SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
บทที่ 1
ที่มาและความสาคัญ
1.1 ที่มาและความสาคัญ
เนื่องด้วยแถวบ้านข้าพเจ้าและตามชุมชนสามารถหาต้นกล้วยได้ง่ายเป็นพืชที่พบเห็นอยู่ตามทุกภาคของประเทศ
เป็นพืชที่มีประโยชน์มากมายกระดาษเป็นวัสดุชนิดหนึ่งที่มนุษย์รู้จักผลิตและใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณเมื่อ 5พันปีมาแล้ว
ชนชาติจีนเป็นพวกแรกที่รู้จักวิธีทากระดาษโดยวัสดุฟางข้าวเศษผ้าขี้ริ้วแหอวนที่ขาดๆและเปลือกไม้บางชนิดเช่น
เปลือกต้นหม่อนเป็นวัตถุดิบในการทากระดาษในยุคต้นๆทาด้วยมือทั้งสิ้น
ทุกส่วนของต้นกล้วยสามารถที่จะนาไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายเช่นกาบกล้วยสามารถนามาให้หมูกินได้
ผลของกล้วยก็สามารถนามารับประทานได้และกาบกล้วยสามารถทาเป็นกระดาษห่อของขวัญกรอบรูปสมุดหนังสือ
และยังลดปัญหาโลกร้อนซึ่งเกิดจากกการตัดไม้ทาลายป่าและยังลดปริมาณขยะมี่เกิดจากกระดาษ
เนื่องจากกลุ่มข้าพเจ้าได้ศึกษากระดาษจากกาบกล้วยจึงต้องการนามาพัฒนาต่อจากเดิมที่เคยได้ศึกษามา
ด้วยปัจจุบันกระดาษที่สามาถนามาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ
นอกจากการเขียนรายงานแต่ส่วนมากกระดาษที่ใช้ในการตกแต่ง
เขียนการ์ดในโอกาสเทศกาลต่างๆนั้นค่อนข้างมีราคาสูงกลุ่มของข้าพเจ้าจึงจะทากระดาษที่เหมาะสม
สามารถตกแต่งใช้ในเทศกาลต่างๆได้ หรือนาไปเขียนรายงานแล้วแต่โอกาสตามที่ต้องการ
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ศึกษาค้นคว้าโดยการนากาบกล้วยมาทาเป็นกระดาษเพราะต้นกล้วยเป็นพืชที่ปลูกกันทั่วไ
ปและเมื่อนามาทากระดาษจะมีลักษณะและคุณสมบัติที่นามาใช้จริงได้และสามารถนามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิ
ตประจาวันได้มากมายเช่นนาลาเป็นสินค้าผลไม้เป็นอาหารที่ช่วยเพิ่มรายได้ทางเศรษกกิจของชุมชน
ส่วนต้นกล้วยที่เหลือก็มีปริมาณมากพอที่จะใช้เป็นวัตถุดิบทาอย่างอื่นได้ รวมทั้งเป็นการเพิ่มพูนความรู้
เพื่อเป็นการพัฒนาหลักสูตรการทากระดาษได้ต่อไปในอนาคต
1.2วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาคุณภาพของกระดาษ
2.เพื่อศึกษาการนากาบกล้วยมาทาเป็นกระดาษ
1.3 สมมุติกาน
กาบกล้วยสามารถนามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้
1.4 ตัวแปร
ตัวแปรต้น ปริมาณแป้ งมัน
ตัวแปรตาม คุณภาพของกระดาษ
ตัวแปรควบคุม 1. ปริมาณน้า
2.ระยะในเวลาต้ม
3.ระยะในการตากกระดาษกาบกล้วย
4.ปริมาณโซดาไฟ
1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ใช้วัสดุจากธรรมชาติลดปริมาณขยะ
2. สามารถนากระดาษมาทาผลิตภัณฑ์อื่นๆอีกมากมายเช่นถุงสมุด หนังสือกรอบรูปกระดาษห่อของขวัญ
กล่อง ฯลฯ
3. ลดการตัดไม้ใหญ่มาทากระดาษ
4. ลดปัญหาโลกร้อนซึ่งเกิดจากกการตัดไม้ทาลายป่า
5. สามารถนาส่วนของต้นกล้วยมาใช้ให้เกิดประโยชน์
6. ลดปริมาณขยะมี่เกิดจากกระดาษ
7. เพื่อนากระดาษกาบกล้วยไปทาผลิตภัณฑ์อื่นๆได้
8. เพื่อนาต้นกล้วยและกระดาษเหลือใช้มารียูตให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่
1.6ขอบเขตกระศึกษา
ตั้งแต่เดือนพ.ค.-ก.ค.57
1.7 คานิยามศัพท์เฉพาะ
คุณภาพกระดาษ : กระดาษจากกาบกล้วยที่มีความคงทนเหนียวไม่ฉีกขาดมีสีสันสวยงาม
กระดาษกาบกล้วย:กระดาษที่ได้จากการนาส่วนประกอบของต้นกล้วยคือลาต้นมาปั่นให้ละเอียดโดยร่อนบน
ตะแกง
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa sapientum L.
วงศ์ : Musaceae
ชื่อสามัญ: Banana
ชื่ออื่น: กล้วยมะลิอ่อง(จันทบุรี) กล้วยใต้(เชียงใหม่,เชียงราย) กล้วยอ่อง(ชัยภูมิ) กล้วยตานีอ่อง(อุบลรธานี)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุกสูง 2-4.5 เมตร มีลาต้นใต้ดินลาต้นเหนือดินเกิดจากกาบใบหุ้มซ้อนกันใบ เดี่ยว
เรียงสลับซ้อนกันรอบต้นที่ปลายยอดรูปขอบขนานกว้าง25-40 ซม. ยาว1-2 เมตรผิวใบเรียบมันท้องใบสีอ่อนกว่า
มีนวล ดอก ช่อเรียกว่าหัวปลีออกที่ปลายยอดใบประดับหุ้มช่อดอกสีแดงหรือม่วงกลีบดอกสีขาวบางผล เป็นผลสด
กล้วยเป็นพรรณไม้ล้มลุกในสกุลMusaมีหลายชนิดในสกุลบางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ
ใบแบนยาวใหญ่ ก้านใบตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลาต้นออกดอกที่ปลายลาต้นเป็นปลีและมักยาวเป็นงวง
มีลูกเป็นหวีๆ รวมเรียกว่าเครือพืชบางชนิดมีลาต้นคล้ายปาล์มออกใบเรียงกันเป็นแถวทานองพัดคลี่คล้ายใบกล้วยเช่น
กล้วยพัด(Ravenalamadagascariensis) ทว่าความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่นที่มิใช่ทั้งปาล์มและกล้วย
กล้วยเป็นไม้ดอกล้มลุกขนาดใหญ่ ทุกส่วนเหนือพื้นดินของกล้วยเจริญจากส่วนที่เรียกว่า"หัว"หรือ"เหง้า"
ปกติแล้วต้นกล้วยจะสูงและแข็งแรงพอสมควรทาให้เข้าใจผิดว่าเป็นต้นไม้ ซึ่งแท้จริงแล้วส่วนที่คล้ายกับลาต้นคือ
"ลาต้นเทียม"(pseudostem) ใบของกล้วยประกอบด้วย"ก้านใบ"(petiole) และแผ่นใบ(lamina)
กานก้านใบแผ่ออกเป็นกาบกาบที่รวมตัวกันอย่างหนาแน่นทาให้เกิดลาต้นเทียมมีหน้าที่ชูก้านใบ
พยุงให้พืชตั้งตรงดูคล้ายต้นไม้ เมื่อแรกเจริญขอบของกาบจะจรดกันคล้ายท่อเมื่อมีใบเจริญขึ้นใหม่ที่ใจกลางลาต้นเทียม
ขอบกาบที่จรดกันนั้นก็จะแยกออกจากกันพันธุ์กล้วยนั้นมีความผันแปรมากขึ้นอยู่กับพันธุ์ปลูกและสภาพแวดล้อม
โดยมากสูงประมาณ5เมตร (16 ฟุต)จาก 'กล้วยหอมแคระ(Dwarf Cavendish)'ซึ่งสูงประมาณ3เมตร (10 ฟุต)
ไปจนถึง 'กล้วยหอมทอง(Gros Michel)'ที่สูงประมาณ7เมตร (23 ฟุต)
หรือมากกว่าใบแรกเจริญจะขดเป็นเกลียวก่อนที่จะแผ่ออกอาจยาวได้ถึง 2.7เมตร (8.9 ฟุต)และกว้าง60 ซม (2.0
ฟุต)[6] แผ่นใบมีขนาดใหญ่ ปลายใบมนรูปใบขอบขนาน โคนใบมน มีสีเขียวใบฉีกขาดได้ง่ายจากลม
ทาให้บางครั้งมองดูคล้ายใบเฟิร์นรากเป็นระบบรากฝอยแผ่ไปทางด้านกว้างมากกว่าทางแนวดิ่งลึก
ต้นกล้วยที่มีผลและหัวปลี
เมื่อกล้วยเจริญเติบโตเต็มที่หัวจะสร้างใบสุดท้ายที่เรียกว่า"ใบธง"จากนั้นจะหยุดสร้างใบใหม่และเริ่มสร้างช่อดอก
(inflorescence)ลาต้นที่มีช่อดอกอ่อนบรรจุอยู่จะพัฒนาขึ้นภายในลาต้นเทียม
จนในที่สุดมันก็โผล่ออกที่ด้านบนลาต้นเทียมแต่ละลาต้นเทียมจะสร้างช่อดอกเพียงช่อเดียวซึ่งรู้จักกันในชื่อ"ปลี
(bananaheart)"(บางครั้งมีกรณีพิเศษเช่นกล้วยในประเทศฟิลิปปินส์สร้างปลีขึ้นมาห้าหัว)
ช่อดอกประกอบด้วยกลุ่มของช่อดอกย่อยเป็นกลุ่มๆมีใบประดับสีม่วงแดงหรือที่เรียกว่า"กาบปลี"
(บางครั้งมีการเข้าใจผิดเรียกเป็นกลีบดอก)ระหว่างแถวของช่อดอกย่อยช่อดอกย่อยแต่ละช่อมีดอกเรียงซ้อนกันอยู่ 2
แถวดอกตัวเมีย(ที่สามารถเจริญเป็นผลได้)จะอยู่ในช่อดอกย่อยที่บริเวณโคนปลี(ใกล้กับใบ)ดอกตัวผู้จะอยู่ที่ปลายปลี
หรือส่วนที่เรียกว่า"หัวปลี"รังไข่อยู่ต่ากว่าซึ่งหมายความว่ากลีบดอกขนาดเล็กและส่วนอื่นๆของดอกจะอยู่ในปลายรังไข่
หลังให้ผลลาต้นเทียมจะตายลงแต่หน่อหรือตะเกียงจะพัฒนาขึ้นจากตา(bud) ที่หัวส่งผลให้กล้วยเป็นพืชหลายปี
หากเกิดขึ้นหลายหน่อพร้อมกันจะเรียกว่า "การแตกกอ"ในระบบการเพาะปลูก
จะอนุญาตให้เจริญเติบโตเพียงหน่อเดียวเท่านั้นเพื่อให้ง่ายต่อการจัดสรรพื้นที่
ผลกล้วยพัฒนาจากดอกเพศเมียกลุ่มของดอกเพศเมีย 1กลุ่มเจริญเป็นผลเรียกว่า"หวี(hands)"ซึ่งหวีหนึ่งๆ
มีผลกล้วยประมาณ20ผล กลุ่มหวีบนช่อดอกเจริญเป็น"เครือ(bananastem)"ซึ่งอาจมี 3-20 หวี
ผลของกล้วยมีการเจริญได้โดยไม่ต้องผสมพันธุ์จึงทาให้กล้วยส่วนใหญ่ไม่มีเมล็ด
ดอกตัวเมีย(ซึ่งจะเจริญไปเป็นผล)มีกลีบดอกและส่วนอื่นที่ปลายรังไข่(รังไข่อยู่ต่ากว่า(inferior))
ผลกล้วยได้รับการบรรยายเป็น"leatheryberry (ลูกเบอร์รี่ที่คล้ายแผ่นหนัง)"[13] มีชั้นป้ องกันภายนอก(เปลือก)
มีสายบางๆตามยาว(มัดท่อลาเลียงโฟลเอ็ม)อยู่ระหว่างเปลือกและส่วนที่รับประทานได้ภายใน
เนื้อกล้วยมีเนื้อนิ่มสีเหลืองมีรสหวานคล้ายขนมเมล็ดกล้วยมีลักษณะกลมเล็กบางพันธุ์มีขนาดใหญ่ เปลือกหนาแข็ง
มีสีดาสาหรับในสายพันธุ์ปลูกเมล็ดกล้วยมีขนาดเล็กมากเกือบจะไม่มีเลยเหลือแค่เพียงจุดสีดาเล็กๆภายในเนื้อกล้วย
ประโยชน์ทางสมุนไพร: ตารายาไทยใช้ผลดิบซึ่งมีสารแทนนินมากรักษาอาการท้องเสียและบิด
โดยกินครั้งละครึ่งหรือหนึ่งผลมีรายงานว่า
มีฤทธิ์ป้ องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนูขาวที่ถูกกระตุ้นด้วยยาแอสไพริน
เชื่อว่าฤทธิ์ดังกล่าวเกิดจากการถูกกระตุ้นผนังกระเพาะอาหารให้หลั่งสารเมือกออกมามากขึ้น
จึงนามาทดลองรักษาโรคกระเพาะอาหารของคนโดยใช้กล้วยดิบหั่นเป็นแว่นตากแห้งบดเป็นผงกินวันละ 4 ครั้งๆละ 1-
2 ช้อนแกง ก่อนอาหารและก่อนนอนอาจทาให้เกิดอาการท้องอืดซึ่งป้ องกันได้โดยกินร่วมกับยาขับลมเช่นขิง
สกุลMusa จัดอยู่ในวงศ์ Musaceae ตามระบบAPGIII กาหนดให้ Musaceae อยู่ในอันดับ Zingiberales
เป็นส่วนหนึ่งในเครือบรรพบุรุษcommelinid ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
บางแหล่งอ้างว่าชื่อMusa ได้รับการตั้งชื่อตามแอนโตนิอุสมูซา(AntoniusMusa)
นักพฤกษศาสตร์และแพทย์ประจาประองค์ของจักรพรรดิออกัสตัสแหล่งอื่นกล่าวว่าคาโรลัสลินเนียสผู้ตั้งชื่อสกุลในปี ค.ศ.
1750 ได้ดัดแปลงมาจากคาว่าmauzซึ่งแปลว่ากล้วยในภาษาอาหรับคาว่าbanana
ในภาษาอังกฤษมีรากมากจากภาษาโวลอฟคาว่า banaanaมีพืช70 ชนิดในสุกล Musa ที่ได้รับการบันทึกในWorld
Checklistof SelectedPlantFamilies(รายการตรวจสอบวงศ์พืชทั่วโลก)เมื่อเดือนมกราคมค.ศ.2013
มีหลายชนิดที่ผลรับประทานได้ ขณะที่บางชนิดปลูกไว้เป็นไม้ประดับ
การจัดจาแจกกล้วยเป็นปัญหามาช้านานสาหรับนักอนุกรมวิธาน
เดิมลินเนียสจาแนกกล้วยออกเป็นสองชนิดบนพื้นกานของการนาไปใช้เป็นอาหารคือMusa sapientum
สาหรับกล้วยและMusaparadisiacaสาหรับกล้ายภายหลังชื่ออีกหลายชนิดก็ถูกเพิ่มเติมเข้าไปอย่างไรก็ตาม
วิธีการนี้ได้พิสูจน์ว่ามันไม่ดีพอที่จะจัดการจานวนพันธุ์ปลูกซึ่งมีจานวนมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งเป็นศูนย์กลางคว
ามหลากหลายของสกุลหลายพันธุ์ปลูกที่ได้รับการตั้งชื่อได้ถูกพิสูจน์ว่าเป็นเพียงชื่อพ้อง
ในชุดเอกสารที่ตีพิมพ์หลังค.ศ.1947 เออเนส์ต ชีสแมน (ErnestCheesman) แสดงให้เห็นว่าMusasapientum และ
Musa paradisiacaของลินเนียสเป็นแค่พันธุ์ปลูกและสืบเชื้อสายมาจากกล้วยป่าสองชนิดคือMusa acuminataและ
Musa balbisianaซึ่งได้รับการจัดจาแนกโดยลุยจีอาลอย์ซีอุสคอลลา(Luigi AloysiusColla)
เขาแนะนาให้ยกเลิกสปีชีส์ของลินเนียสและสนับสนุนให้จัดจาแนกกล้วยใหม่ตามกลุ่มที่มีสัณกานวิทยาที่ต่างกันสามกลุ่ม
กลุ่มที่แสดงออกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของMusabalbisiana
กลุ่มที่แสดงออกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของMusaacuminata
และกลุ่มที่แสดงออกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่ผสมกันระหว่างสองชนิดข้างต้นนักวิจัยนอร์แมนซิมมอนด์
(NormanSimmonds) และเคนเชปเฟิด (KenShepherd) เสนอระบบการตั้งชื่อบนพื้นกานของจีโนมในค.ศ.1955
ระบบนี้ได้ขจัดความยากและความไม่สอดคล้องของการจัดจาแนกกล้วยก่อนหน้าที่ตั้งอยู่บนพื้นกาน Musasapientum
และ Musa paradisiacaของลินเนียสถึงอย่างไรก็ตาม
ปัจจุบันชื่อเดิมยังคงถูกใช้โดยผู้แต่งบางคนซึ่งนาไปสู่ความสับสน
ปัจจุบัน ชื่อวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของกล้วยคือMusaacuminataCollaและMusa balbisianaColla
สาหรับสปีชีส์บรรพบุรุษและMusa × paradisiacaL. สาหรับลูกผสมM.acuminata× M. balbisianaชื่อพ้องของ
M. × paradisicaประกอบด้วย:
ชื่อชนิดย่อยและชื่อพันธุ์จานวนมากของM.× paradisiaca, รวมถึงM. p.subsp.sapientum(L.) Kuntze
Musa × dacca Horan.
Musa × sapidisiacaK.C.Jacob,nom.superfl.
Musa × sapientumL. และชื่อพันธุ์จานวนมากของมันรวมถึงM.× sapientumvar.paradisiaca(L.) Baker,
nom.illeg.
โดยทั่วไปแล้วการจัดจาแนกพันธุ์ปลูกของกล้วยในปัจจุบันยึดตามระบบของซิมมอนด์และเชปเฟิด
พันธุ์จะได้รับการจัดกลุ่มบนพื้นกานของจานวนโครโมโซมที่มีและสปีชีส์ที่เป็นบรรพบุรุษดังนั้นกล้วยไข่(Latundan
banana) ที่จัดอยู่ในกลุ่มAAB แสดงให้เห็นว่ามันเป็นtriploid(มีโครโมโซม3ชุด) ที่กาเนิดมาจากทั้งM.acuminata
(A) และM. balbisiana(B) สาหรับรายชื่อพันธุ์กล้วยภายใต้การจัดจาแนกด้วยระบบนี้สามารถดูเพิ่มได้ที่พันธุ์กล้วย
ใน ค.ศ.2012 ทีมนักวิทยาศาสตร์ประกาศว่าพวกเขาได้ประสบความสาเร็จในการร่างลาดับจีโนมของ Musa
acuminate
การจาแนกกลุ่มของกล้วย
การจาแนกกลุ่มของกล้วยทาได้ 2วิธี คือ จาแนกตามวิธีการนามาบริโภคและจาแนกตามลักษณะทางพันธุกรรม
การจาแนกตามลักษณะทางพันธุกรรม
หลังปี ค.ศ. 1955 นักวิชาการได้จาแนกพันธุ์กล้วยตามพันธุกรรมโดยใช้จีโนมของกล้วยเป็นตัวกาหนดในการแยกพันธุ์
กล้วยที่นิยมบริโภคกันในปัจจุบันมีบรรพบุรุษเพียง2ชนิด คือ กล้วยป่าและกล้วยตานี
กล้วยที่มีกาเนิดจากกล้วยป่ามีจีโนมเป็นAA กล้วยที่มีกาเนิดจากกล้วยตานีมีจีโนมเป็นBB
ส่วนกล้วยที่เกิดจากลูกผสมของกล้วยทั้ง2ชนิดจะมีจีโนมแตกต่างกันไปนอกจากนี้
ซิมมอนด์และเชปเฟิดได้เสนอให้ใช้ลักษณะทางสัณกานวิทยารวมทั้งหมด 15 ลักษณะมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาคือ
สีของกาบใบร่องของกาบใบก้านช่อดอก ก้านดอกออวุล ไหล่ของกาบปลีการม้วนของกาบปลี รูปร่างของกาบปลี
ปลายของกาบปลีการซีดของกาบปลีรอยแผลของกาบปลีกลีบรวมเดี่ยวสีของดอกเพศผู้ สีของยอดเกสรเพศเมีย
และสีของกาบปลี
การจาแนกตามวิธีการนามาบริโภค
การจาแนกกล้วยตามวิธีการนามาบริโภคสามารถแบ่งกล้วยออกเป็น2 กลุ่มคือกล้วยกินสด
เป็นกล้วยที่เมื่อสุกสามารถนามารับประทานได้ทันทีโดยไม่ต้องนามาทาให้สุกด้วยความร้อนเพราะเมื่อสุกเนื้อจะนิ่ม
มีรสหวานเช่นกล้วยไข่กล้วยหอมทองกล้วยหอมเขียวและกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารเป็นกล้วยที่เมื่อดิบมีแป้ งมาก
เนื้อค่อนข้างแข็ง เมื่อสุกยังมีส่วนของแป้ งอยู่มากกว่ากล้วยกินสดมากเนื้อจึงไม่ค่อยนิ่มรสไม่หวานต้องนามาต้มเผาปิ้ง
เชื่อม จึงจะทาให้อร่อยรสชาติดีขึ้นเช่น กล้วยกล้ายกล้วยหักมุกกล้วยเล็บช้างกุด
ในพื้นที่ เช่น ทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรปผลไม้สกุล Musaที่วางจาหน่ายได้แบ่งเป็น"กล้วย"และ"กล้าย"
บนพื้นกานของการนาไปใช้เป็นอาหารดังนั้นผู้ผลิตและชีกีตา(Chiquita)
ซึ่งเป็นผู้จัดจาหน่ายได้ผลิตวัสดุประชาสัมพันธ์สาหรับตลาดอเมริกาที่บอกว่า"กล้ายไม่ใช่กล้วย"
ความแตกต่างนั้นคือกล้ายมีแป้ งมากกว่าและหวานน้อยกว่านิยมทานสุกกว่ากว่าทานดิบมีเปลือกหนาสีเขียวเหลือง
หรือดา ซึ่งสามารถใช้บอกสถานะของความสุกงอมได้
ลินเนียสได้สร้างความแตกต่างระหว่างกล้วยและกล้ายดังกล่าวขึ้นเมื่อแรกตั้งชื่อ"สปีชีส์"ทั้งสองของ Musa
สมาชิกของพันธุ์กล้วย"กลุ่มย่อยกล้าย"
ที่เป็นอาหารที่สาคัญมากในแอฟริกาตะวันตกและละตินอเมริกามีลักษณะยาวแหลม
ซึ่งมันได้รับการจาแนกว่าเป็นกล้ายแท้โดยพลอตซ์และคณะ(Ploetzetal.) ต่างจากกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารพันธุ์อื่น
กล้ายที่สูงแอฟริกาตะวันออก(EastAfricanHighlandbanana)
ซึ่งเป็นกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารในแอฟริกาตะวันออกนั้นจัดอยู่ในกลุ่มอื่น ดังนั้น
จึงไม่มีคุณสมบัติเป็นกล้ายแท้ตามคานิยามนี้
แนวทางหนึ่งที่จะแบ่งกล้วยออกเป็นกล้วยกินสดและกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร
ซึ่งกล้ายเป็นกลุ่มย่อยหนึ่งของกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารคือพันธุ์ปลูก triploid กาเนิดมาจากM.acuminata
เพียงลาพังจะเป็นกล้วยกินสดในขณะที่พันธุ์ปลูก triploid ที่เป็นลูกผสมระหว่างM.acuminataและM. balbinosa
(โดยเฉพาะกลุ่มย่อยกล้ายเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มAAB) เป็น"กล้าย"(ในที่นี้หมายถึงกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร)
เกษตรกรรายย่อยในประเทศโคลอมเบียปลูกพันธุ์กล้วยหลากหลายมากกว่าสวนเชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่
จากการศึกษาพันธุ์ปลูกเหล่านี้แสดงว่ากล้วยสามารถจัดกลุ่มได้อย่างน้อยสามกลุ่มตามพื้นกานของลักษณะได้แก่
กล้วยกินสดกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารที่ไม่ใช่กล้ายและกล้าย
แม้ว่าจะมีการคาบเกี่ยวกันระหว่างกล้วยกินสดและกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์กลางความหลากหลายของกล้วยทั้งกล้วยป่าและกล้วยพันธุ์ความแตกต่างระหว่าง
"กล้วย"และ "กล้าย"กลับไม่มีความหมายตามข้อมูลของวาลมาเยอร์ (Valmayor) และคณะ
กล้วยหลายพันธุ์ใช้ทั้งรับประทานสดและประกอบอาหาร
กล้วยที่ใช้ประกอบอาหารที่มีแป้ งมีขนาดเล็กกว่ากล้วยรับประทานสดช่วงสีขนาดและรูปทรง
หลากหลายกว่ากล้วยที่ปลูกหรือขายในแอฟริกายุโรป
หรืออเมริกาภาษาเรียกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่บ่งชี้ถึงความแตกต่างระหว่าง"กล้วย"และ"กล้าย"
เหมือนอย่างในภาษาอังกฤษ(และภาษาสเปน)ดังนั้นทั้งพันธุ์กล้วยหอมเขียว(Cavendishbanana)
ซึ่งเป็นกล้วยรับประทานสดที่รู้จักกันดีและพันธุ์กล้วยหิน(Sababanana) ที่นิยมใช้ประกอบอาหารถูกเรียกว่า pisang
(ปีซาง) ในประเทศมาเลเซียและประเทศอินโดนีเซีย, กล้วยในประเทศไทยและchuoi (ชวย)
ในประเทศเวียดนามกล้วยเฟอิ(Fe'i banana) ที่ปลูกและรับประทานในหมู่เกาะของมหาสมุทรแปซิฟิก
มีต้นกาเนิดที่แตกต่างโดยสิ้นเชิงจากกล้วยโบราณและกล้ายกล้วยเฟอิส่วนมากจะใช้ประกอบอาหารแต่กล้วยคาแรต
(Karat banana) ที่มีลักษณะสั้นป้ อมมีเปลือกสีแดงสดต่างจากกล้วยรับประทานสดทั่วไปใช้กินสด
สรุปแล้วในเชิงพาณิชย์ในยุโรปและอเมริกา(แม้ไม่จัดเป็นพื้นที่เพาะปลูกขนาดเล็ก)ได้แยกความแตกต่างระหว่าง"กล้วย"
ซึ่งรับประทานสดและ"กล้าย"ที่ใช้ประกอบอาหารขณะที่ในพื้นที่อื่นๆของโลกโดยเฉพาะอินเดียเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกมีกล้วยหลายชนิดและไม่มีการแยกความแตกต่างระหว่างกล้วยทั้งสองกลุ่ม
และไม่มีการแยกคาในภาษาถิ่นกล้ายเป็นหนึ่งในกล้วยหลายชนิดที่ใช้ประกอบอาหาร
ซึ่งไม่แตกต่างจากกล้วยรับประทานสด
แป้ งมันสาปะหลัง(Cassave Starch)
ทามาจากหัวมันสาปะหลัง มีลักษณะเป็นผงสีขาว จับผิวสัมผัสของแป้ งจะเนียน ล่นมือ
เมื่อทาให้สุกจะเหลวเหนียวหนืดและใช้ เมื่อพักให้เย็นจะมีลักษณะเหนียวเหนอะหนะคงตัว
นิยมนามาผสมกับอาหารที่ต้องการความเหนียวหนืดและใส เช่นทับทิมกรอบ เต้าส่วนฯลฯ
ในการทาขนมหวานไทยนิยมนาแป้ งมันสาปะหลังมาผสม กับแป้ งชนิดอื่นๆ
เพื่อให้ขนมมีความเหนียมนุ่มกว่าการใช้แป้ งชนิดเดียว เช่น ขนมชั้น ขนมฟักทอง ขนมกล้วยฯลฯ
แป้ งมันสาปะหลัง เป็นแป้ งที่ได้จากมันสาปะหลัง ลักษณะของแป้ งมีสีขาว เนื้อเนียน ลื่นเป็นมัน
เมื่อทาให้สุกด้วยการกวนกับน้าไฟอ่อนปานกลางแป้ งจะละลายงายสุกง่าย แป้ งเหนียวติดภาชนะ หนืดข้นขึ้นเรื่อยๆ
ไม่มีการรวมตัวเป็นก้อน เหนียวเป็นใยติดกันหมดเนื้อแป้ งใสเป็นเงา พอเย็นแล้วจะติดกันเป็นก้อนเหนียว ติดภาชนะ
ใช้ทาลอดช่องสิงคโปร์ ครองแครงแก้ว เป็นต้น
โซดาไฟ(causticsoda)
โซดาแผดเผา, โซดาไฟหรือคอสติกโซดา(อังกฤษ:causticsoda) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2542
นิยามว่าคือ"สารประกอบชนิดหนึ่งชื่อ โซเดียมไฮดรอกไซด์(NaOH) เป็นของแข็งสีขาวดูดความชื้นดีมาก
ละลายน้าได้ดีใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทาสบู่ไหมเรยอง"
โซดาไฟถูกใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันและยังใช้ประโยชน์ได้อีกมากมายเช่น
ในการผลิตเยื่อและกระดาษสบู่และผลิตภัณฑ์ซักฟอกเคมีภัณฑ์การทาความสะอาดโรงกลั่นน้ามัน
การใช้งานทางอุตสาหกรรมโลหะอุตสาหกรรมอาหารไหมเรยองสิ่งทอและอื่นๆ
การใช้สารเคมีแก้ปัญหาท่ออุดตัน
เวลาที่ท่อระบายน้าทิ้งต่างๆอุดตันส่วนใหญ่จะนึกถึงโซดาไฟหรือคอสติกโซดา(Causticsoda) หรือ
โซเดียมไฮดรอกไซด์(sodiumhydroxide) บางครั้งรู้จักกันในชื่อสารเคมีผงมันหรือโซดาแผดเผา
สามารถหาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปหรือร้านขายอุปกรณ์ซ่อมแซมบ้านคุณลักษณะสารเคมีเป็นของแข็งสีขาวไม่มีกลิ่น
มีฤทธิ์เป็นด่างยิ่งเข้มข้นมากยิ่งมีฤทธิ์มากร้อนและสามารถกัดผิวหนังให้เปื่อยยุ่ยได้ในระยะเวลาเพียงแค่เสี้ยววินาที
ผู้คนส่วนมากอาจจะไม่รู้ถึงคุณลักษณะของสารเคมีและการทาปฏิกิริยาทางเคมีดีพอ
เมื่อนาไปใช้งานจริงทาให้เกิดปัญหาติดตามมาอย่างคาดไม่ถึงเช่นเวลาที่ท่ออุดตันก็จะไปซื้อโซดาไฟ
มาเทใส่ลงไปในท่อที่อุดตัน(วิธีใช้งานควรใส่โซดาไฟในภาชนะก่อนค่อยๆ
เติมน้าแล้วคนให้ละลายให้หมดก่อนที่จะนาไปเทใส่ท่อระบายน้าเพื่อกันไม่ให้โซดาไฟไปเกาะผนังท่อเพิ่มการอุดตันอีก)
การแก้ไขปัญหาลักษณะนี้สามารถใช้ได้กับการอุดตันบางประเภทเท่านั้นเองเช่นการอุดตันที่เกิดจากคราบไขมัน
คราบสบู่คราบผงซักฟอก
ข้อควรระวังเมื่อใช้โซดาไฟ
โซดาไฟสามารถทาให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้อย่างเฉียบพลัน
ถ้าสูดดมฝุ่ นควันของสารจะทาให้ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจอาจเกิดปอดอักเสบน้าท่วมปอดได้
หากเข้าตาจะมีฤทธิ์ทาลายตั้งแต่ระคายเคืองหรือรุนแรงกระทั่งทาให้ตาบอดได้
หากถูกผิวหนังจะทาให้เกิดการไหม้จนเป็นแผลลึกหากรับประทานเข้าไปจะเกิดการไหม้ในปากลาคอและทางเดินอาหาร
คลื่นไส้ อาเจียนท้องเสียหมดสติ จนถึงขั้นเสียชีวิตได้ ผู้ที่เคยได้รับสารเข้าไปทางปาก
อาจมีการพัฒนากลายเป็นมะเร็งในภายหลัง12-42 ปี หลังจากกินเข้าไป
การปกมพยาบาลเบื้องต้น
ถ้าหายใจเข้าไปให้รีบย้ายผู้ป่วยออกมาให้ได้รับอากาศบริสุทธิ์แล้วรีบนาส่งแพทย์หากเข้าตารีบล้างตาด้วยน้าอุ่นทันที
โดยค่อยๆให้น้าไหลผ่านตา30 นาที เปิดเปลือกตาไว้
พยายามอย่าให้น้าล้างตาไหลข้างที่มีสารเคมีไหลเข้าตาข้างที่ไม่เป็นอะไรโดยเด็ดขาดเมื่อถูกผิวหนังให้รีบล้างออก
โดยให้น้าไหลผ่านบริเวณที่ถูกสารอย่างน้อย 30 นาที พร้อมกับถอดชุด- อุปกรณ์ต่างๆ
ที่เปื้อนสารออกแล้วรีบนาส่งแพทย์ให้เร็วที่สุด
โซดาไฟกับปฏิกิริยาต่อเนื่อง
แม้ว่าโซดาไฟเป็นสารไม่ติดไฟแต่ถ้าสัมผัสกับสารบางชนิดเช่นกรดเข้มข้นหรือทาปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้า
จะทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีกันจนเกิดความร้อนพอเพียงและทาให้สารที่วางอยู่ใกล้สามารถติดไฟได้
การดับเพลิงจึงต้องดูสารที่เป็นคู่ปฏิกิริยาทางเคมีและรวมถึงการเลือกใช้เครื่องดับเพลิงให้ถูกต้องกับเหตุการณ์ด้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์
เรื่อง กระดาษจากกาบกล้วย
โดย กลุ่มที่ 6 ชั้น ม. 5/2
1.นางสาวณักณิชา จันทร์สนอง ม.5/2 เลขที่ 14
2.นางสาวธนพร หนูเกตุ ม.5/2 เลขที่ 15
3. นางสาวเนตรนริทร์ สืบกลัด ม.5/2 เลขที่ 16
4. นางสาวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล ม.5/2 เลขที่ 17
5.นางสาวพิมพ์นิภา วิศิษฏ์รักพงศ์ ม.5/2 เลขที่ 23
ครูที่ปรึกษาโครงงาน
คุณครูทรงศักดิ์ โพธิเอี่ยม
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี

More Related Content

More from Pear Pimnipa

Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำBmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
Pear Pimnipa
 
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
Pear Pimnipa
 
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
Pear Pimnipa
 
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
Pear Pimnipa
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
Pear Pimnipa
 
แก้วสุดล้ำ vessyl
แก้วสุดล้ำ vessylแก้วสุดล้ำ vessyl
แก้วสุดล้ำ vessyl
Pear Pimnipa
 
แก้วสุดล้ำ
แก้วสุดล้ำ แก้วสุดล้ำ
แก้วสุดล้ำ
Pear Pimnipa
 
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทยรู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
Pear Pimnipa
 

More from Pear Pimnipa (18)

Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำBmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
Bmw หมวกกันน็อคสุดล้ำ
 
ตัวแปรชุด
ตัวแปรชุดตัวแปรชุด
ตัวแปรชุด
 
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
 
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
ทัพพีตักข้าววัดแคลอรี่ได้ (ข่าวIt)
 
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
ขวดน้ำอัจฉริยะ Hidrate me
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
โครงงานเสพติด (ใหม่)
โครงงานเสพติด (ใหม่)โครงงานเสพติด (ใหม่)
โครงงานเสพติด (ใหม่)
 
โครงงานเสพติด
โครงงานเสพติดโครงงานเสพติด
โครงงานเสพติด
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
 
บทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติดบทที่1 ยาเสพติด
บทที่1 ยาเสพติด
 
ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1ยาเสพติด บทที่1
ยาเสพติด บทที่1
 
บทที่2
บทที่2 บทที่2
บทที่2
 
ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2ยาเสพติด บทที่ 2
ยาเสพติด บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แก้วสุดล้ำ vessyl
แก้วสุดล้ำ vessylแก้วสุดล้ำ vessyl
แก้วสุดล้ำ vessyl
 
แก้วสุดล้ำ
แก้วสุดล้ำ แก้วสุดล้ำ
แก้วสุดล้ำ
 
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทยรู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
รู้จักกับ“ดินสอมินิ” หุ่นยนต์ดูแลคนแก่ สร้างโดยคนไทย
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 ที่มาและความสาคัญ 1.1 ที่มาและความสาคัญ เนื่องด้วยแถวบ้านข้าพเจ้าและตามชุมชนสามารถหาต้นกล้วยได้ง่ายเป็นพืชที่พบเห็นอยู่ตามทุกภาคของประเทศ เป็นพืชที่มีประโยชน์มากมายกระดาษเป็นวัสดุชนิดหนึ่งที่มนุษย์รู้จักผลิตและใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณเมื่อ 5พันปีมาแล้ว ชนชาติจีนเป็นพวกแรกที่รู้จักวิธีทากระดาษโดยวัสดุฟางข้าวเศษผ้าขี้ริ้วแหอวนที่ขาดๆและเปลือกไม้บางชนิดเช่น เปลือกต้นหม่อนเป็นวัตถุดิบในการทากระดาษในยุคต้นๆทาด้วยมือทั้งสิ้น ทุกส่วนของต้นกล้วยสามารถที่จะนาไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายเช่นกาบกล้วยสามารถนามาให้หมูกินได้ ผลของกล้วยก็สามารถนามารับประทานได้และกาบกล้วยสามารถทาเป็นกระดาษห่อของขวัญกรอบรูปสมุดหนังสือ และยังลดปัญหาโลกร้อนซึ่งเกิดจากกการตัดไม้ทาลายป่าและยังลดปริมาณขยะมี่เกิดจากกระดาษ เนื่องจากกลุ่มข้าพเจ้าได้ศึกษากระดาษจากกาบกล้วยจึงต้องการนามาพัฒนาต่อจากเดิมที่เคยได้ศึกษามา ด้วยปัจจุบันกระดาษที่สามาถนามาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ นอกจากการเขียนรายงานแต่ส่วนมากกระดาษที่ใช้ในการตกแต่ง เขียนการ์ดในโอกาสเทศกาลต่างๆนั้นค่อนข้างมีราคาสูงกลุ่มของข้าพเจ้าจึงจะทากระดาษที่เหมาะสม สามารถตกแต่งใช้ในเทศกาลต่างๆได้ หรือนาไปเขียนรายงานแล้วแต่โอกาสตามที่ต้องการ กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้ศึกษาค้นคว้าโดยการนากาบกล้วยมาทาเป็นกระดาษเพราะต้นกล้วยเป็นพืชที่ปลูกกันทั่วไ ปและเมื่อนามาทากระดาษจะมีลักษณะและคุณสมบัติที่นามาใช้จริงได้และสามารถนามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิ ตประจาวันได้มากมายเช่นนาลาเป็นสินค้าผลไม้เป็นอาหารที่ช่วยเพิ่มรายได้ทางเศรษกกิจของชุมชน ส่วนต้นกล้วยที่เหลือก็มีปริมาณมากพอที่จะใช้เป็นวัตถุดิบทาอย่างอื่นได้ รวมทั้งเป็นการเพิ่มพูนความรู้ เพื่อเป็นการพัฒนาหลักสูตรการทากระดาษได้ต่อไปในอนาคต
  • 2. 1.2วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาคุณภาพของกระดาษ 2.เพื่อศึกษาการนากาบกล้วยมาทาเป็นกระดาษ 1.3 สมมุติกาน กาบกล้วยสามารถนามาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ 1.4 ตัวแปร ตัวแปรต้น ปริมาณแป้ งมัน ตัวแปรตาม คุณภาพของกระดาษ ตัวแปรควบคุม 1. ปริมาณน้า 2.ระยะในเวลาต้ม 3.ระยะในการตากกระดาษกาบกล้วย 4.ปริมาณโซดาไฟ 1.5 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ใช้วัสดุจากธรรมชาติลดปริมาณขยะ 2. สามารถนากระดาษมาทาผลิตภัณฑ์อื่นๆอีกมากมายเช่นถุงสมุด หนังสือกรอบรูปกระดาษห่อของขวัญ กล่อง ฯลฯ 3. ลดการตัดไม้ใหญ่มาทากระดาษ 4. ลดปัญหาโลกร้อนซึ่งเกิดจากกการตัดไม้ทาลายป่า 5. สามารถนาส่วนของต้นกล้วยมาใช้ให้เกิดประโยชน์
  • 3. 6. ลดปริมาณขยะมี่เกิดจากกระดาษ 7. เพื่อนากระดาษกาบกล้วยไปทาผลิตภัณฑ์อื่นๆได้ 8. เพื่อนาต้นกล้วยและกระดาษเหลือใช้มารียูตให้ได้ผลิตภัณฑ์ใหม่ 1.6ขอบเขตกระศึกษา ตั้งแต่เดือนพ.ค.-ก.ค.57 1.7 คานิยามศัพท์เฉพาะ คุณภาพกระดาษ : กระดาษจากกาบกล้วยที่มีความคงทนเหนียวไม่ฉีกขาดมีสีสันสวยงาม กระดาษกาบกล้วย:กระดาษที่ได้จากการนาส่วนประกอบของต้นกล้วยคือลาต้นมาปั่นให้ละเอียดโดยร่อนบน ตะแกง
  • 4. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Musa sapientum L. วงศ์ : Musaceae ชื่อสามัญ: Banana ชื่ออื่น: กล้วยมะลิอ่อง(จันทบุรี) กล้วยใต้(เชียงใหม่,เชียงราย) กล้วยอ่อง(ชัยภูมิ) กล้วยตานีอ่อง(อุบลรธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :ไม้ล้มลุกสูง 2-4.5 เมตร มีลาต้นใต้ดินลาต้นเหนือดินเกิดจากกาบใบหุ้มซ้อนกันใบ เดี่ยว เรียงสลับซ้อนกันรอบต้นที่ปลายยอดรูปขอบขนานกว้าง25-40 ซม. ยาว1-2 เมตรผิวใบเรียบมันท้องใบสีอ่อนกว่า มีนวล ดอก ช่อเรียกว่าหัวปลีออกที่ปลายยอดใบประดับหุ้มช่อดอกสีแดงหรือม่วงกลีบดอกสีขาวบางผล เป็นผลสด กล้วยเป็นพรรณไม้ล้มลุกในสกุลMusaมีหลายชนิดในสกุลบางชนิดก็ออกหน่อแต่ว่าบางชนิดก็ไม่ออกหน่อ ใบแบนยาวใหญ่ ก้านใบตอนล่างเป็นกาบยาวหุ้มห่อซ้อนกันเป็นลาต้นออกดอกที่ปลายลาต้นเป็นปลีและมักยาวเป็นงวง มีลูกเป็นหวีๆ รวมเรียกว่าเครือพืชบางชนิดมีลาต้นคล้ายปาล์มออกใบเรียงกันเป็นแถวทานองพัดคลี่คล้ายใบกล้วยเช่น กล้วยพัด(Ravenalamadagascariensis) ทว่าความจริงแล้วเป็นพืชในสกุลอื่นที่มิใช่ทั้งปาล์มและกล้วย กล้วยเป็นไม้ดอกล้มลุกขนาดใหญ่ ทุกส่วนเหนือพื้นดินของกล้วยเจริญจากส่วนที่เรียกว่า"หัว"หรือ"เหง้า" ปกติแล้วต้นกล้วยจะสูงและแข็งแรงพอสมควรทาให้เข้าใจผิดว่าเป็นต้นไม้ ซึ่งแท้จริงแล้วส่วนที่คล้ายกับลาต้นคือ "ลาต้นเทียม"(pseudostem) ใบของกล้วยประกอบด้วย"ก้านใบ"(petiole) และแผ่นใบ(lamina) กานก้านใบแผ่ออกเป็นกาบกาบที่รวมตัวกันอย่างหนาแน่นทาให้เกิดลาต้นเทียมมีหน้าที่ชูก้านใบ พยุงให้พืชตั้งตรงดูคล้ายต้นไม้ เมื่อแรกเจริญขอบของกาบจะจรดกันคล้ายท่อเมื่อมีใบเจริญขึ้นใหม่ที่ใจกลางลาต้นเทียม ขอบกาบที่จรดกันนั้นก็จะแยกออกจากกันพันธุ์กล้วยนั้นมีความผันแปรมากขึ้นอยู่กับพันธุ์ปลูกและสภาพแวดล้อม โดยมากสูงประมาณ5เมตร (16 ฟุต)จาก 'กล้วยหอมแคระ(Dwarf Cavendish)'ซึ่งสูงประมาณ3เมตร (10 ฟุต) ไปจนถึง 'กล้วยหอมทอง(Gros Michel)'ที่สูงประมาณ7เมตร (23 ฟุต) หรือมากกว่าใบแรกเจริญจะขดเป็นเกลียวก่อนที่จะแผ่ออกอาจยาวได้ถึง 2.7เมตร (8.9 ฟุต)และกว้าง60 ซม (2.0
  • 5. ฟุต)[6] แผ่นใบมีขนาดใหญ่ ปลายใบมนรูปใบขอบขนาน โคนใบมน มีสีเขียวใบฉีกขาดได้ง่ายจากลม ทาให้บางครั้งมองดูคล้ายใบเฟิร์นรากเป็นระบบรากฝอยแผ่ไปทางด้านกว้างมากกว่าทางแนวดิ่งลึก ต้นกล้วยที่มีผลและหัวปลี เมื่อกล้วยเจริญเติบโตเต็มที่หัวจะสร้างใบสุดท้ายที่เรียกว่า"ใบธง"จากนั้นจะหยุดสร้างใบใหม่และเริ่มสร้างช่อดอก (inflorescence)ลาต้นที่มีช่อดอกอ่อนบรรจุอยู่จะพัฒนาขึ้นภายในลาต้นเทียม จนในที่สุดมันก็โผล่ออกที่ด้านบนลาต้นเทียมแต่ละลาต้นเทียมจะสร้างช่อดอกเพียงช่อเดียวซึ่งรู้จักกันในชื่อ"ปลี (bananaheart)"(บางครั้งมีกรณีพิเศษเช่นกล้วยในประเทศฟิลิปปินส์สร้างปลีขึ้นมาห้าหัว) ช่อดอกประกอบด้วยกลุ่มของช่อดอกย่อยเป็นกลุ่มๆมีใบประดับสีม่วงแดงหรือที่เรียกว่า"กาบปลี" (บางครั้งมีการเข้าใจผิดเรียกเป็นกลีบดอก)ระหว่างแถวของช่อดอกย่อยช่อดอกย่อยแต่ละช่อมีดอกเรียงซ้อนกันอยู่ 2 แถวดอกตัวเมีย(ที่สามารถเจริญเป็นผลได้)จะอยู่ในช่อดอกย่อยที่บริเวณโคนปลี(ใกล้กับใบ)ดอกตัวผู้จะอยู่ที่ปลายปลี หรือส่วนที่เรียกว่า"หัวปลี"รังไข่อยู่ต่ากว่าซึ่งหมายความว่ากลีบดอกขนาดเล็กและส่วนอื่นๆของดอกจะอยู่ในปลายรังไข่ หลังให้ผลลาต้นเทียมจะตายลงแต่หน่อหรือตะเกียงจะพัฒนาขึ้นจากตา(bud) ที่หัวส่งผลให้กล้วยเป็นพืชหลายปี หากเกิดขึ้นหลายหน่อพร้อมกันจะเรียกว่า "การแตกกอ"ในระบบการเพาะปลูก จะอนุญาตให้เจริญเติบโตเพียงหน่อเดียวเท่านั้นเพื่อให้ง่ายต่อการจัดสรรพื้นที่ ผลกล้วยพัฒนาจากดอกเพศเมียกลุ่มของดอกเพศเมีย 1กลุ่มเจริญเป็นผลเรียกว่า"หวี(hands)"ซึ่งหวีหนึ่งๆ มีผลกล้วยประมาณ20ผล กลุ่มหวีบนช่อดอกเจริญเป็น"เครือ(bananastem)"ซึ่งอาจมี 3-20 หวี ผลของกล้วยมีการเจริญได้โดยไม่ต้องผสมพันธุ์จึงทาให้กล้วยส่วนใหญ่ไม่มีเมล็ด ดอกตัวเมีย(ซึ่งจะเจริญไปเป็นผล)มีกลีบดอกและส่วนอื่นที่ปลายรังไข่(รังไข่อยู่ต่ากว่า(inferior)) ผลกล้วยได้รับการบรรยายเป็น"leatheryberry (ลูกเบอร์รี่ที่คล้ายแผ่นหนัง)"[13] มีชั้นป้ องกันภายนอก(เปลือก) มีสายบางๆตามยาว(มัดท่อลาเลียงโฟลเอ็ม)อยู่ระหว่างเปลือกและส่วนที่รับประทานได้ภายใน เนื้อกล้วยมีเนื้อนิ่มสีเหลืองมีรสหวานคล้ายขนมเมล็ดกล้วยมีลักษณะกลมเล็กบางพันธุ์มีขนาดใหญ่ เปลือกหนาแข็ง มีสีดาสาหรับในสายพันธุ์ปลูกเมล็ดกล้วยมีขนาดเล็กมากเกือบจะไม่มีเลยเหลือแค่เพียงจุดสีดาเล็กๆภายในเนื้อกล้วย ประโยชน์ทางสมุนไพร: ตารายาไทยใช้ผลดิบซึ่งมีสารแทนนินมากรักษาอาการท้องเสียและบิด โดยกินครั้งละครึ่งหรือหนึ่งผลมีรายงานว่า
  • 6. มีฤทธิ์ป้ องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนูขาวที่ถูกกระตุ้นด้วยยาแอสไพริน เชื่อว่าฤทธิ์ดังกล่าวเกิดจากการถูกกระตุ้นผนังกระเพาะอาหารให้หลั่งสารเมือกออกมามากขึ้น จึงนามาทดลองรักษาโรคกระเพาะอาหารของคนโดยใช้กล้วยดิบหั่นเป็นแว่นตากแห้งบดเป็นผงกินวันละ 4 ครั้งๆละ 1- 2 ช้อนแกง ก่อนอาหารและก่อนนอนอาจทาให้เกิดอาการท้องอืดซึ่งป้ องกันได้โดยกินร่วมกับยาขับลมเช่นขิง สกุลMusa จัดอยู่ในวงศ์ Musaceae ตามระบบAPGIII กาหนดให้ Musaceae อยู่ในอันดับ Zingiberales เป็นส่วนหนึ่งในเครือบรรพบุรุษcommelinid ของพืชใบเลี้ยงเดี่ยว บางแหล่งอ้างว่าชื่อMusa ได้รับการตั้งชื่อตามแอนโตนิอุสมูซา(AntoniusMusa) นักพฤกษศาสตร์และแพทย์ประจาประองค์ของจักรพรรดิออกัสตัสแหล่งอื่นกล่าวว่าคาโรลัสลินเนียสผู้ตั้งชื่อสกุลในปี ค.ศ. 1750 ได้ดัดแปลงมาจากคาว่าmauzซึ่งแปลว่ากล้วยในภาษาอาหรับคาว่าbanana ในภาษาอังกฤษมีรากมากจากภาษาโวลอฟคาว่า banaanaมีพืช70 ชนิดในสุกล Musa ที่ได้รับการบันทึกในWorld Checklistof SelectedPlantFamilies(รายการตรวจสอบวงศ์พืชทั่วโลก)เมื่อเดือนมกราคมค.ศ.2013 มีหลายชนิดที่ผลรับประทานได้ ขณะที่บางชนิดปลูกไว้เป็นไม้ประดับ การจัดจาแจกกล้วยเป็นปัญหามาช้านานสาหรับนักอนุกรมวิธาน เดิมลินเนียสจาแนกกล้วยออกเป็นสองชนิดบนพื้นกานของการนาไปใช้เป็นอาหารคือMusa sapientum สาหรับกล้วยและMusaparadisiacaสาหรับกล้ายภายหลังชื่ออีกหลายชนิดก็ถูกเพิ่มเติมเข้าไปอย่างไรก็ตาม วิธีการนี้ได้พิสูจน์ว่ามันไม่ดีพอที่จะจัดการจานวนพันธุ์ปลูกซึ่งมีจานวนมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งเป็นศูนย์กลางคว ามหลากหลายของสกุลหลายพันธุ์ปลูกที่ได้รับการตั้งชื่อได้ถูกพิสูจน์ว่าเป็นเพียงชื่อพ้อง ในชุดเอกสารที่ตีพิมพ์หลังค.ศ.1947 เออเนส์ต ชีสแมน (ErnestCheesman) แสดงให้เห็นว่าMusasapientum และ Musa paradisiacaของลินเนียสเป็นแค่พันธุ์ปลูกและสืบเชื้อสายมาจากกล้วยป่าสองชนิดคือMusa acuminataและ Musa balbisianaซึ่งได้รับการจัดจาแนกโดยลุยจีอาลอย์ซีอุสคอลลา(Luigi AloysiusColla) เขาแนะนาให้ยกเลิกสปีชีส์ของลินเนียสและสนับสนุนให้จัดจาแนกกล้วยใหม่ตามกลุ่มที่มีสัณกานวิทยาที่ต่างกันสามกลุ่ม กลุ่มที่แสดงออกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของMusabalbisiana กลุ่มที่แสดงออกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของMusaacuminata และกลุ่มที่แสดงออกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ที่ผสมกันระหว่างสองชนิดข้างต้นนักวิจัยนอร์แมนซิมมอนด์ (NormanSimmonds) และเคนเชปเฟิด (KenShepherd) เสนอระบบการตั้งชื่อบนพื้นกานของจีโนมในค.ศ.1955
  • 7. ระบบนี้ได้ขจัดความยากและความไม่สอดคล้องของการจัดจาแนกกล้วยก่อนหน้าที่ตั้งอยู่บนพื้นกาน Musasapientum และ Musa paradisiacaของลินเนียสถึงอย่างไรก็ตาม ปัจจุบันชื่อเดิมยังคงถูกใช้โดยผู้แต่งบางคนซึ่งนาไปสู่ความสับสน ปัจจุบัน ชื่อวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของกล้วยคือMusaacuminataCollaและMusa balbisianaColla สาหรับสปีชีส์บรรพบุรุษและMusa × paradisiacaL. สาหรับลูกผสมM.acuminata× M. balbisianaชื่อพ้องของ M. × paradisicaประกอบด้วย: ชื่อชนิดย่อยและชื่อพันธุ์จานวนมากของM.× paradisiaca, รวมถึงM. p.subsp.sapientum(L.) Kuntze Musa × dacca Horan. Musa × sapidisiacaK.C.Jacob,nom.superfl. Musa × sapientumL. และชื่อพันธุ์จานวนมากของมันรวมถึงM.× sapientumvar.paradisiaca(L.) Baker, nom.illeg. โดยทั่วไปแล้วการจัดจาแนกพันธุ์ปลูกของกล้วยในปัจจุบันยึดตามระบบของซิมมอนด์และเชปเฟิด พันธุ์จะได้รับการจัดกลุ่มบนพื้นกานของจานวนโครโมโซมที่มีและสปีชีส์ที่เป็นบรรพบุรุษดังนั้นกล้วยไข่(Latundan banana) ที่จัดอยู่ในกลุ่มAAB แสดงให้เห็นว่ามันเป็นtriploid(มีโครโมโซม3ชุด) ที่กาเนิดมาจากทั้งM.acuminata (A) และM. balbisiana(B) สาหรับรายชื่อพันธุ์กล้วยภายใต้การจัดจาแนกด้วยระบบนี้สามารถดูเพิ่มได้ที่พันธุ์กล้วย ใน ค.ศ.2012 ทีมนักวิทยาศาสตร์ประกาศว่าพวกเขาได้ประสบความสาเร็จในการร่างลาดับจีโนมของ Musa acuminate การจาแนกกลุ่มของกล้วย การจาแนกกลุ่มของกล้วยทาได้ 2วิธี คือ จาแนกตามวิธีการนามาบริโภคและจาแนกตามลักษณะทางพันธุกรรม การจาแนกตามลักษณะทางพันธุกรรม
  • 8. หลังปี ค.ศ. 1955 นักวิชาการได้จาแนกพันธุ์กล้วยตามพันธุกรรมโดยใช้จีโนมของกล้วยเป็นตัวกาหนดในการแยกพันธุ์ กล้วยที่นิยมบริโภคกันในปัจจุบันมีบรรพบุรุษเพียง2ชนิด คือ กล้วยป่าและกล้วยตานี กล้วยที่มีกาเนิดจากกล้วยป่ามีจีโนมเป็นAA กล้วยที่มีกาเนิดจากกล้วยตานีมีจีโนมเป็นBB ส่วนกล้วยที่เกิดจากลูกผสมของกล้วยทั้ง2ชนิดจะมีจีโนมแตกต่างกันไปนอกจากนี้ ซิมมอนด์และเชปเฟิดได้เสนอให้ใช้ลักษณะทางสัณกานวิทยารวมทั้งหมด 15 ลักษณะมาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาคือ สีของกาบใบร่องของกาบใบก้านช่อดอก ก้านดอกออวุล ไหล่ของกาบปลีการม้วนของกาบปลี รูปร่างของกาบปลี ปลายของกาบปลีการซีดของกาบปลีรอยแผลของกาบปลีกลีบรวมเดี่ยวสีของดอกเพศผู้ สีของยอดเกสรเพศเมีย และสีของกาบปลี การจาแนกตามวิธีการนามาบริโภค การจาแนกกล้วยตามวิธีการนามาบริโภคสามารถแบ่งกล้วยออกเป็น2 กลุ่มคือกล้วยกินสด เป็นกล้วยที่เมื่อสุกสามารถนามารับประทานได้ทันทีโดยไม่ต้องนามาทาให้สุกด้วยความร้อนเพราะเมื่อสุกเนื้อจะนิ่ม มีรสหวานเช่นกล้วยไข่กล้วยหอมทองกล้วยหอมเขียวและกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารเป็นกล้วยที่เมื่อดิบมีแป้ งมาก เนื้อค่อนข้างแข็ง เมื่อสุกยังมีส่วนของแป้ งอยู่มากกว่ากล้วยกินสดมากเนื้อจึงไม่ค่อยนิ่มรสไม่หวานต้องนามาต้มเผาปิ้ง เชื่อม จึงจะทาให้อร่อยรสชาติดีขึ้นเช่น กล้วยกล้ายกล้วยหักมุกกล้วยเล็บช้างกุด ในพื้นที่ เช่น ทวีปอเมริกาเหนือและทวีปยุโรปผลไม้สกุล Musaที่วางจาหน่ายได้แบ่งเป็น"กล้วย"และ"กล้าย" บนพื้นกานของการนาไปใช้เป็นอาหารดังนั้นผู้ผลิตและชีกีตา(Chiquita) ซึ่งเป็นผู้จัดจาหน่ายได้ผลิตวัสดุประชาสัมพันธ์สาหรับตลาดอเมริกาที่บอกว่า"กล้ายไม่ใช่กล้วย" ความแตกต่างนั้นคือกล้ายมีแป้ งมากกว่าและหวานน้อยกว่านิยมทานสุกกว่ากว่าทานดิบมีเปลือกหนาสีเขียวเหลือง หรือดา ซึ่งสามารถใช้บอกสถานะของความสุกงอมได้ ลินเนียสได้สร้างความแตกต่างระหว่างกล้วยและกล้ายดังกล่าวขึ้นเมื่อแรกตั้งชื่อ"สปีชีส์"ทั้งสองของ Musa สมาชิกของพันธุ์กล้วย"กลุ่มย่อยกล้าย" ที่เป็นอาหารที่สาคัญมากในแอฟริกาตะวันตกและละตินอเมริกามีลักษณะยาวแหลม ซึ่งมันได้รับการจาแนกว่าเป็นกล้ายแท้โดยพลอตซ์และคณะ(Ploetzetal.) ต่างจากกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารพันธุ์อื่น กล้ายที่สูงแอฟริกาตะวันออก(EastAfricanHighlandbanana) ซึ่งเป็นกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารในแอฟริกาตะวันออกนั้นจัดอยู่ในกลุ่มอื่น ดังนั้น จึงไม่มีคุณสมบัติเป็นกล้ายแท้ตามคานิยามนี้
  • 9. แนวทางหนึ่งที่จะแบ่งกล้วยออกเป็นกล้วยกินสดและกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร ซึ่งกล้ายเป็นกลุ่มย่อยหนึ่งของกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารคือพันธุ์ปลูก triploid กาเนิดมาจากM.acuminata เพียงลาพังจะเป็นกล้วยกินสดในขณะที่พันธุ์ปลูก triploid ที่เป็นลูกผสมระหว่างM.acuminataและM. balbinosa (โดยเฉพาะกลุ่มย่อยกล้ายเป็นกลุ่มย่อยของกลุ่มAAB) เป็น"กล้าย"(ในที่นี้หมายถึงกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร) เกษตรกรรายย่อยในประเทศโคลอมเบียปลูกพันธุ์กล้วยหลากหลายมากกว่าสวนเชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่ จากการศึกษาพันธุ์ปลูกเหล่านี้แสดงว่ากล้วยสามารถจัดกลุ่มได้อย่างน้อยสามกลุ่มตามพื้นกานของลักษณะได้แก่ กล้วยกินสดกล้วยที่ใช้ประกอบอาหารที่ไม่ใช่กล้ายและกล้าย แม้ว่าจะมีการคาบเกี่ยวกันระหว่างกล้วยกินสดและกล้วยที่ใช้ประกอบอาหาร ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์กลางความหลากหลายของกล้วยทั้งกล้วยป่าและกล้วยพันธุ์ความแตกต่างระหว่าง "กล้วย"และ "กล้าย"กลับไม่มีความหมายตามข้อมูลของวาลมาเยอร์ (Valmayor) และคณะ กล้วยหลายพันธุ์ใช้ทั้งรับประทานสดและประกอบอาหาร กล้วยที่ใช้ประกอบอาหารที่มีแป้ งมีขนาดเล็กกว่ากล้วยรับประทานสดช่วงสีขนาดและรูปทรง หลากหลายกว่ากล้วยที่ปลูกหรือขายในแอฟริกายุโรป หรืออเมริกาภาษาเรียกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ไม่บ่งชี้ถึงความแตกต่างระหว่าง"กล้วย"และ"กล้าย" เหมือนอย่างในภาษาอังกฤษ(และภาษาสเปน)ดังนั้นทั้งพันธุ์กล้วยหอมเขียว(Cavendishbanana) ซึ่งเป็นกล้วยรับประทานสดที่รู้จักกันดีและพันธุ์กล้วยหิน(Sababanana) ที่นิยมใช้ประกอบอาหารถูกเรียกว่า pisang (ปีซาง) ในประเทศมาเลเซียและประเทศอินโดนีเซีย, กล้วยในประเทศไทยและchuoi (ชวย) ในประเทศเวียดนามกล้วยเฟอิ(Fe'i banana) ที่ปลูกและรับประทานในหมู่เกาะของมหาสมุทรแปซิฟิก มีต้นกาเนิดที่แตกต่างโดยสิ้นเชิงจากกล้วยโบราณและกล้ายกล้วยเฟอิส่วนมากจะใช้ประกอบอาหารแต่กล้วยคาแรต (Karat banana) ที่มีลักษณะสั้นป้ อมมีเปลือกสีแดงสดต่างจากกล้วยรับประทานสดทั่วไปใช้กินสด สรุปแล้วในเชิงพาณิชย์ในยุโรปและอเมริกา(แม้ไม่จัดเป็นพื้นที่เพาะปลูกขนาดเล็ก)ได้แยกความแตกต่างระหว่าง"กล้วย" ซึ่งรับประทานสดและ"กล้าย"ที่ใช้ประกอบอาหารขณะที่ในพื้นที่อื่นๆของโลกโดยเฉพาะอินเดียเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และหมู่เกาะในมหาสมุทรแปซิฟิกมีกล้วยหลายชนิดและไม่มีการแยกความแตกต่างระหว่างกล้วยทั้งสองกลุ่ม และไม่มีการแยกคาในภาษาถิ่นกล้ายเป็นหนึ่งในกล้วยหลายชนิดที่ใช้ประกอบอาหาร ซึ่งไม่แตกต่างจากกล้วยรับประทานสด แป้ งมันสาปะหลัง(Cassave Starch)
  • 10. ทามาจากหัวมันสาปะหลัง มีลักษณะเป็นผงสีขาว จับผิวสัมผัสของแป้ งจะเนียน ล่นมือ เมื่อทาให้สุกจะเหลวเหนียวหนืดและใช้ เมื่อพักให้เย็นจะมีลักษณะเหนียวเหนอะหนะคงตัว นิยมนามาผสมกับอาหารที่ต้องการความเหนียวหนืดและใส เช่นทับทิมกรอบ เต้าส่วนฯลฯ ในการทาขนมหวานไทยนิยมนาแป้ งมันสาปะหลังมาผสม กับแป้ งชนิดอื่นๆ เพื่อให้ขนมมีความเหนียมนุ่มกว่าการใช้แป้ งชนิดเดียว เช่น ขนมชั้น ขนมฟักทอง ขนมกล้วยฯลฯ แป้ งมันสาปะหลัง เป็นแป้ งที่ได้จากมันสาปะหลัง ลักษณะของแป้ งมีสีขาว เนื้อเนียน ลื่นเป็นมัน เมื่อทาให้สุกด้วยการกวนกับน้าไฟอ่อนปานกลางแป้ งจะละลายงายสุกง่าย แป้ งเหนียวติดภาชนะ หนืดข้นขึ้นเรื่อยๆ ไม่มีการรวมตัวเป็นก้อน เหนียวเป็นใยติดกันหมดเนื้อแป้ งใสเป็นเงา พอเย็นแล้วจะติดกันเป็นก้อนเหนียว ติดภาชนะ ใช้ทาลอดช่องสิงคโปร์ ครองแครงแก้ว เป็นต้น โซดาไฟ(causticsoda) โซดาแผดเผา, โซดาไฟหรือคอสติกโซดา(อังกฤษ:causticsoda) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ.2542 นิยามว่าคือ"สารประกอบชนิดหนึ่งชื่อ โซเดียมไฮดรอกไซด์(NaOH) เป็นของแข็งสีขาวดูดความชื้นดีมาก ละลายน้าได้ดีใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมทาสบู่ไหมเรยอง" โซดาไฟถูกใช้ในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันและยังใช้ประโยชน์ได้อีกมากมายเช่น ในการผลิตเยื่อและกระดาษสบู่และผลิตภัณฑ์ซักฟอกเคมีภัณฑ์การทาความสะอาดโรงกลั่นน้ามัน การใช้งานทางอุตสาหกรรมโลหะอุตสาหกรรมอาหารไหมเรยองสิ่งทอและอื่นๆ การใช้สารเคมีแก้ปัญหาท่ออุดตัน
  • 11. เวลาที่ท่อระบายน้าทิ้งต่างๆอุดตันส่วนใหญ่จะนึกถึงโซดาไฟหรือคอสติกโซดา(Causticsoda) หรือ โซเดียมไฮดรอกไซด์(sodiumhydroxide) บางครั้งรู้จักกันในชื่อสารเคมีผงมันหรือโซดาแผดเผา สามารถหาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไปหรือร้านขายอุปกรณ์ซ่อมแซมบ้านคุณลักษณะสารเคมีเป็นของแข็งสีขาวไม่มีกลิ่น มีฤทธิ์เป็นด่างยิ่งเข้มข้นมากยิ่งมีฤทธิ์มากร้อนและสามารถกัดผิวหนังให้เปื่อยยุ่ยได้ในระยะเวลาเพียงแค่เสี้ยววินาที ผู้คนส่วนมากอาจจะไม่รู้ถึงคุณลักษณะของสารเคมีและการทาปฏิกิริยาทางเคมีดีพอ เมื่อนาไปใช้งานจริงทาให้เกิดปัญหาติดตามมาอย่างคาดไม่ถึงเช่นเวลาที่ท่ออุดตันก็จะไปซื้อโซดาไฟ มาเทใส่ลงไปในท่อที่อุดตัน(วิธีใช้งานควรใส่โซดาไฟในภาชนะก่อนค่อยๆ เติมน้าแล้วคนให้ละลายให้หมดก่อนที่จะนาไปเทใส่ท่อระบายน้าเพื่อกันไม่ให้โซดาไฟไปเกาะผนังท่อเพิ่มการอุดตันอีก) การแก้ไขปัญหาลักษณะนี้สามารถใช้ได้กับการอุดตันบางประเภทเท่านั้นเองเช่นการอุดตันที่เกิดจากคราบไขมัน คราบสบู่คราบผงซักฟอก ข้อควรระวังเมื่อใช้โซดาไฟ โซดาไฟสามารถทาให้เกิดอันตรายแก่ร่างกายได้อย่างเฉียบพลัน ถ้าสูดดมฝุ่ นควันของสารจะทาให้ระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจอาจเกิดปอดอักเสบน้าท่วมปอดได้ หากเข้าตาจะมีฤทธิ์ทาลายตั้งแต่ระคายเคืองหรือรุนแรงกระทั่งทาให้ตาบอดได้ หากถูกผิวหนังจะทาให้เกิดการไหม้จนเป็นแผลลึกหากรับประทานเข้าไปจะเกิดการไหม้ในปากลาคอและทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียนท้องเสียหมดสติ จนถึงขั้นเสียชีวิตได้ ผู้ที่เคยได้รับสารเข้าไปทางปาก อาจมีการพัฒนากลายเป็นมะเร็งในภายหลัง12-42 ปี หลังจากกินเข้าไป การปกมพยาบาลเบื้องต้น ถ้าหายใจเข้าไปให้รีบย้ายผู้ป่วยออกมาให้ได้รับอากาศบริสุทธิ์แล้วรีบนาส่งแพทย์หากเข้าตารีบล้างตาด้วยน้าอุ่นทันที โดยค่อยๆให้น้าไหลผ่านตา30 นาที เปิดเปลือกตาไว้ พยายามอย่าให้น้าล้างตาไหลข้างที่มีสารเคมีไหลเข้าตาข้างที่ไม่เป็นอะไรโดยเด็ดขาดเมื่อถูกผิวหนังให้รีบล้างออก โดยให้น้าไหลผ่านบริเวณที่ถูกสารอย่างน้อย 30 นาที พร้อมกับถอดชุด- อุปกรณ์ต่างๆ ที่เปื้อนสารออกแล้วรีบนาส่งแพทย์ให้เร็วที่สุด โซดาไฟกับปฏิกิริยาต่อเนื่อง แม้ว่าโซดาไฟเป็นสารไม่ติดไฟแต่ถ้าสัมผัสกับสารบางชนิดเช่นกรดเข้มข้นหรือทาปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้า จะทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีกันจนเกิดความร้อนพอเพียงและทาให้สารที่วางอยู่ใกล้สามารถติดไฟได้ การดับเพลิงจึงต้องดูสารที่เป็นคู่ปฏิกิริยาทางเคมีและรวมถึงการเลือกใช้เครื่องดับเพลิงให้ถูกต้องกับเหตุการณ์ด้วย
  • 12. โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง กระดาษจากกาบกล้วย โดย กลุ่มที่ 6 ชั้น ม. 5/2 1.นางสาวณักณิชา จันทร์สนอง ม.5/2 เลขที่ 14 2.นางสาวธนพร หนูเกตุ ม.5/2 เลขที่ 15 3. นางสาวเนตรนริทร์ สืบกลัด ม.5/2 เลขที่ 16 4. นางสาวกัญญกมนต์ วณิชพัฒนกุล ม.5/2 เลขที่ 17
  • 13. 5.นางสาวพิมพ์นิภา วิศิษฏ์รักพงศ์ ม.5/2 เลขที่ 23 ครูที่ปรึกษาโครงงาน คุณครูทรงศักดิ์ โพธิเอี่ยม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี