทางศิลปะ จัดให้มีจุดสาหรับ Street Art ตามฝาผนังในย่านเมืองเก่า โดยนาวิถีชีวิตของผู้คนในเมืองเก่าและเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์มาเป็นแรงบันดาลใจในการ สร้างสรรค์ ดังนี้ - Street Art ภาพที่ 1 เป็นภาพของเด็กน้อยและทหารญี่ปุ่น (ภาพที่ 14) สมัยที่เข้ามายึด โรงสีแดง ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 และเปลี่ยนโรงสีแดงเปิดเป็นโรงพยาบาล ซึ่ง นายทหารคนดังกล่าวอาจจะจะคิดถึงลูกหลาน จึงขอถ่ายภาพกับเด็กชาย ซึ่งเด็กชายใน ภาพ คือ คุณรังสี รัตนปราการ ตอนอายุ 9 ขวบ โดยภาพนี้วาดอยู่ที่หน้าสานักงานภาคีฯ ดังนั้นในวันที่ภาคี ฯ เปิดทางาน จะไม่มีใครเห็นภาพดังกล่าว แต่หากภาคี ฯ ปิดอยู่ จะเห็น ภาพนี้เป็นเสมือนตัวแทนคุณรังสีที่ต้อนรับผู้มาเยือน ภาพที่ 13 โครงการเทศดนตรี และเทศกาลละคร
  • 22. | 22 - Street Art ภาพที่ 2 ภาพสื่อความหมายของโรงสีแดง แสดงประติกรรมรูปปั้นคนแบก ข้าวสาร 2 คนแบกข้าวสารขึ้นและลงเรือสาเภา (ภาพที่ 15) คนแรกเลียนแบบคนทางานใน โรงสี คนที่สอง ที่สวมรองเท้าบู๊ต เป็นนายทหารญี่ปุ่นมาแบกข้าวสารไปเป็นเสบียงในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งภาพดังกล่าวสามารถสะท้อนความอุดมสมบูรณ์สมัยที่โรงสีแดงยัง ค้าข้าว และสามารถถ่ายทอดประวัติศาสตร์สู่คนรุ่นหลังได้อย่างเด่นชัด ภาพที่ 15 ภาพที่ 14 ภาพ street art ทหารญี่ปุ่นและคุณรังสีสมัยเด็ก ภาพที่ 15 ภาพ Street Art รูปปั้นคนแบกข้าวสาร
  • 23. | 23 - Street Art ภาพที่ 3 ภาพดังกล่าวยังวาดไม่เสร็จสมบูรณ์ เป็นภาพบรรยากาศร้านน้าชาใน อดีต ชื่อร้านว่า “ฟุเจา” (ภาพที่ 16) ที่ผู้คนมักจะมานั่งพูดคุยกัน โดยในภาพประกอบไป ด้วย คนปั่นสามล้อ คุณครู และเถ้าแก่ เป็นเพื่อนที่มาแลกเปลี่ยนข่าวสารกัน ปัจจุบันภาพนี้ ได้กลายเป็น Land mark ของเมืองที่ผู้คนที่มาสงขลาต้องมาถ่ายรูปด้วย นอกจากการจัด Street Art แล้ว ยังมีกิจกรรมต่างๆ ในช่วงเย็นที่จัดเป็นถนนคนเดินของเมือง มี ร้านรวงมากมายเพื่อกระตุ้นสีสันและเศรษฐกิจเมือง (ภาพที่ 17) ภาพที่ 16 ภาพ street art บรรยากาศร้านน้าชาในอดีต ภาพที่ 17 ถนนคนเดินงาน street art
  • 24. | 24 (กล่องที่ 1 ) โรงสีแดง หับ โห้ หิ้น โรงสีแดงแห่งนี้มีบทบาทอย่างยิ่งให้เมืองเก่าสงขลา ปัจจุบันกลายมาเป็นพื้นที่รับแขกบ้านแขก เมือง เป็นศูนย์กลางการจัดกิจกรรมในเมืองเก่าสงขลาทุกประเภท เช่น คอนเสิร์ต ศูนย์การเรียนรู้เมือง เก่า งานฉลองวันเกิดเมือง การจัด Street Art เป็นต้น โรงสีแดงขนาดใหญ่นี้จึงเป็นเสมือนสัญลักษณ์ของ เมืองสงขลา ผู้คนที่มาส่งขลามักจะแวะเวียนเข้ามาถ่ายรูปมากมาย นอกจากจะเป็นพื้นที่จัดกิจกรรมแล้ว คุณรังสี รัตนปราการ เจ้าของโรงสีแดงยังได้ยกพื้นที่ใน โรงสีบางส่วนให้เป็นสานักงานของภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคมเพื่ออานวยความสะดวกให้ทีมงานได้มีที่ ทางานเป็นหลักแหล่งด้วย ประวัติความเป็นมาของโรงสีแดง คุณรังสีเล่าว่า “ชาวบ้านเรียกโรงสีแดง เนื่องจากโรงสีทาสีแดง มาตลอด ชื่อภาษาจีนของโรงสี คือ หับ โห้ หิ้น เป็นคำมงคลของชำวจีน คำว่ำ หับ โห้ หิ้น เป็นกำร ออกเสียงตำมสำเนียงจีนฮกเกี๊ยน หมำยถึง ควำมสำมัคคี ควำมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ควำม เจริญรุ่งเรือง โรงสีแดง หับ โห้ หิ้น เป็นอาคารไม้ อายุ 102 ปี การที่โรงสีสามารถยังตั้งอยู่ได้ เพราะโครงสร้าง ถูกวางไว้อย่างแข็งแรง มีปล่องไฟ ใช้อิฐทนไฟจากอินเดีย มีความแข็งแรง สังกะสีมีความหนา เพื่อ รองรับเครื่องจักรไอน้าที่ใช้ในการผลิตข้าว ในสงขลามีโรงสีเพียง 6-7 แห่ง ที่ก่อสร้างโดยรองรับ เครื่องจักรไอน้า ซึ่งโรงสีแดงนี้ เป็นโรงสีแห่งแรกที่ใช้เครื่องจักรสมัยใหม่จากอังกฤษ ในช่วงหนึ่งของประวัติศาสตร์ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทหารญี่ปุ่นได้ยึดโรงสีแดงเป็น สถานพยาบาล ทาให้โรงสีแดงได้รอดพ้นระเบิดจากกองทัพญี่ปุ่นได้และยังคงอยู่มาจนถึงปัจจุบัน”