SlideShare a Scribd company logo
การยึดโยงเสา
จัดทำโดย
• นายรัตนกูล เบ็งทอง เลขที่ 2
• นายฤทธิ์เดช จันทร์สุข เลขที่ 3
• นายอาศิรา บุญจับ เลขที่ 12
แผนกช่างไฟฟ้ ากาลังกลุ่มที่ 6
เสนอ
อาจารย์ เจษฏา
อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
1. สมอบก( Anchor ) คือส่วนที่ฝังไว้ใต้ดิน สามารถรับแรงได้ดึงของเสาไฟฟ้ า
เพียงพอ
2. ก้านสมอบก ( Rod Anchor ) ใช้สาหรับยึดต่อออกมาจากตัวสมอบก ฝังใต้
ดินปลายด้านหนึ่งโผล่เหนือดิน เพื่อไว้ต่อกับสายยึดโยง
อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
3. สายยึดโยง ( Steel Wire ) เป็นลวดเหล็กตีเกลียว ใช้สาหรับรับแรงดึงของ
เสาไฟฟ้ าไม่ให้ล้มเอียง แบ่งเป็น 2 ช่วง คือช่วงบนเสา และช่วงล่าง
อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
4. ลูกถ้วยยึดโยง ( Guys Strain Insulator ) หรือลูกถ้วยมะเฟือง ใช้คั่นระหว่าง
สายยึดโยง เพื่อป้ องกันอันตรายเนื่องจากไฟฟ้ ารั่ว
อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
5. กายทิมเบิล ( Guys Thimble ) หรือห่วงโค้งสาย ทาจากอะลูมิเนียมชุบ
โครเมี่ยม เพื่อรองรับการโค้งของสายยึดโยง
อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
6. ยูแคล้มป์ ( U – Clamp ) ทาหน้าที่จับยึดสายยึดโยงให้แน่น
อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
7. แหวนสี่เหลี่ยมแบน ( Square Washer ) ใช้รองรับหัวนัทสลักเกลียว
อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
8. แผ่นห่วงยึดโยง 30 องศา ( Angle Guys Attachement ) ด้านหนึ่งยึดติดกับ
หัวเสา ส่วนอีกด้านเป็นห่วงสาหรับสอดสายยึดโยง เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับลูกถ้วย
มะเฟือง
อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
9. กายการ์ด ( Guys Guard ) ใช้สาหรับครอบป้ องกันสายยึดโยง
อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
รูปแบบการยึดโยง แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
1. การเรียกชื่อสายยึดโยงตามลักษณะแบบ
2. การเรียกชื่อตามหน้าที่ที่จะนาไปใช้งาน
1. สายยึดโยงแบบสมอบก ( Anchor Guys ) ยึดโยงจากส่วนบนเสาไปยังก้าน
สมอบก
2. สายยึดโยงแบบบนทางเท้า ( Side Walk Guys ) ยึดโยงจากส่วนบนเสาไปยัง
ท้าวแขน แล้วต่อไปยังสมอบก ใช้กรณีพื้นที่แคบจากัด
3. สายยึดโยงแบบต่อไม้ ( Stub Guys ) ยึดส่วนบนเสาไปยังเสาตอไม้ยาว
2.5 – 4 เมตร โดยเสาตอไม้จะถูกยึดโยงอีกที ใช้สถานที่จากัด
4. สายยึดโยงแบบเสาไม้ ( Pole Guys ) ยึดส่วนบนเสาไปยังเสาไม้ยาว 8 เมตร
โดยเสาไม้ถูกยึดโยงอีกที ใช้ยึดโยงข้ามถนน
5. สายยึดโยงแบบยึดเสาไฟฟ้ า ( Span Guys ) ยึดส่วนบนเสาต้นแรกไปยัง
ส่วนล่างของเสาต้นต่อไป ใช้พื้นที่ต่างระดับ หรือข้ามทางรถไฟ
6. สายยึดโยงแบบยึดหัวเสา ( Head Guys ) ยึดจากหัวเสากับหัวเสาอีกต้น
การเรียกชื่อสายยึดโยงตามลักษณะแบบ มีดังนี้
1. สายยึดโยงเข้าปลายสาย Terminal Guys ) ใช้เมื่อปลายสายและเสาที่หัก
มุมเกิน 60 องศา โดยจะต้องมีสายยึดโยงแบบนี้ 2 ชุด ติดตั้งในแนวเดียวกับ
แรงดึงของสายแนวละชุด เพื่อให้เกิดการสมดุล
· สายยึดโยงแบบสมอบก
· สายยึดโยงแบบตอไม้
· สายยึดโยงแบบเสาไม้
2. สายยึดโยงด้านข้าง ( Side Guys ) ใช้กับสายไฟฟ้ าที่มี60 องศา เพื่อรับแรง
ดึงอันเป็นผลลัพธ์ จากแรงดึงของสายไฟฟ้ าที่ไม่ได้อยู่ในแนวเดียวกัน
· สายยึดโยงแบบสมอบก
· สายยึดโยงแบบเสาไม้
· สายยึดโยงบนทางเท้า
การเรียกชื่อตามหน้าที่ที่จะนาไปใช้งาน มีดังนี้
3. สายยึดโยงตามแนวสาย ( Line Guys ) ใช้สายยึดโยง 2 เส้น เพื่อเพิ่มความ
ปลอดภัย ให้มากขึ้น เช่น การพาดสายข้ามที่สาคัญ
· สายยึดโยงแบบสมอบก 2 ชุด
· สายยึดโยงแบบยึดเสาไฟฟ้ า 2 ชุด
· สายยึดโยงตามแนวสายแบบยึดหัวเสา
4.สายยึดโยงป้ องกันพายุ( Strom Guys ) ใช้บริเวณลมพัดผ่านไม่รุนแรง
ใช้ยึดโยงด้านข้างจานวน 2 ชุด ติดทุกระยะประมาณ 500-1,000 เมตร
5.สายยึดโยงแบบตรึงกับที่ ( Fix Point Guys ) ใช้บริเวณมีลมพายุพัดผ่าน
จะยึดโยงตามแนวสาย และสายยึดโยงป้ องกันพายุรวมกันบนเสาต้นเดียว
ติดทุกระยะประมาณ 2,000 - 3,000 ม.
การเรียกชื่อตามหน้าที่ที่จะนาไปใช้งาน มีดังนี้

More Related Content

What's hot

แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
krupeem
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
teadateada
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
Supaluk Juntap
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
อรยา ม่วงมนตรี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
Wichai Likitponrak
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Nut Veron
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
mayureesongnoo
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
Ning Thanyaphon
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
rungtip boontiengtam
 

What's hot (20)

แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพโครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
โครงานเรื่องยาฆ่าหญ้าชีวภาพ
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
เฉลยO netวิทย์ชีวะ58
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ  เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
เอกสารประกอบการเรียน ชุดระบบสุริยะ เล่มที่ 1 เรื่องส่วนประกอบของระบบสุริยะ ก...
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ดความหมายของสตอรี่บอร์ด
ความหมายของสตอรี่บอร์ด
 

งานนัท

  • 2. จัดทำโดย • นายรัตนกูล เบ็งทอง เลขที่ 2 • นายฤทธิ์เดช จันทร์สุข เลขที่ 3 • นายอาศิรา บุญจับ เลขที่ 12 แผนกช่างไฟฟ้ ากาลังกลุ่มที่ 6 เสนอ อาจารย์ เจษฏา
  • 3. อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา 1. สมอบก( Anchor ) คือส่วนที่ฝังไว้ใต้ดิน สามารถรับแรงได้ดึงของเสาไฟฟ้ า เพียงพอ
  • 4. 2. ก้านสมอบก ( Rod Anchor ) ใช้สาหรับยึดต่อออกมาจากตัวสมอบก ฝังใต้ ดินปลายด้านหนึ่งโผล่เหนือดิน เพื่อไว้ต่อกับสายยึดโยง อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
  • 5. 3. สายยึดโยง ( Steel Wire ) เป็นลวดเหล็กตีเกลียว ใช้สาหรับรับแรงดึงของ เสาไฟฟ้ าไม่ให้ล้มเอียง แบ่งเป็น 2 ช่วง คือช่วงบนเสา และช่วงล่าง อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
  • 6. 4. ลูกถ้วยยึดโยง ( Guys Strain Insulator ) หรือลูกถ้วยมะเฟือง ใช้คั่นระหว่าง สายยึดโยง เพื่อป้ องกันอันตรายเนื่องจากไฟฟ้ ารั่ว อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
  • 7. 5. กายทิมเบิล ( Guys Thimble ) หรือห่วงโค้งสาย ทาจากอะลูมิเนียมชุบ โครเมี่ยม เพื่อรองรับการโค้งของสายยึดโยง อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
  • 8. 6. ยูแคล้มป์ ( U – Clamp ) ทาหน้าที่จับยึดสายยึดโยงให้แน่น อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
  • 9. 7. แหวนสี่เหลี่ยมแบน ( Square Washer ) ใช้รองรับหัวนัทสลักเกลียว อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
  • 10. 8. แผ่นห่วงยึดโยง 30 องศา ( Angle Guys Attachement ) ด้านหนึ่งยึดติดกับ หัวเสา ส่วนอีกด้านเป็นห่วงสาหรับสอดสายยึดโยง เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับลูกถ้วย มะเฟือง อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
  • 11. 9. กายการ์ด ( Guys Guard ) ใช้สาหรับครอบป้ องกันสายยึดโยง อุปกรณ์สาหรับการยึดโยงเสา
  • 12. รูปแบบการยึดโยง แบ่งเป็น 2 ลักษณะ 1. การเรียกชื่อสายยึดโยงตามลักษณะแบบ 2. การเรียกชื่อตามหน้าที่ที่จะนาไปใช้งาน
  • 13. 1. สายยึดโยงแบบสมอบก ( Anchor Guys ) ยึดโยงจากส่วนบนเสาไปยังก้าน สมอบก 2. สายยึดโยงแบบบนทางเท้า ( Side Walk Guys ) ยึดโยงจากส่วนบนเสาไปยัง ท้าวแขน แล้วต่อไปยังสมอบก ใช้กรณีพื้นที่แคบจากัด 3. สายยึดโยงแบบต่อไม้ ( Stub Guys ) ยึดส่วนบนเสาไปยังเสาตอไม้ยาว 2.5 – 4 เมตร โดยเสาตอไม้จะถูกยึดโยงอีกที ใช้สถานที่จากัด 4. สายยึดโยงแบบเสาไม้ ( Pole Guys ) ยึดส่วนบนเสาไปยังเสาไม้ยาว 8 เมตร โดยเสาไม้ถูกยึดโยงอีกที ใช้ยึดโยงข้ามถนน 5. สายยึดโยงแบบยึดเสาไฟฟ้ า ( Span Guys ) ยึดส่วนบนเสาต้นแรกไปยัง ส่วนล่างของเสาต้นต่อไป ใช้พื้นที่ต่างระดับ หรือข้ามทางรถไฟ 6. สายยึดโยงแบบยึดหัวเสา ( Head Guys ) ยึดจากหัวเสากับหัวเสาอีกต้น การเรียกชื่อสายยึดโยงตามลักษณะแบบ มีดังนี้
  • 14. 1. สายยึดโยงเข้าปลายสาย Terminal Guys ) ใช้เมื่อปลายสายและเสาที่หัก มุมเกิน 60 องศา โดยจะต้องมีสายยึดโยงแบบนี้ 2 ชุด ติดตั้งในแนวเดียวกับ แรงดึงของสายแนวละชุด เพื่อให้เกิดการสมดุล · สายยึดโยงแบบสมอบก · สายยึดโยงแบบตอไม้ · สายยึดโยงแบบเสาไม้ 2. สายยึดโยงด้านข้าง ( Side Guys ) ใช้กับสายไฟฟ้ าที่มี60 องศา เพื่อรับแรง ดึงอันเป็นผลลัพธ์ จากแรงดึงของสายไฟฟ้ าที่ไม่ได้อยู่ในแนวเดียวกัน · สายยึดโยงแบบสมอบก · สายยึดโยงแบบเสาไม้ · สายยึดโยงบนทางเท้า การเรียกชื่อตามหน้าที่ที่จะนาไปใช้งาน มีดังนี้
  • 15. 3. สายยึดโยงตามแนวสาย ( Line Guys ) ใช้สายยึดโยง 2 เส้น เพื่อเพิ่มความ ปลอดภัย ให้มากขึ้น เช่น การพาดสายข้ามที่สาคัญ · สายยึดโยงแบบสมอบก 2 ชุด · สายยึดโยงแบบยึดเสาไฟฟ้ า 2 ชุด · สายยึดโยงตามแนวสายแบบยึดหัวเสา 4.สายยึดโยงป้ องกันพายุ( Strom Guys ) ใช้บริเวณลมพัดผ่านไม่รุนแรง ใช้ยึดโยงด้านข้างจานวน 2 ชุด ติดทุกระยะประมาณ 500-1,000 เมตร 5.สายยึดโยงแบบตรึงกับที่ ( Fix Point Guys ) ใช้บริเวณมีลมพายุพัดผ่าน จะยึดโยงตามแนวสาย และสายยึดโยงป้ องกันพายุรวมกันบนเสาต้นเดียว ติดทุกระยะประมาณ 2,000 - 3,000 ม. การเรียกชื่อตามหน้าที่ที่จะนาไปใช้งาน มีดังนี้