SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
รายงานโครงงานสารวจ
เรื่อง ยาเสพติด
เสนอ
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
จัดทำโดย
1.นำงสำวณัฐณิชำ จันทร์สนอง เลขที่ 14
2.นำงสำวธนพร หนูเกตุ เลขที่ 15
3.นำงสำวเนตรนรินทร์ สืบกลัด เลขที่ 16
4.นำงสำวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล เลขที 17
5.นำงสำวพิมพ์นิภำ วิศิษฏ์รัฐพงศ์ เลขที่ 23
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/2
รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำ IS2
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กำญจนบุรี
ภำคเรียนที่ 2ปีกำรศึกษำ 2557
ก
คานา
โครงงำนฉบับนี้ เป็ นส่วน หนึ่ งของวิชำIS 2 ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 5 โดยมีจุดประสงค์
เพื่อกำรศึกษำควำมรู้เกี่ยวกับยำเสพติดซึ่งยำเสพติดโดยได้นำโพลผลสำรวจจำกเว็บไซต์มำวิเครำะห์
ผ ล โ ค ร ง ง ำ น นี้ มี เ นื้ อ ห ำ เ กี่ ย ว กับ ค ว ำ ม รู้ จ ำ ก ย ำ เส พ ติ ด ผ ล ก ร ะ ท บ
สำเหตุและวิธีป้องกันผู้คนในสังคมมำเผยแพร่ผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนี้ในกำรทำรำยงำนเนื่องมำจำกเ
ป็ น เ รื่ อ ง ที่ น่ ำ ส น ใ จ
รวมถึงเป็นกำรช่วยป้องกันรณรงค์ให้แก้ผู้คนในสังคมทั่วไปได้ศึกษำผู้จัดทำจะต้องขอขอบคุณครูท
ร ง ศั ก ดิ์ โ พ ธิ์ เ อี่ ย ม
ผู้ให้ควำมรู้และแนวทำงกำรศึกษำเพื่อนๆทุกคนที่ให้ควำมช่วยเหลือมำโดยตลอดผู้จัดทำหวังว่ำรำย
งำนฉบับนี้จะให้ควำมรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่ำนทุกๆ ท่ำน
ผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกาศ
โ ค ร ง ง ำ น IS2 เ รื่ อ ง
ยำเสพติดสำเร็จลุล่วงได้ด้วยควำมกรุณำและควำมช่วยเหลืออย่ำงสูงยิ่งจำก คุณครูทรงศักดิ์
โพธิ์เอี่ยมที่ปรึกษำโครงงำนและคุณครูประจำวิชำที่ได้กรุณำให้คำปรึกษำแนะนำ ตรวจสอบแก้ไข
ข้อพกพร่องทุกขั้นตอนของกำรจัดทำโครงงำน คณะผู้จัดทำโครงงำนขอขอบพระคุณเป็นอย่ำงสูง
ข อ ข อ บ พ ร ะ คุ ณ บิ ด ำ ม ำ ร ด ำ เ พื่ อ น นั ก เ รี ย น
ต ล อ ด จ น ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ทุ ก ท่ ำ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก ล่ ำ ว น ำ ม ไ ว้ ณ ที่ นี้
ที่ได้ให้กำลังใจและมีส่วนช่วยเหลือให้โครงงำนฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คำนำ...........................................................................................................................................................................ก
กิตติกรรมประกำศ..................................................................................................................................................ข
สำรบัญ......................................................................................................................................................................ค
บทที่ 1.........................................................................................................................................................................1
1.1ที่มำและควำมสำคัญ ....................................................................................................................................1
3.กำรมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว กำรเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนต่ำงๆ
ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงควำมเป็นไปได้ของสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นในอนำคต........2
เงื่อนไข..................................................................................................................................................................2
1.เงื่อนไขควำมรู้ เพื่อให้รู้จักและหลีกเลี่ยงกำรใช้สำรเสพติด
และป้องกันตัวเองได้ในสถำนกำรณ์ที่ฉุกเฉินเพื่อให้รู้โทษของยำเสพติดโดยกำรนำควำมรู้มำเชื่อ
มโยงวำงแผนในกำรใช้ชีวิต.............................................................................................................................2
2.เงื่อนไขคุณธรรม มีควำมตระหนักใน คุณธรรม มีควำมซื่อสัตย์สุจริตและมีควำมอดทน
มีควำมเพียร ใช้สติปัญญำในกำรดำเนินชีวิต ...............................................................................................2
1.3วัตถุประสงค์ ..................................................................................................................................................2
1.3.1เพื่อให้รู้จักและหลีกเลี่ยงกำรใช้สำรเสพติด........................................................................................2
1.3.2เพื่อให้รู้โทษของยำเสพติด......................................................................................................................2
1.4ผลที่คำดว่ำจะได้รับ......................................................................................................................................2
1.5ขอบเขตของกำรศึกษำ .................................................................................................................................2
1.6คำนิยำมศัพท์..................................................................................................................................................3
ง
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง...................................................................................................................................................3
2.1 ยำเสพติดให้โทษ คือ อะไร.......................................................................................................................3
2.2กำรใช้ยำเสพติดมีอันตรำย..........................................................................................................................3
2.3จะสังเกตุอำกำรผู้ติดยำเสพติด...................................................................................................................4
2.4จะสังเกตุอำกำรคนเมำยำบ้ำ .......................................................................................................................4
2.5ถ้ำบุตรหลำนหรือบุคคลในครอบครัวของท่ำนติดยำเสพติด .............................................................5
2.6หำกผู้ปกครองปล่อยปละละเลยให้บุตรหลำนเสพยำเสพติดให้โทษผู้ปกครองมีควำมผิด.........5
2.7ท่ำนหรือบุตรหลำนของท่ำนไม่ยินยอมให้ตรวจปัสสำวะได้หรือไม่และมีโทษหรือไม่.............6
2.8สถำนประกอบกำรประเภทใดที่อยู่ภำยใต้บังคับกฎหมำยเกี่ยวกับยำเสพติด
และต้องปฏิบัติตำมกฎหมำย............................................................................................................................7
2.9หำกพบกำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดในสถำนประกอบกำรเจ้ำของสถำนประกอบกำร
มีควำมรับผิดตำมกฎหมำยยำเสพติด..............................................................................................................8
2.10ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดได้.......................................................................8
บทที่3.........................................................................................................................................................................9
วัสดุอุปกรณ์/วิธีดำเนินงำน...................................................................................................................................9
3.1วัสดุอุปกรณ์ ...................................................................................................................................................9
3.2วิธีดำเนินงำน.................................................................................................................................................9
ตำรำงกำรปฏิบัติงำน :30 พ.ย.57–20 มี.ค.58.............................................................................................10
ตำรำงที่1.ในปัจจุบันมองว่ำปัญหำยำเสพติดกับวัยรุ่นนั้นรุนแรงอยู่ในระดับใด..............................10
ตำรำงที่ 2...........................................................................................................................................................11
ตำรำงที่ 3
.เชื่อว่ำจะมีกำรวิสำมัญฆำตกรรมโดยเจ้ำหน้ำที่รัฐแต่อ้ำงว่ำเป็นกำรฆ่ำตัดตอนในหมู่ผู้ค้ำยำเสพติ
ดกันเองหรือไม่................................................................................................................................................12
จ
ตำรำงที่
4.ควำมเชื่อมั่นในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดของรัฐบำลนำงสำวยิ่งลักษณ์ชินวัตรอยู่ในระดับใด13
ตำรำงที่ 5 .ค่ำคะแนนควำมพึงพอใจ
ในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดภำพรวมของรัฐบำลเปรียบเทียบระหว่ำงสำมรัฐบำล (คะแนนเต็ม
10).......................................................................................................................................................................14
บทที่ 4......................................................................................................................................................................15
อภิปรำยผลกำรทดลอง........................................................................................................................................15
4.2จำแนกตำมแหล่งที่มำ ...............................................................................................................................16
4.3บทบำทของสถำบันครอบครัว................................................................................................................17
4.4บทบำทของสถำบันชุมชน.......................................................................................................................17
4.5บทบำทของโรงเรียน.................................................................................................................................17
4.6บทบำทของสถำบันศำสนำ .....................................................................................................................17
บทที่ 5......................................................................................................................................................................19
สรุปผล อภิปรำยและข้อเสนอแนะ...................................................................................................................19
ข้อเสนอแนะ.....................................................................................................................................................19
บรรณำนุกรม.........................................................................................................................................................20
สภ.อรัญประเทศ สระแก้วโทษและพิษภัย ของยำเสพติด ตอนที่ 1..........................................................20
ตัวอย่ำงกำรเขียนโครงงำน 5บท.............................................................................................................20
ฉ
สารบัญภาพ
เรื่อง หน้า
รูปภำพที่ 2.1. 1. 1....................................................................................................................................................6
รูปภำพที่ 2.1. 1. 2....................................................................................................................................................6
บทที่ 1
1.1ที่มาและความสาคัญ
ปัจจุบันในประเทศของเรำได้มีกำรใช้สำรเสพติดอย่ำงแพร่หลำยมำกด้วยควำมอยำกรู้อยำก
ลอง ของ วัยรุ่น ใน สมัยนี้ ทำให้ซึ่ งทำลำยควำมมั่น คงของช ำติและ สังคมอย่ำงมำก
เด็กเสียอนำคตสำรเสพติดเป็นสำรที่สังเครำะห์ขึ้นเมี่อนำเข้ำสู่ร่ำงกำย ไม่ว่ำจะโดยวิธีรับประทำน
ด ม สู บ ฉี ด
หรือด้วยวิธีกำรใดๆแล้วทำให้เกิดผลต่อร่ำงกำยและจิตใจนอกจำกนี้ยังจะทำให้เกิดกำรเสพติดได้หำ
ก ใ ช้ ส ำ ร นั้ น เ ป็ น ป ร ะ จ ำ ทุ ก วั น ห รื อ วั น ล ะ ห ล ำ ย ๆ
ครั้งปัญหำยำเสพติดมิได้เกิดแต่เฉพำะประชำกรในวัยแรงงำนเท่ำนั้นปัญหำนี้ยังเกิดขึ้นกับบุคคลใน
วัย เ รี ย น ด้ ว ย เ ช่ น กั น ปั ญ ห ำ ก ำ ร แ พ ร่ ร ะ บ ำ ด ข อ ง ย ำ เ ส พ ติ ด
ของเยำวชนในสถำนศึกษำมีแนวโน้มสูงขึ้นรวมทั้งนิดของยำเสพติดก็มีควำมร้ำยแรงเพิ่มขึ้นตำมลำ
ดับ จำกสถิตินักเรียนนักศึกษำทีเข้ำรับกำรบำบัดรักษำยำเสพติดทั่วประเทศในระยะเวลำ 5 ปี
ที่ผ่ำนมำพบว่ำ ปัญหำยำเสพติดในสถำนศึกษำมีควำมรุนแรงเพิ่มมำกขึ้นทุกปี จะเห็นได้จำกช่วงปี
พ.ศ.2535-2539นักเรียนนักศึกษำเข้ำรับกำรบำบัดรักษำยำเสพติดเพิ่มขึ้นทุกปี คือ 447คน,747 คน,
1,401 ค น , 3,090 ค น แ ล ะ 4,261 ค น ต ำ ม ล ำ ดั บ
( ส ำ นั ก ง ำ น ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร ำ บ ป ร ำ ม ย ำ เ ส พ ติ ด
2538:1)จำกสถิติกำรติดตำมแก้ไขปั ญห ำยำเสพติดในสถำน ศึกษำของฝ่ ำยสำรเสพ ติด
ก อ ง ส ำร วัต ร นั ก เรี ย น ก รมพ ล ศึ ก ษ ำ ใ น ปี ง บ ป ร ะ มำณ พ .ศ .2540 พ บ ว่ำ
ระ ดับ กำรศึก ษำมัธยมศึกษ ำตอ น ต้น แล ะ ตอ น ปล ำยจน ถึง ระ ดับ อำชีวศึ กษ ำ
ส่วนมำกกำรเริ่มใช้สำรเสพติดจะเริ่มจำกบุหรี่กัญชำ สำรระเหยมอร์ฟิ่น
กลุ่มของข้ำพเจ้ำจึงคิดค้นที่จะช่วยกันแก้ไขปัญหำนับว่ำเป็นกำรสูญเสียทั้งทำงด้ำนเศรษฐกิจสังคม
แ ล ะ ก ำ ร ป ก ค ร อ ง เ พ ร ำ ะ น อ ก จ ำ ก ผู้ เ ส พ ย ำ เ ส พ ติ ด ทั้ ง ห ล ำ ย
จะ ได้สำมำรถป ระ กอบ อำชี พ ท ำกำรง ำน ต่ำง ๆ ไม่ได้แล้วยังก่ออำช ญ ำกรรม
ทำให้เกิดปัญหำต่อสังคม กระทบกระเทือนต่อประชำชนผู้ไม่ได้เสพยำเสพติดอีกด้วย
1.2 การบูรณการการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแก้ปัญหายาเสพติด
2
1.คว ามพอประมาณ ไม่เบียดเบียน ผู้อื่น โดยใช้ควำมต้องกำรของตัวเองเป็ น ห ลัก
ไม่เบียดเบียนและทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน
2.ความมีเหตุผล ตัดสิน ใจอย่ำงมีเห ตุผลคิดอย่ำงมีสติตัดสิ นใจอย่ำงมีเห ตุผลคิดให้
รอบคอบและคิดถึงผลกระทบที่จะตำมมำ
3.การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว กำรเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนต่ำงๆ
ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงควำมเป็นไปได้ของสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นในอนำคต
เงื่อนไข
1.เงื่อนไขความรู้ เพื่อให้รู้จักและหลีกเลี่ยงกำรใช้สำรเสพติด
และป้องกันตัวเองได้ในสถำนกำรณ์ที่ฉุกเฉินเพื่อให้รู้โทษของยำเสพติดโดยกำรนำควำมรู้มำเชื่อมโ
ยงวำงแผนในกำรใช้ชีวิต
2.เงื่อนไขคุณธรรม มีควำมตระหนักใน คุณธรรม มีควำมซื่อสัตย์สุจริตและมีควำมอดทน
มีควำมเพียร ใช้สติปัญญำในกำรดำเนินชีวิต
1.3วัตถุประสงค์
1.3.1เพื่อให้รู้จักและหลีกเลี่ยงกำรใช้สำรเสพติด
1.3.2เพื่อให้รู้โทษของยำเสพติด
1.4ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.4.1 รู้จักกำรป้องกันตนเองเกี่ยวกับยำเสพติด
1.4.2 ได้ทรำบถึงข้อมูลและโทษของกำรยำเสพติดผลอันตรำยต่ำงๆที่ตำมมำที่เกิดจำกกำรติดยำ
1.5ขอบเขตของการศึกษา
สำรวจ ภำยใน“กลุ่มนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กำญจนบุรี”
3
1.6คานิยามศัพท์
นักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กำญจนบุรี
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 ยาเสพติดให้โทษ คืออะไร
ยำเสพติดให้โทษตำมควำมหมำยของ พ.ร.บ.ยำเสพติดให้โทษพ .ศ.2552 หมำยถึง
สำรเคมีห รือวัตถุชนิดใดๆซึ่งเมื่อเสพเข้ำสู่ร่ำงกำยไม่ว่ำจะโดยรับประทำน ดม สูบ ฉีด
หรือด้วยประกำรใดๆ แล้วทำให้เกิดผลต่อร่ำงกำยและจิตใจใน ลักษณะสำคัญ เช่น
ต้ อ ง เ พิ่ ม ข น ำ ด ก ำ ร เ ส พ เ รื่ อ ย ๆ มี อ ำ ก ำ ร ถ อ น ย ำ เ มื่ อ ข ำ ด ย ำ
มีค ว ำม ต้ อ ง ก ำร เ ส พ ทั้ ง ร่ำ ง ก ำ ย แ ล ะ จิ ต ใ จ อ ย่ำ ง รุ น แ ร ง อ ยู่ต ล อ ด เ ว ล ำ
และสุขภำพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลงจนถึงขั้นเสียชีวิต
2.2การใช้ยาเสพติดมีอันตราย
กำรใช้ยำเสพติดมีอันตรำยต่อสุขภำพ ดังต่อไปนี้
2.2.1ทำลำยสุขภำพให้ทรุดโทรม น้ำหนักลด ผิวคล้ำ ร่ำงกำยซูบผอม
2.2.2เป็นบุคคลไร้สมรรถภำพทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจ อำรมณ์ไม่ปกติ เฉี่อยชำเกียจคร้ำน
2.2.3เสียบุคลิกภำพ ขำดควำมสนใจในตัวเองมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจำกเดิม
2.2.4อำจประสบอุบัติเหตุได้ง่ำยเพรำะกำรควบคุมทำงกล้ำมเนื้อและระบบประสำทบกพร่อง
2.2.5เกิดโรคแทรกซ้อนได้ง่ำยเพรำะควำมต้ำนทำนโรคน้อย ติดเชื้อง่ำย
4
2.3จะสังเกตุอาการผู้ติดยาเสพติด
ยำเสพติดเมื่อเกิดกำรเสพติดแล้ว
จะมีผลกระทบต่อร่ำงกำยและจิตใจซึ่งทำให้ลักษณะและควำมประพฤติของผู้เสพเปลี่ยนไปจำกเดิม
ที่อำจสังเกตพบได้คือ
2.3.1ร่ำงกำยทรุดโทรม ซูบผอม
2.3.2อ ำ ร ม ณ์ ฉุ น เ ฉี ย ว
หรือเงียบขรึมผิดปกติจึงมักพบผู้เสพติดชอบทะเลำะวิวำทหรือทำร้ำยผู้อื่นหรือในทำงกลับกันบำงค
นอำจชอบแยกตัวอยู่คนเดียวและหนีออกจำกพรรคพวกเพื่อนฝูง
2.3.3ถ้ำผู้เส พ เป็ น นั ก เรี ยน มัก พ บ ว่ำผ ล ก ำร เรี ยน แ ย่ล ง ถ้ำเ ป็ น ค น ท ำง ำ น
มักพบว่ำประสิทธิภำพในกำรทำงำนลดลงหรือไม่ยอมทำงำนเลย
2.3.4ใ ส่ เ สื้ อ แ ข น ย ำ ว ต ล อ ด เ ว ล ำ
เพื่อปกปิดรอยเข็มที่ฉีดยำตรงท้องแขนด้ำนในหรือรอยกรีดตรงต้นแขนด้ำนใน
2.2.5ติดต่อกับเพื่อนแปลกๆ ใหม่ๆซึ่งมีพฤติกรรมผิดปกติ
2.2.6ขอเงินจำกผู้ปกครองเพิ่ม หรือยืมเงินจำกเพื่อนฝูงเสมอเพื่อนำไปซื้อยำเสพติด
2.3.7 ขโมย ฉกชิง วิ่งรำว เพื่อหำเงินไปซื้อยำเสพติด
2.3.8ผู้ติดยำเสพติดบำงชนิด เช่นเฮโรอีน จะมีอำกำรอยำกยำบำงคนจะมีอำกำรรุนแรงถึงขั้นลงแดง
2.4จะสังเกตุอาการคนเมายาบ้า
ผู้ ที่ เ ส พ ย ำ บ้ ำ เ ป็ น ป ร ะ จ ำ
จะส่งผลให้ผู้เสพมีระบบประสำทผิดปกติเมื่อถึงจุดหนึ่งจะเกิดอำกำรหูแว่ว ประสำทหลอน
ห ว ำ ด ร ะ แ ว ง จ น เกิ ด ค ว ำ ม เค รี ย ด คิ ด ว่ำ จ ะ มี ค น ม ำ ฆ่ ำ ห รื อ ท ำ ร้ ำ ย
บ ำง รำย ก ลัวม ำก ต้อ ง ห ำอ ำวุธ ไ ว้ป้ อ ง กัน ตั วห รื อ ค ลุ้ม ค ลั่ง จับ ตัวป ระ กัน
ซึ่งอำจสังเกตอำกำรของคนเมำยำบ้ำ ได้ดังนี้
5
2.4.1อยู่ไม่สุข ลุกลี้ลุกลน กระสับกระส่ำย
2.4.2หวำดกลัว และระแวงอยู่ตลอดเวลำ
2.4.3สีหน้ำเลื่อนลอยเหมือนคนไม่ได้นอนหลับพักผ่อน
2.3.4เนื้อตัวสกปรก มอมแมม
2.5ถ้าบุตรหลานหรือบุคคลในครอบครัวของท่านติดยาเสพติด
โ ด ยห ลัก ก ำร ต ำม พ .ร .บ .ฟื้ น ฟู ส มร รถ ภ ำพ ผู้ติ ด ยำเส พ ติ ด พ .ศ .2545
แล้วผู้เสพยำเสพติดมีสภำพเป็นผู้ป่วยอย่ำงหนึ่งมิใช่อำชญำกรปกติกำรฟื้นฟูสมรรถภำพของผู้ติดยำเ
สพติดจึงสมควรกระทำให้กว้ำงขวำง
ถ้ำบุตรหลำนหรือบุคคลในครอบครัวของท่ำนติดยำเสพติดท่ำนสำมำรถช่วยเหลือบุคคลเหล่ำ
นั้ น ได้ก่อน ถูกจับ กุมดำเนิ น คดีโดยขอรับคำป รึกษ ำจำกส ถำน ที่ใ ห้ คำปรึ กษ ำ
และบำบัดรักษำผู้ติดยำเสพติดได้แก่โรงพยำบำลของรัฐ เช่น รพ.ธัญญำรักษ์,รพ.พระมงกุฏเกล้ำ,
รพ.ตำรวจ,รพ.จุฬำลงกรณ์,รพ.รำชวิถี,รพ.ตำกสิน, รพ.ทหำรผ่ำนศึก ,รพ.นพรัตน์รำชธำนี
เป็นต้นโรงพยำบำลประจำจังหวัดทุกจังหวัด และศูนย์บำบัดรักษำยำเสพติดต่ำงๆ ฯลฯ
2.6หากผู้ปกครองปล่อยปละละเลยให้บุตรหลานเสพยาเสพติดให้โทษผู้ปกครองมีความผิด
ผู้ ป ก ค ร อ ง มี ห น้ ำ ที่ ต้ อ ง อุ ป ก ำ ร ะ เ ลี้ ย ง ดู
อบรมสั่งสอนดูแลเอำใจใส่เด็กในควำมปกครองให้ประพฤติตนให้เหมำะสมหำกผู้ปกครองรำยใดไ
ม่ดูแลเอำใจใส่เป็นเหตุให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรมีควำมประพฤติเสี่ยงต่อกำรกระทำควำมผิด
เช่น เสพยำเสพติดให้โทษ เป็นต้นผู้ปกครองอำจจะมีควำมผิดถึงรับโทษจำคุกไม่เกิน 3เดือน
หรือปรับไม่เกิน สำมหมื่นบำทหรือทั้งจำทั้งปรับตำม พ.ร.บ.ค้มครองเด็ก พ.ศ.2546มำตรำ 4,26,78
ประกอบกฎกระทรวงกำหนดเด็กที่เสี่ยงต่อกำรกระทำผิด พ.ศ.2549 ลงวันที่ 8 ส.ค.49
ผู้ปกครองจึงไม่ควรสนับสนุนหรือยินยอมให้บุตรหลำนของท่ำนเที่ยวเตร่ในสถำนที่ที่ไม่เหม
ำะสมเช่น สถำนบริกำรกลำงคืน สถำนที่เสี่ยงภัยต่ำงๆ
6
รูปภาพที่ 2.1. 1. 1
รูปภาพที่ 2.1. 1. 2
2.7ท่านหรือบุตรหลานของท่านไม่ยินยอมให้ตรวจปัสสาวะได้หรือไม่และมีโทษหรือไม่
บุคคลใดมีพฤติกำรณ์น่ำสงสัยว่ำเสพยำเสพติดเจ้ำพนักงำนมีอำนำจตรวจหรือทดสอบหรือสั่ง
ใ ห้ บุ ค ค ลใ ดรั บ กำรต รว จห รื อท ด ส อ บ ห ำส ำรเส พ ติ ดจ ำก ปั ส ส ำวะ ได้ต ำม
พ .ร .บ .ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร ำ บ ป ร ำ ม ย ำ เ ส พ ติ ด พ .ศ .2519 ม ำ ต ร ำ 14
ทวิประกอบประ กำศคณะกรรมกำรป้ องกัน และปรำบปรำมยำเสพ ติด ลง 11 ก.ค.43
เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์วิธีกำรและเงื่อนไขกำรตรวจหรือทดสอบว่ำบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดมีสำรเ
สพติดอยู่ในร่ำงกำยหรือไม่
บุคคลใดไม่ยินยอมให้ตรวจหรือทดสอบหำสำรเสพติดจำกปัสสำวะต้องรับโทษจำคุกไม่เกิน
หกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบำทตำมพ.ร.บ.ป้ องกันและปรำบปรำมยำเสพติด พ.ศ.2519
มำตรำ 16
7
ดังนั้นจึงควรระมัดระวังมิให้บุตรหลำนของท่ำนเข้ำไปเกี่ยวข้องกับยำเสพติดตำมสถำนบริกำร
ต่ำงๆโดยเด็ดขำด
2.8สถานประกอบการประเภทใดที่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด
และต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
มีสถำน ประกอบกำร 6 ประเภทที่อยู่ภำยใต้บังคับกฎหมำยเกี่ยวกับยำเสพติดตำม
พ .ร.บ .ป้ อ ง กัน แ ล ะ ป รำบ ป ร ำมย ำเส พ ติด พ .ศ .2519 มำตร ำ 13 ท วิ ป ระ ก อ บ
ป ร ะ ก ำ ศ ส ำ นั ก น ำ ย ก รั ฐ ม น ต รี ( พ .ศ .2543) ณ วั น ที่ 16 ส .ค .43
เรื่องกำหนดประเภทสถำนประกอบกำรที่อยู่ภำยใต้บังคับของมำตรกำรป้องกันและปรำบปรำมกำร
กระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดในสถำนประกอบกำร ได้แก่
2.8.1ปั๊มน้ำมัน
2.8.2ปั๊มก๊ำซ
2.8.3สถำนบริกำรต่ำงๆ
2.8.4ที่พักอำศัยในเชิงพำณิชย์ประเภท หอพัก อำคำรชุด หรือเกสเฮ้ำส์ ที่ให้ผู้อื่นเช่ำ
2.8.5โต๊ะบิลเลียตหรือสนุกเกอร์ ที่เก็บค่ำบริกำรจำกผู้เล่น
2.8.6โรงงำน
เจ้ำข อ ง ส ถ ำน ป ร ะ ก อ บ ก ำรทั้ ง 6 ป ระ เภ ท มีห น้ ำที่ ค วบ คุม ส อ ด ส่อ ง
ดูแลไม่ให้พนักงำนหรือบุคคลภำยนอกมำมั่วสุมกันกระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดในหรือบริเวณ
ส ถ ำ น ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร
และต้องจัดให้มีป้ ำยหรือประกำศเตือนเกี่ยวกับพิษภัยของยำเสพติดหรืออัตรำโทษตำมกฎหมำยเกี่ย
วกับยำเสพ ติด ตำม พ .ร.บ.ป้ องกัน และ ปรำบปรำม ยำเสพติดพ.ศ.2519 มำตรำ 13 ทวิ
ประ กอบ ประ กำศส ำนั กน ำยกรัฐมน ตรี (ฉ บับ ที่ 2) พ .ศ .2543 ณ วัน ที่ 16 ส.ค.43
เรื่องกำหนดมำตรกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดในสถำนประกอ
บกำร
8
ห ำก ปล่อยป ละ ล ะ เลยห รื อละ เว้น ไม่ติดป้ ำยห รือ ประ กำศ เตื อน ดัง ก ล่ำว
อำจถูกปรับเป็นเงินหนึ่งหมื่นบำทหรือสำมหมื่นบำท หรือห้ำหมื่นบำท แล้วแต่กรณี ตำมพ.ร.บ.
ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร ำ บ ร ำ ม ย ำ เ ส พ ติ ด พ .ศ .2519 ม ำ ต ร ำ 13
ตรีประกอบระเบียบคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติดว่ำด้วยกำรตักเตือนกำรเปรียบเ
ทียบปรับ และกำรปิดชั่วครำวสถำนประกอบกำรหรือกำรพักใช้ใบอนุญำตประกอบกำรพ.ศ.2545
ณ วันที่ 12 ธ.ค.45 ข้อ 17
2.9หากพบการกระทาความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการเจ้าของสถานประกอบการมี
ความรับผิดตามกฎหมายยาเสพติด
ถ้ำมีกำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดใน สถำน ประกอบกำรทั้ง 6 ประเภ ท
โดยเจ้ำของสถำนประกอบกำรไม่สำมำรถชี้แจงหรือพิสูจน์กำรใช้ควำมระมัดระวังได้สถำนประกอ
บ กำรนั้ น อ ำจถู ก สั่ ง ปิ ดชั่ว ครำวห รื อพั กใ ช้ใ บ อนุ ญ ำต มีก ำห น ด 7 วัน ต ำม
พ .ร .บ .ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร ำ บ ป ร ำ ม ย ำ เ ส พ ติ ด พ .ศ .2519 ม ำ ต ร ำ 13
ตรีประกอบระเบียบคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติดว่ำด้วยกำรตักเตือนกำรเปรียบเ
ทียบปรับและกำรปิดชั่วครำวสถำนประกอบกำรหรือกำรพักใช้ใบอนุญำต ประกอบกำรพ.ศ.2545
ณ วันที่ 12 ธ.ค.45 ข้อ 18
2.10ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดได้
ถ้ ำ พ บ แ ห ล่ ง จ ำ ห น่ ำ ย พั ก ย ำ มั่ ว สุ ม
หรือเสพยำเสพติดหรือเจ้ำหน้ำที่ของรัฐมีพฤติกำรณ์เกี่ยวข้องกับยำเสพติดท่ำนมีส่วนช่วยเหลือสังค
มในกำรป้องกันและปรำบปรำมได้โดยแจ้งให้หน่วยรำชกำรต่อไปนี้ทรำบ
9
บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์/วิธีดาเนินงาน
3.1วัสดุอุปกรณ์
3.1.1ลิคขวิด
3.1.2ดินสอ
3.2วิธีดาเนินงาน
3.2.1เขียนโครงเรื่องที่ศึกษำออกแบบวำงแผน
3.2.2สำรวจค้นคว้ำข้อมูลจำกแหล่งข้อมูลต่ำงๆและจำกนิด้ำโพล
10
3.2.3นำข้อมูลที่ได้จำกกกำรสำรวจค้นคว้ำมำทำโครงงำนตำมที่ได้วำงโครงเรื่องไว้
3.2.4นำข้อมูลที่ได้ บันทึก และจัดทำรูปเล่ม
ตารางการปฏิบัติงาน : 30พ.ย. 57– 20มี.ค.58
วันปฏิบัติ รำยกำรปฏิบัติ
30พ.ย. 57- 3 ธ.ค. 57 คิดชื่อเรื่องและวำงแผน
3 ธ.ค. 57-21ม.ค.58 ค้นคว้ำข้อมูลทั้งหมดจำกสถำนที่ในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ กำญจนบุรี
21 ม.ค.- 5 มี.ค. 58 จัดเรียบเรียงข้อมูลและจัดทำรูปเล่ม
ตรวจสอบข้อมูลและรูปเล่ม
นำเสนอ
ศูนย์สำรวจควำมคิดเห็นของประชำชน “นิด้ำโพล” สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์ (นิด้ำ)
สำรวจควำมคิดเห็นของประชำชน เรื่อง “ปัญยาเสพติดกับวัยรุ่น”
โดยสำรวจจำกประชำชนทั่วทุกภูมิภำคของประเทศ กระจำยทุกภูมิภำค ในช่วงอำยุ 15 - 27 ปี
จำนวน 1,104 หน่วยตัวอย่ำง โดยมีควำมคลำดเคลื่อนมำตรฐำนไม่เกินร้อยละ 3.64
ผลกำรสำรวจสรุปได้ดังนี้
ตารางที่1.ในปัจจุบันมองว่าปัญหายาเสพติดกับวัยรุ่นนั้นรุนแรงอยู่ในระดับใด
ระดับความรุนแรงของปัญหาย
าเสพติดในวัยรุ่น
ภูมิภาค
รวมกรุงเทพฯ
และปริมณฑล
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
ภาคใต้ ภาคเหนือ
1. มากที่สุด 21.3 22.6 16.8 23.0 16.3 53.26
11
2. ค่อนข้างมาก 21.0 17.8 23.7 17.8 19.8 37.14
3. ปานกลาง 23.3 23.3 19.8 17.4 16.3 7.79
4. ค่อนข้างน้อย 0.0 33.3 0.0 50.0 16.7 0.54
5. น้อย
6. ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ
0.0
0.0
28.6
28.6
28.6
28.6
14.3
14.3
28.6
28.6
0.63
0.63
รวม 20.9 21.2 19.5 20.7 17.7 100.0
3.1.1 ตารางในปัจจุบันมองว่าปัญหายาเสพติดกับวัยรุ่นนั้นรุนแรงอยู่ในระดับใด
ตารางที่2.กำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดนั้นรัฐบำลควรใช้มำตรกำรใดในกำรแก้ไขปัญหำ
(ตอบได้มำกกว่ำ 1 ข้อ)
มาตรการที่รัฐบาลควรใช้
ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
ภูมิภาค
กรุงเทพฯ
และปริมณฑ
ล
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
ภาคใต้ ภาคเหนือ
รวม
1. เพิ่มบทลงโทษ
2.
การรณรงค์ให้ความรู้/ประชาสัมพัน
ธ์
20.20
28.40
18.90
14.80
19.80
16.20
19.60
24.10
21.50
16.50
59.96
31.88
12
3. กระจายอานาจการจับกุม
(ตารวจบ้าน)
28.10 18.30 26.50 6.90 20.30 27.72
4. วิสามัญฆาตกรรมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ 5.50 42.70 16.40 6.40 29.10 9.96
5. ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 0.00 37.50 12.50 50.00 0.00 0.72
รวม 20.9 21.2 19.5 20.7 17.7 100.0
ตารางที่3
.เชื่อว่าจะมีการวิสามัญฆาตกรรมโดยเจ้าหน้าที่รัฐแต่อ้างว่าเป็นการฆ่าตัดตอนในหมู่ผู้ค้ายาเสพติด
กันเองหรือไม่
13
ตารางที่
4.ความเชื่อมั่นในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ชินวัตรอยู่ในระดับใด
ความเชื่อมั่นในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐ
บาลนางสาวยิ่งลักษณ์ชินวัตรอยู่ระดับใด
ภูมิภาค
รวมกรุงเทพฯ
และปริมณฑล
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
ภาคใต้ ภาคเหนือ
1. ปานกลาง 25.20 17.70 19.30 19.70 18.10 45.56
2. ค่อนข้างมาก 11.90 20.90 25.90 21.20 20.10 25.18
3. มากที่สุด 9.80 23.90 18.40 30.70 17.20 14.76
4. ค่อนข้างน้อย 33.80 22.10 13.00 20.80 10.40 6.97
5. น้อย 40.60 36.20 7.20 1.40 14.50 6.25
6. ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 7.10 42.90 7.10 28.60 14.30 1.27
รวม 20.9 21.2 19.5 20.7 17.7 100
การวิสามัญฆาตกรรมโดยเจ้าหน้าที่รัฐแ
ต่อ้างว่าเป็นการฆ่าตัดตอนในหมู่ผู้ค้ายาเ
สพติดกันเอง
ภูมิภาค
กรุงเทพฯ
และปริมณฑล
ภาคกลาง
ภาคตะวันออก
เฉียงเหนือ
ภาคใต้ ภาคเหนือ
14
ตารางที่ 5 .ค่าคะแนนความพึงพอใจ
ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดภาพรวมของรัฐบาลเปรียบเทียบระหว่างสามรัฐบาล (คะแนนเต็ม 10)
ความพึงพอใจในการแก้ไขปัญหายาเสพติดภาพรวมของรัฐบาล ค่าเฉลี่ย S.E
รัฐบาลพ.ต.ทดร.ทักษิณ ชินวัตร 7.70 1.87
1. มี ยอมรับไม่ได้
2. มี ยอมรับได้
18.90
25.80
19.30
26.70
27.00
19.10
18.40
9.10
16.40
19.10
3. ไม่มี 25.40 14.90 4.50 41.00 14.20
4. ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 13.40 20.70 10.40 34.10 21.30
รวม 20.9 21.2 19.5 20.7 17.7
15
รัฐบาลนายกนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 6.62 1.68
รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 6.08 1.71
3.1.5 ตารางค่าคะแนนความพึงพอใจ
ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดภาพรวมของรัฐบาลเปรียบเทียบระหว่างสามรัฐบาล
บทที่ 4
อภิปรายผลการทดลอง
จำกผลกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดทุกยุคทุกสมัยมีลักษณะกำรแก้ไขปัญหำที่ปลำยเหตุ
ก ำ ร ติ ด ย ำ เ ส พ ติ ด เ กิ ด จ ำ ก ก ำ ร ที่ เ ด็ ก อ ย ำ ก ล อ ง อ ย ำ ก รู้ ต ำ ม เ พื่ อ น
16
แ ล ะ ร ว ม ไ ป ถึ ง ก ำ ร ดู แ ล ใ ห้ ค ว ำ ม รั ก กั บ ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว
สภำวะสิ่งแวดล้อมล้วนมีผลทั้งหมดเมื่อเด็กอยำกลองอยำกรู้จึงทำให้เด็กติดสำรเสพติด
เพรำะฉะนั้นเรำจึงให้ควำมรู้เกี่ยวกับสำรเสพติดว่ำมีโทษและไม่ดีอย่ำงไรและช่วยกันแก้ไข
4.1ประเภทของยาเสพติด
จาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท
4.1.1ประเภ ทกดประสำท ได้แก่ฝิ่ น มอร์ฟี น เฮโรอีน ยำนอนห ลับ ยำระงับประสำท
ยำกล่อมประสำท เครื่องดื่มมึนเมำบำร์บิทูเรต ทุกชนิด รวมทั้ง สำรระเหยเช่น ทินเนอร์ แล็กเกอร์
น้ำมันเบนซิน กำวเป็นต้น มักพบว่ำผู้เสพติดมีร่ำงกำยซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้ งซ่ำน
อำรมณ์เปลี่ยนแปลงง่ำย
4.1.2ประเภทกระตุ้นประสำท ได้แก่ยำบ้ำ ยำไอซ์ ยำอี กระท่อม โคเคน เครื่องดื่มคำเฟอีน
มักพ บว่ำผู้เสพ ติด จะ มีอำกำร ห งุดห งิด กระ วน กระ วำย จิตสับสน ห วำดระ แ วง
บำงครั้งมีอำกำรคลุ้มคลั่ง หรือทำในสิ่งที่คนปกติ ไม่กล้ำทำ เช่น ทำร้ำยตนเอง หรือฆ่ำผู้อื่น เป็นต้น
4.1.3ประเภทหลอนประสำท ได้แก่แอลเอสดี เห็ดขี้ควำย ดี.เอ็ม.ที.และ ยำเค เป็ น ต้น
ผู้ เ ส พ ติ ด จ ะ มี อ ำ ก ำ ร ป ร ะ ส ำ ท ห ล อ น ฝั น เ ฟื่ อ ง หู แ ว่ ว
ได้ยิน เสียงประห ลำดห รือเห็ น ภำพ ห ลอน ที่น่ำเกลียดน่ำกลัว ควบคุมตน เองไม่ได้
ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต
4.1.4ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสำน คือทั้งกระตุ้นกดและหลอนประสำทร่วมกัน ผู้เสพติดมักมี
อำกำรหวำดระแวง ควำมคิดสับสน เห็นภำพลวงตำ หูแว่ว
ควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิตได้แก่ กัญชำ
4.2จาแนกตามแหล่งที่มา
4.2.1จำกธรรมชำติ เช่นฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชำ ฯลฯ
4.2.2จำกกำรสังเครำะห์ เช่นเฮโรอีน แอมเฟตำมีน ยำอี เอ็คตำซี ฯลฯ
 การป้ องกันปัญหายาเสพติด
17
สถำบันทำงสังคมควรต้องมีบทบำทหน้ำที่สำคัญในกำรป้ องกันปัญหำนี้พอจะแยกบทบำทหน้ำที่ใน
กำรป้องกันปัญหำยำเสพติดของสถำบันทำงสังคมในระดับรำกหญ้ำได้ดังนี้
4.3บทบาทของสถาบันครอบครัว
สถำบันครอบครัวถือเป็นสถำบันแรกที่มีบทบำทหน้ำที่ในกำรป้ องกันปัญหำยำเสพติดโดยตรงกำรอ
บรมเลี้ยงดูเป็นกระบวนกำรที่ทำให้มนุษย์รู้กฎเกณฑ์ทำงสังคมโดยผ่ำนทำงผู้ให้กำรอบรมทำให้คน
คนนั้นเกิดกำรเรียนรู้และเกิดกำรประพฤติปฏิบัติตำมกระบวนกำรอบรมเลี้ยงดูจะอบรมกล่อมเกลำเ
ด็ ก ตั้ ง แ ต่ เ กิ ด ดั ง นั้ น ส ถ ำ บั น ค ร อ บ ค รั ว โ ด ย เ ฉ พ ำ ะ พ่ อ
แม่เป็นผู้ที่มีบทบำทหน้ำที่สำคัญในกำรอบรมเลี้ยงดูให้ควำมรู้สิ่งไหนดีไม่ดีสิ่งไหนควรทำไม่ควร
ทำจะต้องปลูกฝังค่ำนิยมที่ดีให้กับลูกรวมถึงกำรประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่ำงที่ดี
4.4บทบาทของสถาบันชุมชน
คน ใ น ชุมช น ป ระ พ ฤ ติป ฏิ บัติต น เป็ น แ บ บ อย่ำง ที่ ดีใ ห้ กับ เด็ก แล ะ เยำวช น
เ ด็ ก แ ล ะ เ ย ำ ว ช น ย่ อ ม เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต แ ล ะ เ รี ย น รู้ แ ต่ สิ่ ง ดี ๆ
จำกชุมชนชุมชนจึงมีส่วนสำคัญในกำรป้ องกันปัญหำยำเสพติด โดยเฉพำะชุมชนที่มีขนำดเล็ก
4.5บทบาทของโรงเรียน
โ ร ง เ รี ย น เ ป็ น อี ก ส ถ ำ บั น ห นึ่ ง
ที่จะต้องทำหน้ำที่เชื่อมต่อจำกสถำบันครอบครัวโรงเรียนเป็นสถำบันที่ทำหน้ำที่อบรมสั่งสอนที่กว้
ำง กว่ำครอบครัว และ เป็ น ส ถำบัน ที่เด็กต้อง ใ ช้ชี วิตอ ยู่ใ น โรง เรียน น ำน มำก
และอยู่ในช่วงวัยของกำรเรียนรู้ กำรเลียนแบบ กำรจดจำ
ดังนั้ น ส ถำบัน โรงเรี ยน จึง จะ ต้อง มีบ ทบ ำท และ ห น้ ำที่ม ำกกว่ำใ น อดี ต
นอกจำกจะทำหน้ำที่ถ่ำยทอดให้ควำมรู้แล้วสถำบันโรงเรียนจะต้องทำหน้ำที่เหมือนสถำบันครอบค
รัวแ ห่ ง ที่ 2 ซึ่ ง จ ะ ต้อง ค อย ท ำห น้ ำที่ ป ลู ก ฝั ง ค่ำนิ ยมที่ ดี ใ ห้ ค ว ำมอ บ อุ่น
และคอยให้คำปรึกษำที่ถูกต้องแก่เด็กและเยำวชนของชำติ
4.6บทบาทของสถาบันศาสนา
สถำบันศำสนำ เป็ น สถำบัน อีกสถำบันห นึ่ งที่เป็ นที่เคำรพ นับถือของคนในชุมช น
ค น ใ น ชุ ม ช น จ ะ ใ ห้ ค ว ำ ม เ ก ร ง ใ จ เ ป็ น พิ เ ศ ษ
18
และคนในชุมชนยังยึดถือแบบอย่ำงที่ดีงำมของสถำบันศำสนำเพื่อเป็นแนวทำงในกำรดำเนินวิถีชีวิต
และทำหน้ำที่ถ่ำยทอดศำสนำยังเป็นผู้ที่ประพฤติปฏิบัติเป็นแบบอย่ำงที่ดีให้กับคนในชุมชน
 ผลการศึกษา
1. ได้รู้ถึงโทษและภัยของสำรเสพติด
2. รู้จักป้องกันตัวเองไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับสำรเสพติด
3. รู้ประเภทของยำเสพติด
19
บทที่ 5
สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ
กลุ่มข้ำพเจ้ำได้ควำมรู้เกี่ยวกับยำเสพติดซึ่งยำเสพติดนี้ได้สร้ำงปัญหำมำกมำยในสังคมไทย
ทำให้สังคมไทยเสื่ อมลงมำก กลุ่มข้ำพเจ้ำนำควำมรู้ที่ได้รับมำช่วยคนใน สังคมไทย
โ ด ย ก ำ ร ศึ ก ษ ำ จ ำ ก โ พ ล ส ำ ร ว จ ต่ ำ ง ๆ
เพื่อนำมำวิเครำะห์และพัฒนำโดยกำรรณรงค์สร้ำงสื่อต่ำงๆเพื่อลดสิ่งเสพติดที่ทำให้สังคมไทยขำด
กำรพัฒนำทำให้คนไม่มีประสิทธิภำพ
ข้อเสนอแนะ
1.จัดประชุมในเรื่องกำรติดสำรเสพติดเพื่อให้โรงเรียนและสถำนที่ใกล้เคียงให้ปลอดภัยจำกยำเสพติ
ด
2.ทำป้ำยรณรงค์กำรต่อต้ำนยำเสพติดเพื่อให้สังคมไทยมีควำมเข้มแข็งในกำรต่อต้ำนยำเสพติด
3.สอดแทรกเนื้อหำให้มำกขึ้นเพื่อโครงงำนจะได้มีประสิทธิภำพมำกกว่ำเดิม
20
บรรณานุกรม
สำนักงำนป้องกันและบำบัดกำรติดยำเสพติด สำนักอนำมัย กรุงเทพมหำนคร
เข้ำถึงได้จำก : http://office.bangkok.go.th/doh/daptd/Knowledge/knowledge001.html
( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14กุมภำพันธ์ 2558)
อ.วีระวรรณ วรรณโท กำรเขียนบรรณำนุกรม
เข้ำถึงได้จำก: http://www.bangkapi.ac.th/MediaOnLine/weerawanWMD/unit5_part13.htm
( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14กุมภำพันธ์ 2558)
สภ.อรัญประเทศ สระแก้วโทษและพิษภัย ของยำเสพติด ตอนที่ 1
เข้ำถึงได้จำก: https://www.youtube.com/watch?v=Xbbzgm7pUDk ( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14
กุมภำพันธ์ 2558)
สำรำนุกรมไทยสำหรับเยำวชนฯ /เล่มที่ ๙ /เรื่องที่ ๑๓
ยำเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสำท / สำเหตุของปัญหำยำเสพติด
เข้ำถึงได้จำก: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=9&chap=13&page=t9-13-
infodetail02.html
( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14กุมภำพันธ์ 2558)
ตัวอย่ำงกำรเขียนโครงงำน 5บท
เข้ำถึงได้จำก:http://www.slideshare.net/chaipalat/5-15276577
( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14กุมภำพันธ์ 2558)
21
22

More Related Content

What's hot

โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กPloy Siriwanna
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้Paramin Suwannawut
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงThanakorn Chanamai
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
เรื่อง ขนมจีบ
 เรื่อง  ขนมจีบ เรื่อง  ขนมจีบ
เรื่อง ขนมจีบTook Kata
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าธนัชพร ส่งงาน
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) Np Vnk
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 

What's hot (20)

โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
โครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้กโครงงานการทำขนมเค้ก
โครงงานการทำขนมเค้ก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
เรื่อง ขนมจีบ
 เรื่อง  ขนมจีบ เรื่อง  ขนมจีบ
เรื่อง ขนมจีบ
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก) โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
โครงงานเรื่อง กล้วย (กล้วยแขก)
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 

Similar to โครงงานเสพติด

การวิจัยการสำรวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของนักเรียนโรงเรียนปทุมคงคา
การวิจัยการสำรวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของนักเรียนโรงเรียนปทุมคงคาการวิจัยการสำรวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของนักเรียนโรงเรียนปทุมคงคา
การวิจัยการสำรวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของนักเรียนโรงเรียนปทุมคงคา Wachirawit Sanookker
 
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docxวิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docxdekoxmmzzz
 
โครงงานเสพติด
โครงงานเสพติดโครงงานเสพติด
โครงงานเสพติดPz'Peem Kanyakamon
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านMo Taengmo
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายpeerapong14
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี  ในปีการศึกษา 2557สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี  ในปีการศึกษา 2557
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557Kanchana Theugcharoon
 
รูปเล่มคอมพิวเตอร์
รูปเล่มคอมพิวเตอร์รูปเล่มคอมพิวเตอร์
รูปเล่มคอมพิวเตอร์poe15562
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 

Similar to โครงงานเสพติด (18)

การวิจัยการสำรวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของนักเรียนโรงเรียนปทุมคงคา
การวิจัยการสำรวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของนักเรียนโรงเรียนปทุมคงคาการวิจัยการสำรวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของนักเรียนโรงเรียนปทุมคงคา
การวิจัยการสำรวจพฤติกรรมการอ่านหนังสือของนักเรียนโรงเรียนปทุมคงคา
 
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docxวิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
วิวัฒนาการและการปรับตัวจากสาหร่ายสู่พืช3.docx
 
โครงงานเสพติด
โครงงานเสพติดโครงงานเสพติด
โครงงานเสพติด
 
Bioo
BiooBioo
Bioo
 
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้านโครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
โครงงานภูมิปัญญาพื้นบ้าน
 
Menopause
MenopauseMenopause
Menopause
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
N sdis 126_60_7
N sdis 126_60_7N sdis 126_60_7
N sdis 126_60_7
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
ฝตก
ฝตกฝตก
ฝตก
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี  ในปีการศึกษา 2557สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี  ในปีการศึกษา 2557
สำรวจการใช้รถยนต์ของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯกาญจนบุรี ในปีการศึกษา 2557
 
รูปเล่มคอมพิวเตอร์
รูปเล่มคอมพิวเตอร์รูปเล่มคอมพิวเตอร์
รูปเล่มคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.3ตัวอย่างชื่อโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทคัดย่อครูสิริพรรณ
บทคัดย่อครูสิริพรรณบทคัดย่อครูสิริพรรณ
บทคัดย่อครูสิริพรรณ
 

More from Pear Pimnipa

Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำBmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำPear Pimnipa
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดPear Pimnipa
 
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)Pear Pimnipa
 
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)Pear Pimnipa
 
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me Pear Pimnipa
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดPear Pimnipa
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7Pear Pimnipa
 
บทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติดบทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติดPear Pimnipa
 
ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1Pear Pimnipa
 
ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2Pear Pimnipa
 
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)Pear Pimnipa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pear Pimnipa
 
แก้วสุดล้ำ vessyl
แก้วสุดล้ำ vessylแก้วสุดล้ำ vessyl
แก้วสุดล้ำ vessylPear Pimnipa
 
แก้วสุดล้ำ
แก้วสุดล้ำ แก้วสุดล้ำ
แก้วสุดล้ำ Pear Pimnipa
 
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทยรู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทยPear Pimnipa
 

More from Pear Pimnipa (18)

Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำBmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด
 
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
 
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
 
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
 
บทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติดบทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติด
 
ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
โครงงานการดาษจากกาบ(กลุ่มที่6)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แก้วสุดล้ำ vessyl
แก้วสุดล้ำ vessylแก้วสุดล้ำ vessyl
แก้วสุดล้ำ vessyl
 
แก้วสุดล้ำ
แก้วสุดล้ำ แก้วสุดล้ำ
แก้วสุดล้ำ
 
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทยรู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
 

โครงงานเสพติด

  • 1. รายงานโครงงานสารวจ เรื่อง ยาเสพติด เสนอ คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม จัดทำโดย 1.นำงสำวณัฐณิชำ จันทร์สนอง เลขที่ 14 2.นำงสำวธนพร หนูเกตุ เลขที่ 15 3.นำงสำวเนตรนรินทร์ สืบกลัด เลขที่ 16 4.นำงสำวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล เลขที 17 5.นำงสำวพิมพ์นิภำ วิศิษฏ์รัฐพงศ์ เลขที่ 23 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5/2 รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชำ IS2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กำญจนบุรี ภำคเรียนที่ 2ปีกำรศึกษำ 2557
  • 2. ก คานา โครงงำนฉบับนี้ เป็ นส่วน หนึ่ งของวิชำIS 2 ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 5 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อกำรศึกษำควำมรู้เกี่ยวกับยำเสพติดซึ่งยำเสพติดโดยได้นำโพลผลสำรวจจำกเว็บไซต์มำวิเครำะห์ ผ ล โ ค ร ง ง ำ น นี้ มี เ นื้ อ ห ำ เ กี่ ย ว กับ ค ว ำ ม รู้ จ ำ ก ย ำ เส พ ติ ด ผ ล ก ร ะ ท บ สำเหตุและวิธีป้องกันผู้คนในสังคมมำเผยแพร่ผู้จัดทำได้เลือกหัวข้อนี้ในกำรทำรำยงำนเนื่องมำจำกเ ป็ น เ รื่ อ ง ที่ น่ ำ ส น ใ จ รวมถึงเป็นกำรช่วยป้องกันรณรงค์ให้แก้ผู้คนในสังคมทั่วไปได้ศึกษำผู้จัดทำจะต้องขอขอบคุณครูท ร ง ศั ก ดิ์ โ พ ธิ์ เ อี่ ย ม ผู้ให้ควำมรู้และแนวทำงกำรศึกษำเพื่อนๆทุกคนที่ให้ควำมช่วยเหลือมำโดยตลอดผู้จัดทำหวังว่ำรำย งำนฉบับนี้จะให้ควำมรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่ำนทุกๆ ท่ำน ผู้จัดทา
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โ ค ร ง ง ำ น IS2 เ รื่ อ ง ยำเสพติดสำเร็จลุล่วงได้ด้วยควำมกรุณำและควำมช่วยเหลืออย่ำงสูงยิ่งจำก คุณครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยมที่ปรึกษำโครงงำนและคุณครูประจำวิชำที่ได้กรุณำให้คำปรึกษำแนะนำ ตรวจสอบแก้ไข ข้อพกพร่องทุกขั้นตอนของกำรจัดทำโครงงำน คณะผู้จัดทำโครงงำนขอขอบพระคุณเป็นอย่ำงสูง ข อ ข อ บ พ ร ะ คุ ณ บิ ด ำ ม ำ ร ด ำ เ พื่ อ น นั ก เ รี ย น ต ล อ ด จ น ผู้ ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ทุ ก ท่ ำ น ที่ ไ ม่ ไ ด้ ก ล่ ำ ว น ำ ม ไ ว้ ณ ที่ นี้ ที่ได้ให้กำลังใจและมีส่วนช่วยเหลือให้โครงงำนฉบับนี้สำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี คณะผู้จัดทา
  • 4. ค สารบัญ เรื่อง หน้า คำนำ...........................................................................................................................................................................ก กิตติกรรมประกำศ..................................................................................................................................................ข สำรบัญ......................................................................................................................................................................ค บทที่ 1.........................................................................................................................................................................1 1.1ที่มำและควำมสำคัญ ....................................................................................................................................1 3.กำรมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว กำรเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนต่ำงๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงควำมเป็นไปได้ของสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นในอนำคต........2 เงื่อนไข..................................................................................................................................................................2 1.เงื่อนไขควำมรู้ เพื่อให้รู้จักและหลีกเลี่ยงกำรใช้สำรเสพติด และป้องกันตัวเองได้ในสถำนกำรณ์ที่ฉุกเฉินเพื่อให้รู้โทษของยำเสพติดโดยกำรนำควำมรู้มำเชื่อ มโยงวำงแผนในกำรใช้ชีวิต.............................................................................................................................2 2.เงื่อนไขคุณธรรม มีควำมตระหนักใน คุณธรรม มีควำมซื่อสัตย์สุจริตและมีควำมอดทน มีควำมเพียร ใช้สติปัญญำในกำรดำเนินชีวิต ...............................................................................................2 1.3วัตถุประสงค์ ..................................................................................................................................................2 1.3.1เพื่อให้รู้จักและหลีกเลี่ยงกำรใช้สำรเสพติด........................................................................................2 1.3.2เพื่อให้รู้โทษของยำเสพติด......................................................................................................................2 1.4ผลที่คำดว่ำจะได้รับ......................................................................................................................................2 1.5ขอบเขตของกำรศึกษำ .................................................................................................................................2 1.6คำนิยำมศัพท์..................................................................................................................................................3
  • 5. ง เอกสำรที่เกี่ยวข้อง...................................................................................................................................................3 2.1 ยำเสพติดให้โทษ คือ อะไร.......................................................................................................................3 2.2กำรใช้ยำเสพติดมีอันตรำย..........................................................................................................................3 2.3จะสังเกตุอำกำรผู้ติดยำเสพติด...................................................................................................................4 2.4จะสังเกตุอำกำรคนเมำยำบ้ำ .......................................................................................................................4 2.5ถ้ำบุตรหลำนหรือบุคคลในครอบครัวของท่ำนติดยำเสพติด .............................................................5 2.6หำกผู้ปกครองปล่อยปละละเลยให้บุตรหลำนเสพยำเสพติดให้โทษผู้ปกครองมีควำมผิด.........5 2.7ท่ำนหรือบุตรหลำนของท่ำนไม่ยินยอมให้ตรวจปัสสำวะได้หรือไม่และมีโทษหรือไม่.............6 2.8สถำนประกอบกำรประเภทใดที่อยู่ภำยใต้บังคับกฎหมำยเกี่ยวกับยำเสพติด และต้องปฏิบัติตำมกฎหมำย............................................................................................................................7 2.9หำกพบกำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดในสถำนประกอบกำรเจ้ำของสถำนประกอบกำร มีควำมรับผิดตำมกฎหมำยยำเสพติด..............................................................................................................8 2.10ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดได้.......................................................................8 บทที่3.........................................................................................................................................................................9 วัสดุอุปกรณ์/วิธีดำเนินงำน...................................................................................................................................9 3.1วัสดุอุปกรณ์ ...................................................................................................................................................9 3.2วิธีดำเนินงำน.................................................................................................................................................9 ตำรำงกำรปฏิบัติงำน :30 พ.ย.57–20 มี.ค.58.............................................................................................10 ตำรำงที่1.ในปัจจุบันมองว่ำปัญหำยำเสพติดกับวัยรุ่นนั้นรุนแรงอยู่ในระดับใด..............................10 ตำรำงที่ 2...........................................................................................................................................................11 ตำรำงที่ 3 .เชื่อว่ำจะมีกำรวิสำมัญฆำตกรรมโดยเจ้ำหน้ำที่รัฐแต่อ้ำงว่ำเป็นกำรฆ่ำตัดตอนในหมู่ผู้ค้ำยำเสพติ ดกันเองหรือไม่................................................................................................................................................12
  • 6. จ ตำรำงที่ 4.ควำมเชื่อมั่นในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดของรัฐบำลนำงสำวยิ่งลักษณ์ชินวัตรอยู่ในระดับใด13 ตำรำงที่ 5 .ค่ำคะแนนควำมพึงพอใจ ในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดภำพรวมของรัฐบำลเปรียบเทียบระหว่ำงสำมรัฐบำล (คะแนนเต็ม 10).......................................................................................................................................................................14 บทที่ 4......................................................................................................................................................................15 อภิปรำยผลกำรทดลอง........................................................................................................................................15 4.2จำแนกตำมแหล่งที่มำ ...............................................................................................................................16 4.3บทบำทของสถำบันครอบครัว................................................................................................................17 4.4บทบำทของสถำบันชุมชน.......................................................................................................................17 4.5บทบำทของโรงเรียน.................................................................................................................................17 4.6บทบำทของสถำบันศำสนำ .....................................................................................................................17 บทที่ 5......................................................................................................................................................................19 สรุปผล อภิปรำยและข้อเสนอแนะ...................................................................................................................19 ข้อเสนอแนะ.....................................................................................................................................................19 บรรณำนุกรม.........................................................................................................................................................20 สภ.อรัญประเทศ สระแก้วโทษและพิษภัย ของยำเสพติด ตอนที่ 1..........................................................20 ตัวอย่ำงกำรเขียนโครงงำน 5บท.............................................................................................................20
  • 7. ฉ สารบัญภาพ เรื่อง หน้า รูปภำพที่ 2.1. 1. 1....................................................................................................................................................6 รูปภำพที่ 2.1. 1. 2....................................................................................................................................................6
  • 8. บทที่ 1 1.1ที่มาและความสาคัญ ปัจจุบันในประเทศของเรำได้มีกำรใช้สำรเสพติดอย่ำงแพร่หลำยมำกด้วยควำมอยำกรู้อยำก ลอง ของ วัยรุ่น ใน สมัยนี้ ทำให้ซึ่ งทำลำยควำมมั่น คงของช ำติและ สังคมอย่ำงมำก เด็กเสียอนำคตสำรเสพติดเป็นสำรที่สังเครำะห์ขึ้นเมี่อนำเข้ำสู่ร่ำงกำย ไม่ว่ำจะโดยวิธีรับประทำน ด ม สู บ ฉี ด หรือด้วยวิธีกำรใดๆแล้วทำให้เกิดผลต่อร่ำงกำยและจิตใจนอกจำกนี้ยังจะทำให้เกิดกำรเสพติดได้หำ ก ใ ช้ ส ำ ร นั้ น เ ป็ น ป ร ะ จ ำ ทุ ก วั น ห รื อ วั น ล ะ ห ล ำ ย ๆ ครั้งปัญหำยำเสพติดมิได้เกิดแต่เฉพำะประชำกรในวัยแรงงำนเท่ำนั้นปัญหำนี้ยังเกิดขึ้นกับบุคคลใน วัย เ รี ย น ด้ ว ย เ ช่ น กั น ปั ญ ห ำ ก ำ ร แ พ ร่ ร ะ บ ำ ด ข อ ง ย ำ เ ส พ ติ ด ของเยำวชนในสถำนศึกษำมีแนวโน้มสูงขึ้นรวมทั้งนิดของยำเสพติดก็มีควำมร้ำยแรงเพิ่มขึ้นตำมลำ ดับ จำกสถิตินักเรียนนักศึกษำทีเข้ำรับกำรบำบัดรักษำยำเสพติดทั่วประเทศในระยะเวลำ 5 ปี ที่ผ่ำนมำพบว่ำ ปัญหำยำเสพติดในสถำนศึกษำมีควำมรุนแรงเพิ่มมำกขึ้นทุกปี จะเห็นได้จำกช่วงปี พ.ศ.2535-2539นักเรียนนักศึกษำเข้ำรับกำรบำบัดรักษำยำเสพติดเพิ่มขึ้นทุกปี คือ 447คน,747 คน, 1,401 ค น , 3,090 ค น แ ล ะ 4,261 ค น ต ำ ม ล ำ ดั บ ( ส ำ นั ก ง ำ น ค ณ ะ ก ร ร ม ก ำ ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร ำ บ ป ร ำ ม ย ำ เ ส พ ติ ด 2538:1)จำกสถิติกำรติดตำมแก้ไขปั ญห ำยำเสพติดในสถำน ศึกษำของฝ่ ำยสำรเสพ ติด ก อ ง ส ำร วัต ร นั ก เรี ย น ก รมพ ล ศึ ก ษ ำ ใ น ปี ง บ ป ร ะ มำณ พ .ศ .2540 พ บ ว่ำ ระ ดับ กำรศึก ษำมัธยมศึกษ ำตอ น ต้น แล ะ ตอ น ปล ำยจน ถึง ระ ดับ อำชีวศึ กษ ำ ส่วนมำกกำรเริ่มใช้สำรเสพติดจะเริ่มจำกบุหรี่กัญชำ สำรระเหยมอร์ฟิ่น กลุ่มของข้ำพเจ้ำจึงคิดค้นที่จะช่วยกันแก้ไขปัญหำนับว่ำเป็นกำรสูญเสียทั้งทำงด้ำนเศรษฐกิจสังคม แ ล ะ ก ำ ร ป ก ค ร อ ง เ พ ร ำ ะ น อ ก จ ำ ก ผู้ เ ส พ ย ำ เ ส พ ติ ด ทั้ ง ห ล ำ ย จะ ได้สำมำรถป ระ กอบ อำชี พ ท ำกำรง ำน ต่ำง ๆ ไม่ได้แล้วยังก่ออำช ญ ำกรรม ทำให้เกิดปัญหำต่อสังคม กระทบกระเทือนต่อประชำชนผู้ไม่ได้เสพยำเสพติดอีกด้วย 1.2 การบูรณการการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแก้ปัญหายาเสพติด
  • 9. 2 1.คว ามพอประมาณ ไม่เบียดเบียน ผู้อื่น โดยใช้ควำมต้องกำรของตัวเองเป็ น ห ลัก ไม่เบียดเบียนและทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อน 2.ความมีเหตุผล ตัดสิน ใจอย่ำงมีเห ตุผลคิดอย่ำงมีสติตัดสิ นใจอย่ำงมีเห ตุผลคิดให้ รอบคอบและคิดถึงผลกระทบที่จะตำมมำ 3.การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว กำรเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนต่ำงๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงควำมเป็นไปได้ของสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ที่คำดว่ำจะเกิดขึ้นในอนำคต เงื่อนไข 1.เงื่อนไขความรู้ เพื่อให้รู้จักและหลีกเลี่ยงกำรใช้สำรเสพติด และป้องกันตัวเองได้ในสถำนกำรณ์ที่ฉุกเฉินเพื่อให้รู้โทษของยำเสพติดโดยกำรนำควำมรู้มำเชื่อมโ ยงวำงแผนในกำรใช้ชีวิต 2.เงื่อนไขคุณธรรม มีควำมตระหนักใน คุณธรรม มีควำมซื่อสัตย์สุจริตและมีควำมอดทน มีควำมเพียร ใช้สติปัญญำในกำรดำเนินชีวิต 1.3วัตถุประสงค์ 1.3.1เพื่อให้รู้จักและหลีกเลี่ยงกำรใช้สำรเสพติด 1.3.2เพื่อให้รู้โทษของยำเสพติด 1.4ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.4.1 รู้จักกำรป้องกันตนเองเกี่ยวกับยำเสพติด 1.4.2 ได้ทรำบถึงข้อมูลและโทษของกำรยำเสพติดผลอันตรำยต่ำงๆที่ตำมมำที่เกิดจำกกำรติดยำ 1.5ขอบเขตของการศึกษา สำรวจ ภำยใน“กลุ่มนักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กำญจนบุรี”
  • 10. 3 1.6คานิยามศัพท์ นักเรียนโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กำญจนบุรี บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 ยาเสพติดให้โทษ คืออะไร ยำเสพติดให้โทษตำมควำมหมำยของ พ.ร.บ.ยำเสพติดให้โทษพ .ศ.2552 หมำยถึง สำรเคมีห รือวัตถุชนิดใดๆซึ่งเมื่อเสพเข้ำสู่ร่ำงกำยไม่ว่ำจะโดยรับประทำน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยประกำรใดๆ แล้วทำให้เกิดผลต่อร่ำงกำยและจิตใจใน ลักษณะสำคัญ เช่น ต้ อ ง เ พิ่ ม ข น ำ ด ก ำ ร เ ส พ เ รื่ อ ย ๆ มี อ ำ ก ำ ร ถ อ น ย ำ เ มื่ อ ข ำ ด ย ำ มีค ว ำม ต้ อ ง ก ำร เ ส พ ทั้ ง ร่ำ ง ก ำ ย แ ล ะ จิ ต ใ จ อ ย่ำ ง รุ น แ ร ง อ ยู่ต ล อ ด เ ว ล ำ และสุขภำพโดยทั่วไปจะทรุดโทรมลงจนถึงขั้นเสียชีวิต 2.2การใช้ยาเสพติดมีอันตราย กำรใช้ยำเสพติดมีอันตรำยต่อสุขภำพ ดังต่อไปนี้ 2.2.1ทำลำยสุขภำพให้ทรุดโทรม น้ำหนักลด ผิวคล้ำ ร่ำงกำยซูบผอม 2.2.2เป็นบุคคลไร้สมรรถภำพทั้งทำงร่ำงกำยและจิตใจ อำรมณ์ไม่ปกติ เฉี่อยชำเกียจคร้ำน 2.2.3เสียบุคลิกภำพ ขำดควำมสนใจในตัวเองมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจำกเดิม 2.2.4อำจประสบอุบัติเหตุได้ง่ำยเพรำะกำรควบคุมทำงกล้ำมเนื้อและระบบประสำทบกพร่อง 2.2.5เกิดโรคแทรกซ้อนได้ง่ำยเพรำะควำมต้ำนทำนโรคน้อย ติดเชื้อง่ำย
  • 11. 4 2.3จะสังเกตุอาการผู้ติดยาเสพติด ยำเสพติดเมื่อเกิดกำรเสพติดแล้ว จะมีผลกระทบต่อร่ำงกำยและจิตใจซึ่งทำให้ลักษณะและควำมประพฤติของผู้เสพเปลี่ยนไปจำกเดิม ที่อำจสังเกตพบได้คือ 2.3.1ร่ำงกำยทรุดโทรม ซูบผอม 2.3.2อ ำ ร ม ณ์ ฉุ น เ ฉี ย ว หรือเงียบขรึมผิดปกติจึงมักพบผู้เสพติดชอบทะเลำะวิวำทหรือทำร้ำยผู้อื่นหรือในทำงกลับกันบำงค นอำจชอบแยกตัวอยู่คนเดียวและหนีออกจำกพรรคพวกเพื่อนฝูง 2.3.3ถ้ำผู้เส พ เป็ น นั ก เรี ยน มัก พ บ ว่ำผ ล ก ำร เรี ยน แ ย่ล ง ถ้ำเ ป็ น ค น ท ำง ำ น มักพบว่ำประสิทธิภำพในกำรทำงำนลดลงหรือไม่ยอมทำงำนเลย 2.3.4ใ ส่ เ สื้ อ แ ข น ย ำ ว ต ล อ ด เ ว ล ำ เพื่อปกปิดรอยเข็มที่ฉีดยำตรงท้องแขนด้ำนในหรือรอยกรีดตรงต้นแขนด้ำนใน 2.2.5ติดต่อกับเพื่อนแปลกๆ ใหม่ๆซึ่งมีพฤติกรรมผิดปกติ 2.2.6ขอเงินจำกผู้ปกครองเพิ่ม หรือยืมเงินจำกเพื่อนฝูงเสมอเพื่อนำไปซื้อยำเสพติด 2.3.7 ขโมย ฉกชิง วิ่งรำว เพื่อหำเงินไปซื้อยำเสพติด 2.3.8ผู้ติดยำเสพติดบำงชนิด เช่นเฮโรอีน จะมีอำกำรอยำกยำบำงคนจะมีอำกำรรุนแรงถึงขั้นลงแดง 2.4จะสังเกตุอาการคนเมายาบ้า ผู้ ที่ เ ส พ ย ำ บ้ ำ เ ป็ น ป ร ะ จ ำ จะส่งผลให้ผู้เสพมีระบบประสำทผิดปกติเมื่อถึงจุดหนึ่งจะเกิดอำกำรหูแว่ว ประสำทหลอน ห ว ำ ด ร ะ แ ว ง จ น เกิ ด ค ว ำ ม เค รี ย ด คิ ด ว่ำ จ ะ มี ค น ม ำ ฆ่ ำ ห รื อ ท ำ ร้ ำ ย บ ำง รำย ก ลัวม ำก ต้อ ง ห ำอ ำวุธ ไ ว้ป้ อ ง กัน ตั วห รื อ ค ลุ้ม ค ลั่ง จับ ตัวป ระ กัน ซึ่งอำจสังเกตอำกำรของคนเมำยำบ้ำ ได้ดังนี้
  • 12. 5 2.4.1อยู่ไม่สุข ลุกลี้ลุกลน กระสับกระส่ำย 2.4.2หวำดกลัว และระแวงอยู่ตลอดเวลำ 2.4.3สีหน้ำเลื่อนลอยเหมือนคนไม่ได้นอนหลับพักผ่อน 2.3.4เนื้อตัวสกปรก มอมแมม 2.5ถ้าบุตรหลานหรือบุคคลในครอบครัวของท่านติดยาเสพติด โ ด ยห ลัก ก ำร ต ำม พ .ร .บ .ฟื้ น ฟู ส มร รถ ภ ำพ ผู้ติ ด ยำเส พ ติ ด พ .ศ .2545 แล้วผู้เสพยำเสพติดมีสภำพเป็นผู้ป่วยอย่ำงหนึ่งมิใช่อำชญำกรปกติกำรฟื้นฟูสมรรถภำพของผู้ติดยำเ สพติดจึงสมควรกระทำให้กว้ำงขวำง ถ้ำบุตรหลำนหรือบุคคลในครอบครัวของท่ำนติดยำเสพติดท่ำนสำมำรถช่วยเหลือบุคคลเหล่ำ นั้ น ได้ก่อน ถูกจับ กุมดำเนิ น คดีโดยขอรับคำป รึกษ ำจำกส ถำน ที่ใ ห้ คำปรึ กษ ำ และบำบัดรักษำผู้ติดยำเสพติดได้แก่โรงพยำบำลของรัฐ เช่น รพ.ธัญญำรักษ์,รพ.พระมงกุฏเกล้ำ, รพ.ตำรวจ,รพ.จุฬำลงกรณ์,รพ.รำชวิถี,รพ.ตำกสิน, รพ.ทหำรผ่ำนศึก ,รพ.นพรัตน์รำชธำนี เป็นต้นโรงพยำบำลประจำจังหวัดทุกจังหวัด และศูนย์บำบัดรักษำยำเสพติดต่ำงๆ ฯลฯ 2.6หากผู้ปกครองปล่อยปละละเลยให้บุตรหลานเสพยาเสพติดให้โทษผู้ปกครองมีความผิด ผู้ ป ก ค ร อ ง มี ห น้ ำ ที่ ต้ อ ง อุ ป ก ำ ร ะ เ ลี้ ย ง ดู อบรมสั่งสอนดูแลเอำใจใส่เด็กในควำมปกครองให้ประพฤติตนให้เหมำะสมหำกผู้ปกครองรำยใดไ ม่ดูแลเอำใจใส่เป็นเหตุให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรมีควำมประพฤติเสี่ยงต่อกำรกระทำควำมผิด เช่น เสพยำเสพติดให้โทษ เป็นต้นผู้ปกครองอำจจะมีควำมผิดถึงรับโทษจำคุกไม่เกิน 3เดือน หรือปรับไม่เกิน สำมหมื่นบำทหรือทั้งจำทั้งปรับตำม พ.ร.บ.ค้มครองเด็ก พ.ศ.2546มำตรำ 4,26,78 ประกอบกฎกระทรวงกำหนดเด็กที่เสี่ยงต่อกำรกระทำผิด พ.ศ.2549 ลงวันที่ 8 ส.ค.49 ผู้ปกครองจึงไม่ควรสนับสนุนหรือยินยอมให้บุตรหลำนของท่ำนเที่ยวเตร่ในสถำนที่ที่ไม่เหม ำะสมเช่น สถำนบริกำรกลำงคืน สถำนที่เสี่ยงภัยต่ำงๆ
  • 13. 6 รูปภาพที่ 2.1. 1. 1 รูปภาพที่ 2.1. 1. 2 2.7ท่านหรือบุตรหลานของท่านไม่ยินยอมให้ตรวจปัสสาวะได้หรือไม่และมีโทษหรือไม่ บุคคลใดมีพฤติกำรณ์น่ำสงสัยว่ำเสพยำเสพติดเจ้ำพนักงำนมีอำนำจตรวจหรือทดสอบหรือสั่ง ใ ห้ บุ ค ค ลใ ดรั บ กำรต รว จห รื อท ด ส อ บ ห ำส ำรเส พ ติ ดจ ำก ปั ส ส ำวะ ได้ต ำม พ .ร .บ .ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร ำ บ ป ร ำ ม ย ำ เ ส พ ติ ด พ .ศ .2519 ม ำ ต ร ำ 14 ทวิประกอบประ กำศคณะกรรมกำรป้ องกัน และปรำบปรำมยำเสพ ติด ลง 11 ก.ค.43 เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์วิธีกำรและเงื่อนไขกำรตรวจหรือทดสอบว่ำบุคคลหรือกลุ่มบุคคลใดมีสำรเ สพติดอยู่ในร่ำงกำยหรือไม่ บุคคลใดไม่ยินยอมให้ตรวจหรือทดสอบหำสำรเสพติดจำกปัสสำวะต้องรับโทษจำคุกไม่เกิน หกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบำทตำมพ.ร.บ.ป้ องกันและปรำบปรำมยำเสพติด พ.ศ.2519 มำตรำ 16
  • 14. 7 ดังนั้นจึงควรระมัดระวังมิให้บุตรหลำนของท่ำนเข้ำไปเกี่ยวข้องกับยำเสพติดตำมสถำนบริกำร ต่ำงๆโดยเด็ดขำด 2.8สถานประกอบการประเภทใดที่อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด และต้องปฏิบัติตามกฎหมาย มีสถำน ประกอบกำร 6 ประเภทที่อยู่ภำยใต้บังคับกฎหมำยเกี่ยวกับยำเสพติดตำม พ .ร.บ .ป้ อ ง กัน แ ล ะ ป รำบ ป ร ำมย ำเส พ ติด พ .ศ .2519 มำตร ำ 13 ท วิ ป ระ ก อ บ ป ร ะ ก ำ ศ ส ำ นั ก น ำ ย ก รั ฐ ม น ต รี ( พ .ศ .2543) ณ วั น ที่ 16 ส .ค .43 เรื่องกำหนดประเภทสถำนประกอบกำรที่อยู่ภำยใต้บังคับของมำตรกำรป้องกันและปรำบปรำมกำร กระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดในสถำนประกอบกำร ได้แก่ 2.8.1ปั๊มน้ำมัน 2.8.2ปั๊มก๊ำซ 2.8.3สถำนบริกำรต่ำงๆ 2.8.4ที่พักอำศัยในเชิงพำณิชย์ประเภท หอพัก อำคำรชุด หรือเกสเฮ้ำส์ ที่ให้ผู้อื่นเช่ำ 2.8.5โต๊ะบิลเลียตหรือสนุกเกอร์ ที่เก็บค่ำบริกำรจำกผู้เล่น 2.8.6โรงงำน เจ้ำข อ ง ส ถ ำน ป ร ะ ก อ บ ก ำรทั้ ง 6 ป ระ เภ ท มีห น้ ำที่ ค วบ คุม ส อ ด ส่อ ง ดูแลไม่ให้พนักงำนหรือบุคคลภำยนอกมำมั่วสุมกันกระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดในหรือบริเวณ ส ถ ำ น ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร และต้องจัดให้มีป้ ำยหรือประกำศเตือนเกี่ยวกับพิษภัยของยำเสพติดหรืออัตรำโทษตำมกฎหมำยเกี่ย วกับยำเสพ ติด ตำม พ .ร.บ.ป้ องกัน และ ปรำบปรำม ยำเสพติดพ.ศ.2519 มำตรำ 13 ทวิ ประ กอบ ประ กำศส ำนั กน ำยกรัฐมน ตรี (ฉ บับ ที่ 2) พ .ศ .2543 ณ วัน ที่ 16 ส.ค.43 เรื่องกำหนดมำตรกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดในสถำนประกอ บกำร
  • 15. 8 ห ำก ปล่อยป ละ ล ะ เลยห รื อละ เว้น ไม่ติดป้ ำยห รือ ประ กำศ เตื อน ดัง ก ล่ำว อำจถูกปรับเป็นเงินหนึ่งหมื่นบำทหรือสำมหมื่นบำท หรือห้ำหมื่นบำท แล้วแต่กรณี ตำมพ.ร.บ. ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร ำ บ ร ำ ม ย ำ เ ส พ ติ ด พ .ศ .2519 ม ำ ต ร ำ 13 ตรีประกอบระเบียบคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติดว่ำด้วยกำรตักเตือนกำรเปรียบเ ทียบปรับ และกำรปิดชั่วครำวสถำนประกอบกำรหรือกำรพักใช้ใบอนุญำตประกอบกำรพ.ศ.2545 ณ วันที่ 12 ธ.ค.45 ข้อ 17 2.9หากพบการกระทาความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในสถานประกอบการเจ้าของสถานประกอบการมี ความรับผิดตามกฎหมายยาเสพติด ถ้ำมีกำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติดใน สถำน ประกอบกำรทั้ง 6 ประเภ ท โดยเจ้ำของสถำนประกอบกำรไม่สำมำรถชี้แจงหรือพิสูจน์กำรใช้ควำมระมัดระวังได้สถำนประกอ บ กำรนั้ น อ ำจถู ก สั่ ง ปิ ดชั่ว ครำวห รื อพั กใ ช้ใ บ อนุ ญ ำต มีก ำห น ด 7 วัน ต ำม พ .ร .บ .ป้ อ ง กั น แ ล ะ ป ร ำ บ ป ร ำ ม ย ำ เ ส พ ติ ด พ .ศ .2519 ม ำ ต ร ำ 13 ตรีประกอบระเบียบคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติดว่ำด้วยกำรตักเตือนกำรเปรียบเ ทียบปรับและกำรปิดชั่วครำวสถำนประกอบกำรหรือกำรพักใช้ใบอนุญำต ประกอบกำรพ.ศ.2545 ณ วันที่ 12 ธ.ค.45 ข้อ 18 2.10ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ ถ้ ำ พ บ แ ห ล่ ง จ ำ ห น่ ำ ย พั ก ย ำ มั่ ว สุ ม หรือเสพยำเสพติดหรือเจ้ำหน้ำที่ของรัฐมีพฤติกำรณ์เกี่ยวข้องกับยำเสพติดท่ำนมีส่วนช่วยเหลือสังค มในกำรป้องกันและปรำบปรำมได้โดยแจ้งให้หน่วยรำชกำรต่อไปนี้ทรำบ
  • 17. 10 3.2.3นำข้อมูลที่ได้จำกกกำรสำรวจค้นคว้ำมำทำโครงงำนตำมที่ได้วำงโครงเรื่องไว้ 3.2.4นำข้อมูลที่ได้ บันทึก และจัดทำรูปเล่ม ตารางการปฏิบัติงาน : 30พ.ย. 57– 20มี.ค.58 วันปฏิบัติ รำยกำรปฏิบัติ 30พ.ย. 57- 3 ธ.ค. 57 คิดชื่อเรื่องและวำงแผน 3 ธ.ค. 57-21ม.ค.58 ค้นคว้ำข้อมูลทั้งหมดจำกสถำนที่ในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯ กำญจนบุรี 21 ม.ค.- 5 มี.ค. 58 จัดเรียบเรียงข้อมูลและจัดทำรูปเล่ม ตรวจสอบข้อมูลและรูปเล่ม นำเสนอ ศูนย์สำรวจควำมคิดเห็นของประชำชน “นิด้ำโพล” สถำบันบัณฑิตพัฒนบริหำรศำสตร์ (นิด้ำ) สำรวจควำมคิดเห็นของประชำชน เรื่อง “ปัญยาเสพติดกับวัยรุ่น” โดยสำรวจจำกประชำชนทั่วทุกภูมิภำคของประเทศ กระจำยทุกภูมิภำค ในช่วงอำยุ 15 - 27 ปี จำนวน 1,104 หน่วยตัวอย่ำง โดยมีควำมคลำดเคลื่อนมำตรฐำนไม่เกินร้อยละ 3.64 ผลกำรสำรวจสรุปได้ดังนี้ ตารางที่1.ในปัจจุบันมองว่าปัญหายาเสพติดกับวัยรุ่นนั้นรุนแรงอยู่ในระดับใด ระดับความรุนแรงของปัญหาย าเสพติดในวัยรุ่น ภูมิภาค รวมกรุงเทพฯ และปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ 1. มากที่สุด 21.3 22.6 16.8 23.0 16.3 53.26
  • 18. 11 2. ค่อนข้างมาก 21.0 17.8 23.7 17.8 19.8 37.14 3. ปานกลาง 23.3 23.3 19.8 17.4 16.3 7.79 4. ค่อนข้างน้อย 0.0 33.3 0.0 50.0 16.7 0.54 5. น้อย 6. ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 0.0 0.0 28.6 28.6 28.6 28.6 14.3 14.3 28.6 28.6 0.63 0.63 รวม 20.9 21.2 19.5 20.7 17.7 100.0 3.1.1 ตารางในปัจจุบันมองว่าปัญหายาเสพติดกับวัยรุ่นนั้นรุนแรงอยู่ในระดับใด ตารางที่2.กำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดนั้นรัฐบำลควรใช้มำตรกำรใดในกำรแก้ไขปัญหำ (ตอบได้มำกกว่ำ 1 ข้อ) มาตรการที่รัฐบาลควรใช้ ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ภูมิภาค กรุงเทพฯ และปริมณฑ ล ภาคกลาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ รวม 1. เพิ่มบทลงโทษ 2. การรณรงค์ให้ความรู้/ประชาสัมพัน ธ์ 20.20 28.40 18.90 14.80 19.80 16.20 19.60 24.10 21.50 16.50 59.96 31.88
  • 19. 12 3. กระจายอานาจการจับกุม (ตารวจบ้าน) 28.10 18.30 26.50 6.90 20.30 27.72 4. วิสามัญฆาตกรรมโดยเจ้าหน้าที่รัฐ 5.50 42.70 16.40 6.40 29.10 9.96 5. ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 0.00 37.50 12.50 50.00 0.00 0.72 รวม 20.9 21.2 19.5 20.7 17.7 100.0 ตารางที่3 .เชื่อว่าจะมีการวิสามัญฆาตกรรมโดยเจ้าหน้าที่รัฐแต่อ้างว่าเป็นการฆ่าตัดตอนในหมู่ผู้ค้ายาเสพติด กันเองหรือไม่
  • 20. 13 ตารางที่ 4.ความเชื่อมั่นในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ชินวัตรอยู่ในระดับใด ความเชื่อมั่นในการแก้ไขปัญหายาเสพติดของรัฐ บาลนางสาวยิ่งลักษณ์ชินวัตรอยู่ระดับใด ภูมิภาค รวมกรุงเทพฯ และปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ 1. ปานกลาง 25.20 17.70 19.30 19.70 18.10 45.56 2. ค่อนข้างมาก 11.90 20.90 25.90 21.20 20.10 25.18 3. มากที่สุด 9.80 23.90 18.40 30.70 17.20 14.76 4. ค่อนข้างน้อย 33.80 22.10 13.00 20.80 10.40 6.97 5. น้อย 40.60 36.20 7.20 1.40 14.50 6.25 6. ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 7.10 42.90 7.10 28.60 14.30 1.27 รวม 20.9 21.2 19.5 20.7 17.7 100 การวิสามัญฆาตกรรมโดยเจ้าหน้าที่รัฐแ ต่อ้างว่าเป็นการฆ่าตัดตอนในหมู่ผู้ค้ายาเ สพติดกันเอง ภูมิภาค กรุงเทพฯ และปริมณฑล ภาคกลาง ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคเหนือ
  • 21. 14 ตารางที่ 5 .ค่าคะแนนความพึงพอใจ ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดภาพรวมของรัฐบาลเปรียบเทียบระหว่างสามรัฐบาล (คะแนนเต็ม 10) ความพึงพอใจในการแก้ไขปัญหายาเสพติดภาพรวมของรัฐบาล ค่าเฉลี่ย S.E รัฐบาลพ.ต.ทดร.ทักษิณ ชินวัตร 7.70 1.87 1. มี ยอมรับไม่ได้ 2. มี ยอมรับได้ 18.90 25.80 19.30 26.70 27.00 19.10 18.40 9.10 16.40 19.10 3. ไม่มี 25.40 14.90 4.50 41.00 14.20 4. ไม่ทราบ/ไม่แน่ใจ 13.40 20.70 10.40 34.10 21.30 รวม 20.9 21.2 19.5 20.7 17.7
  • 22. 15 รัฐบาลนายกนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร 6.62 1.68 รัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ 6.08 1.71 3.1.5 ตารางค่าคะแนนความพึงพอใจ ในการแก้ไขปัญหายาเสพติดภาพรวมของรัฐบาลเปรียบเทียบระหว่างสามรัฐบาล บทที่ 4 อภิปรายผลการทดลอง จำกผลกำรดำเนินกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดทุกยุคทุกสมัยมีลักษณะกำรแก้ไขปัญหำที่ปลำยเหตุ ก ำ ร ติ ด ย ำ เ ส พ ติ ด เ กิ ด จ ำ ก ก ำ ร ที่ เ ด็ ก อ ย ำ ก ล อ ง อ ย ำ ก รู้ ต ำ ม เ พื่ อ น
  • 23. 16 แ ล ะ ร ว ม ไ ป ถึ ง ก ำ ร ดู แ ล ใ ห้ ค ว ำ ม รั ก กั บ ค น ใ น ค ร อ บ ค รั ว สภำวะสิ่งแวดล้อมล้วนมีผลทั้งหมดเมื่อเด็กอยำกลองอยำกรู้จึงทำให้เด็กติดสำรเสพติด เพรำะฉะนั้นเรำจึงให้ควำมรู้เกี่ยวกับสำรเสพติดว่ำมีโทษและไม่ดีอย่ำงไรและช่วยกันแก้ไข 4.1ประเภทของยาเสพติด จาแนกตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาท แบ่งเป็น 4 ประเภท 4.1.1ประเภ ทกดประสำท ได้แก่ฝิ่ น มอร์ฟี น เฮโรอีน ยำนอนห ลับ ยำระงับประสำท ยำกล่อมประสำท เครื่องดื่มมึนเมำบำร์บิทูเรต ทุกชนิด รวมทั้ง สำรระเหยเช่น ทินเนอร์ แล็กเกอร์ น้ำมันเบนซิน กำวเป็นต้น มักพบว่ำผู้เสพติดมีร่ำงกำยซูบซีด ผอมเหลือง อ่อนเพลีย ฟุ้ งซ่ำน อำรมณ์เปลี่ยนแปลงง่ำย 4.1.2ประเภทกระตุ้นประสำท ได้แก่ยำบ้ำ ยำไอซ์ ยำอี กระท่อม โคเคน เครื่องดื่มคำเฟอีน มักพ บว่ำผู้เสพ ติด จะ มีอำกำร ห งุดห งิด กระ วน กระ วำย จิตสับสน ห วำดระ แ วง บำงครั้งมีอำกำรคลุ้มคลั่ง หรือทำในสิ่งที่คนปกติ ไม่กล้ำทำ เช่น ทำร้ำยตนเอง หรือฆ่ำผู้อื่น เป็นต้น 4.1.3ประเภทหลอนประสำท ได้แก่แอลเอสดี เห็ดขี้ควำย ดี.เอ็ม.ที.และ ยำเค เป็ น ต้น ผู้ เ ส พ ติ ด จ ะ มี อ ำ ก ำ ร ป ร ะ ส ำ ท ห ล อ น ฝั น เ ฟื่ อ ง หู แ ว่ ว ได้ยิน เสียงประห ลำดห รือเห็ น ภำพ ห ลอน ที่น่ำเกลียดน่ำกลัว ควบคุมตน เองไม่ได้ ในที่สุดมักป่วยเป็นโรคจิต 4.1.4ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสำน คือทั้งกระตุ้นกดและหลอนประสำทร่วมกัน ผู้เสพติดมักมี อำกำรหวำดระแวง ควำมคิดสับสน เห็นภำพลวงตำ หูแว่ว ควบคุมตนเองไม่ได้และป่วยเป็นโรคจิตได้แก่ กัญชำ 4.2จาแนกตามแหล่งที่มา 4.2.1จำกธรรมชำติ เช่นฝิ่น มอร์ฟีน กระท่อม กัญชำ ฯลฯ 4.2.2จำกกำรสังเครำะห์ เช่นเฮโรอีน แอมเฟตำมีน ยำอี เอ็คตำซี ฯลฯ  การป้ องกันปัญหายาเสพติด
  • 24. 17 สถำบันทำงสังคมควรต้องมีบทบำทหน้ำที่สำคัญในกำรป้ องกันปัญหำนี้พอจะแยกบทบำทหน้ำที่ใน กำรป้องกันปัญหำยำเสพติดของสถำบันทำงสังคมในระดับรำกหญ้ำได้ดังนี้ 4.3บทบาทของสถาบันครอบครัว สถำบันครอบครัวถือเป็นสถำบันแรกที่มีบทบำทหน้ำที่ในกำรป้ องกันปัญหำยำเสพติดโดยตรงกำรอ บรมเลี้ยงดูเป็นกระบวนกำรที่ทำให้มนุษย์รู้กฎเกณฑ์ทำงสังคมโดยผ่ำนทำงผู้ให้กำรอบรมทำให้คน คนนั้นเกิดกำรเรียนรู้และเกิดกำรประพฤติปฏิบัติตำมกระบวนกำรอบรมเลี้ยงดูจะอบรมกล่อมเกลำเ ด็ ก ตั้ ง แ ต่ เ กิ ด ดั ง นั้ น ส ถ ำ บั น ค ร อ บ ค รั ว โ ด ย เ ฉ พ ำ ะ พ่ อ แม่เป็นผู้ที่มีบทบำทหน้ำที่สำคัญในกำรอบรมเลี้ยงดูให้ควำมรู้สิ่งไหนดีไม่ดีสิ่งไหนควรทำไม่ควร ทำจะต้องปลูกฝังค่ำนิยมที่ดีให้กับลูกรวมถึงกำรประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่ำงที่ดี 4.4บทบาทของสถาบันชุมชน คน ใ น ชุมช น ป ระ พ ฤ ติป ฏิ บัติต น เป็ น แ บ บ อย่ำง ที่ ดีใ ห้ กับ เด็ก แล ะ เยำวช น เ ด็ ก แ ล ะ เ ย ำ ว ช น ย่ อ ม เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต แ ล ะ เ รี ย น รู้ แ ต่ สิ่ ง ดี ๆ จำกชุมชนชุมชนจึงมีส่วนสำคัญในกำรป้ องกันปัญหำยำเสพติด โดยเฉพำะชุมชนที่มีขนำดเล็ก 4.5บทบาทของโรงเรียน โ ร ง เ รี ย น เ ป็ น อี ก ส ถ ำ บั น ห นึ่ ง ที่จะต้องทำหน้ำที่เชื่อมต่อจำกสถำบันครอบครัวโรงเรียนเป็นสถำบันที่ทำหน้ำที่อบรมสั่งสอนที่กว้ ำง กว่ำครอบครัว และ เป็ น ส ถำบัน ที่เด็กต้อง ใ ช้ชี วิตอ ยู่ใ น โรง เรียน น ำน มำก และอยู่ในช่วงวัยของกำรเรียนรู้ กำรเลียนแบบ กำรจดจำ ดังนั้ น ส ถำบัน โรงเรี ยน จึง จะ ต้อง มีบ ทบ ำท และ ห น้ ำที่ม ำกกว่ำใ น อดี ต นอกจำกจะทำหน้ำที่ถ่ำยทอดให้ควำมรู้แล้วสถำบันโรงเรียนจะต้องทำหน้ำที่เหมือนสถำบันครอบค รัวแ ห่ ง ที่ 2 ซึ่ ง จ ะ ต้อง ค อย ท ำห น้ ำที่ ป ลู ก ฝั ง ค่ำนิ ยมที่ ดี ใ ห้ ค ว ำมอ บ อุ่น และคอยให้คำปรึกษำที่ถูกต้องแก่เด็กและเยำวชนของชำติ 4.6บทบาทของสถาบันศาสนา สถำบันศำสนำ เป็ น สถำบัน อีกสถำบันห นึ่ งที่เป็ นที่เคำรพ นับถือของคนในชุมช น ค น ใ น ชุ ม ช น จ ะ ใ ห้ ค ว ำ ม เ ก ร ง ใ จ เ ป็ น พิ เ ศ ษ
  • 25. 18 และคนในชุมชนยังยึดถือแบบอย่ำงที่ดีงำมของสถำบันศำสนำเพื่อเป็นแนวทำงในกำรดำเนินวิถีชีวิต และทำหน้ำที่ถ่ำยทอดศำสนำยังเป็นผู้ที่ประพฤติปฏิบัติเป็นแบบอย่ำงที่ดีให้กับคนในชุมชน  ผลการศึกษา 1. ได้รู้ถึงโทษและภัยของสำรเสพติด 2. รู้จักป้องกันตัวเองไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับสำรเสพติด 3. รู้ประเภทของยำเสพติด
  • 26. 19 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายและข้อเสนอแนะ กลุ่มข้ำพเจ้ำได้ควำมรู้เกี่ยวกับยำเสพติดซึ่งยำเสพติดนี้ได้สร้ำงปัญหำมำกมำยในสังคมไทย ทำให้สังคมไทยเสื่ อมลงมำก กลุ่มข้ำพเจ้ำนำควำมรู้ที่ได้รับมำช่วยคนใน สังคมไทย โ ด ย ก ำ ร ศึ ก ษ ำ จ ำ ก โ พ ล ส ำ ร ว จ ต่ ำ ง ๆ เพื่อนำมำวิเครำะห์และพัฒนำโดยกำรรณรงค์สร้ำงสื่อต่ำงๆเพื่อลดสิ่งเสพติดที่ทำให้สังคมไทยขำด กำรพัฒนำทำให้คนไม่มีประสิทธิภำพ ข้อเสนอแนะ 1.จัดประชุมในเรื่องกำรติดสำรเสพติดเพื่อให้โรงเรียนและสถำนที่ใกล้เคียงให้ปลอดภัยจำกยำเสพติ ด 2.ทำป้ำยรณรงค์กำรต่อต้ำนยำเสพติดเพื่อให้สังคมไทยมีควำมเข้มแข็งในกำรต่อต้ำนยำเสพติด 3.สอดแทรกเนื้อหำให้มำกขึ้นเพื่อโครงงำนจะได้มีประสิทธิภำพมำกกว่ำเดิม
  • 27. 20 บรรณานุกรม สำนักงำนป้องกันและบำบัดกำรติดยำเสพติด สำนักอนำมัย กรุงเทพมหำนคร เข้ำถึงได้จำก : http://office.bangkok.go.th/doh/daptd/Knowledge/knowledge001.html ( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14กุมภำพันธ์ 2558) อ.วีระวรรณ วรรณโท กำรเขียนบรรณำนุกรม เข้ำถึงได้จำก: http://www.bangkapi.ac.th/MediaOnLine/weerawanWMD/unit5_part13.htm ( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14กุมภำพันธ์ 2558) สภ.อรัญประเทศ สระแก้วโทษและพิษภัย ของยำเสพติด ตอนที่ 1 เข้ำถึงได้จำก: https://www.youtube.com/watch?v=Xbbzgm7pUDk ( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14 กุมภำพันธ์ 2558) สำรำนุกรมไทยสำหรับเยำวชนฯ /เล่มที่ ๙ /เรื่องที่ ๑๓ ยำเสพติดให้โทษและวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสำท / สำเหตุของปัญหำยำเสพติด เข้ำถึงได้จำก: http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=9&chap=13&page=t9-13- infodetail02.html ( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14กุมภำพันธ์ 2558) ตัวอย่ำงกำรเขียนโครงงำน 5บท เข้ำถึงได้จำก:http://www.slideshare.net/chaipalat/5-15276577 ( วันที่ค้นข้อมูล วันที่ 14กุมภำพันธ์ 2558)
  • 28. 21
  • 29. 22