SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพอื่พัฒนาโคร 
งงาน 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ 
1. 
โครงงานพัฒนาสื่อเพอื่การศึกษา ลักษณ 
ะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ 
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิ 
ตสื่อเพื่อการศึกษา 
โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่ว 
ยการเรียน 
ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด 
บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม 
ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรื 
อรายกลุ่มการสอน 
โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้
ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน 
ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไ 
ลน์ 
ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ 
โครงงาน 
ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประก 
อบการสอนในวิชาต่างๆ 
โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยา 
ก 
มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึก 
ษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ 
ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ 
ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ 
หลักภาษาไทย 
และสถานที่สาคัญของประเทศไทย 
เป็นต้น
2.โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งา 
น โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงาน 
ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ 
สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชี 
วิตประจาวัน อาทิเช่น 
ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ 
งภายในอาคาร 
ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี 
และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย 
เป็นต้น 
โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ 
ดแวร์ ซอฟต์แวร์
หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ 
ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ 
หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แ 
ล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 
โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคร 
าะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน 
แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ 
และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ 
ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานห 
รือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วป 
รับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์โครงงาน 
ประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเค 
รื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม 
และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภท 
นี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อ 
ความรู้หรือเพื่อความเพลิดเพลิน 
เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรงเน้ 
นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ 
โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษ 
ณะและกฎเกณฑ์การเล่นเพื่อให้น่าสนใจ 
แก่ผู้เล่น 
พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วยผู้พั 
ฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวม 
ข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆที่มีอยู่ทั่วไป 
และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อ
ให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ 
และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ 
4.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานปร 
ะเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือ 
ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่างๆ 
โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น 
ซอฟต์แวร์วาดรูปซอฟต์แวร์พิมพ์งาน 
และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่า 
งๆเป็นต้น 
สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้ 
างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคาซึ่งจะเป็นเ 
ครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบ
นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนซอฟต์แวร์การว 
าดรูปพัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกใ 
ห้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็ 
นไปได้โดยง่าย 
สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุม 
ต่างๆใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ 
อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า 
และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเ 
ป็นอย่างไรก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าแล 
ะภาพที่ควรจะเป็นมาให้เพื่อพิจารณาแล 
ะแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างส 
ะดวก
5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี 
โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอ 
มพิวเตอร์ช่วยในการ 
จาลองการทดลองของสาขาต่างๆซึ่งเป็น 
งานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์ 
จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น 
และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรว 
มความรู้หลักการ 
ข้อเท็จจริงและแนวคิดต่างๆอย่างลึกซึ้งใ 
นเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนว 
คิด แบบจาลอง หลักการ 
ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ 
หรือคาอธิบายพร้อมทั้งารจาลองทฤษฏีด้ 
วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพภาพที่ 
ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น 
ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้ 
นการทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอ
ยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆเป็นอย่า 
งดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น 
การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว 
การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่ 
า 
และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบ 
บสามมิติ เป็นต้น 
จากการศึกษาประเภทของโครงงานค 
อมพิวเตอร์ ทาให้ผู้จัดทาได้ทราบว่า 
โครงงานคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท 
รายละเอียดของแต่ละประเภท
มีอะไรบ้าง 
ทาให้ผู้จัดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับไ 
ปสร้างสรรค์ผลงานให้ถูกประเภทยิ่งขึ้น 
และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ 
แก่ผู้อื่นได้ 
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่ 
งข้อมูล 
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน 
เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิงต่าง 
ๆ 
และเลือกเรื่องที่จะทาโครงงานคอมพิ 
วเตอร์ 
รวมทั้งวางแผนการทาโครงงานทุกขั้ 
นตอน
โดยปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาหรือผู้ 
ทรงคุณวุฒิแล้ว 
จึงเขียนเค้าโครงของโครงงานเพื่อใช้ 
เป็นกรอบแนวคิดและแนวทาง 
ตลอดจนข้อตกลงต่างๆ 
ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ระหว่ 
างผู้เรียน อาจารย์ และผู้เกี่ยวข้อง 
นอกจากจะต้องใช้หลักการทางวิชาก 
ารแล้ว 
ยังจาเป็นต้องมีข้อตกลงและเงือนไขต่ 
างๆ ด้วย เช่น 
การขออนุญาตใช้ห้องปฏิบัติการคอม 
พิวเตอร์ 
การจัดหาลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ 
เครื่องมือและตัวแปลภาษาโปรแกรม 
เป็นต้น 
เพื่อช่วยให้การทาโครงงานดาเนินไป
อย่างราบรื่น 
4. การลงมือทาโครงงาน 
5. การเขียนรายงาน 
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน 
คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ใ 
นงานด้านต่างๆ 
1. คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการออกแบบ 
คอมพิวเตอร์กราฟิกได้ถูกนามาใช้ใน 
การออกแบบมาเป็นเวลานาน 
เราคงจะเคยได้ยินคาว่า CAD 
(Computer - Aided 
Design) ซึ่งเป็นโปรแกรมสาหรับช่วยใน 
การออกแบบทางวิศวกรรม 
โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ออกแบบหรื
อวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น 
กล่าวคือ 
ผู้ออกแบบสามารถเขียนเป็นแบบลายเส้น 
แล้วลงสี แสงเงา 
เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริงได้ 
นอกจากนี้แล้วเมื่อผู้ออกแบบกาหนดขน 
าดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว 
ผู้ออกแบบยังสามารถย่อหรือขยายภาพนั้ 
น หรือต้องการหมุนภาพไปในมุมต่างๆ 
ได้ด้วย 
การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่า 
การออกแบบบนกระดาษ 
ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอ 
นิกส์ 
คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการอ 
อกแบบวงจรต่างๆ 
ผู้ออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโ 
ดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ
ที่ระบบจัดเตรียมไว้ให้แล้วมาประกอบกัน 
เป็นวงจรที่ต้องการ 
ผู้ออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ 
เพิ่มเติมวงจรได้โดยสะดวก 
นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสาหรับออกแบบ 
PCB (Printed Circuit 
Board) ซึ่งมีความสามารถจัดการให้แผ่ 
นปรินต์มีขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็ก 
ทรอนิกส์ได้เหมาะสมที่สุด 
การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น 
รถยนต์ เครื่องบิน หรือเครื่องจักรต่างๆ 
ในปัจจุบันก็ใช้ระบบ CAD นักออกแบบส 
ามารถจะออกแบบส่วนย่อยๆ 
แต่ละส่วนก่อน 
แล้วนามาประกอบกันเป็นส่วนใหญ่ขึ้นจ 
นเป็นเครื่องจักรเครื่องยนต์ที่ต้องการได้ 
นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะท
ดสอบแบบจาลองที่ออกแบบไว้ได้ด้วย 
เช่น 
อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้าง 
ของรถที่ออกแบบนั้นมาจาลองการวิ่ง 
โดยให้วิ่งที่ความเร็วต่างๆ 
กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ 
ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทาได้ในระ 
บบคอมพิวเตอร์และจะประหยัดกว่าการส 
ร้างรถจริงๆ 
แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิ่ง 
การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน 
สะพาน หรือโครงสร้างใดๆ 
ทางวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม 
ก็สามารถทาได้โดยใช้ CAD ช่วยในกา 
รออกแบบ 
หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้างใน 
แบบ 2 มิติเสร็จแล้ว
ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็นภาพ 
3 มิติ 
และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมองต่างๆ 
กันได้ตามที่ผู้ออกแบบต้องการ 
นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภา 
พให้ปรากฏต่อผู้ออกแบบราวกับว่าผู้ออก 
แบบสามารถเดินเข้าไปภายในอาคารที่อ 
อกแบบได้ด้วย 
2. กราฟและแผนภาพ 
คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในกา 
รแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูล 
ได้เป็นอย่างดี 
โปรแกรมทางกราฟิกทั่วไปในท้องตลาด 
จะเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกร 
าฟและแผนภาพ 
โปรแกรมเหล่านี้ยังสามารถสร้างกราฟไ 
ด้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง
และกราฟวงกลม 
นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพกราฟได้ 
ทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ 
ทาให้ภาพกราฟที่ได้ดูดีและน่าสนใจ 
กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น 
กราฟหรือแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ 
และข้อมูลทางเศรษฐกิจ 
จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารหรือผู้จัดกา 
รกิจการมาก 
เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับข้อมู 
ลได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเดิม 
ในงานวิจัยต่างๆ เช่น 
การศึกษาทางฟิสิกส์ 
กราฟและแผนภาพมีส่วนช่วยให้นักวิจัย 
ทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อข้อ 
มูลที่ต้องวิเคราะห์มีจานวนมาก
ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS 
(Geographical Information 
System) ก็เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสด 
งข้อมูลในทานองเดียวกับกราฟและแผน 
ภาพ 
ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบ 
คอมพิวเตอร์ 
แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกจัดการ 
แสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพใ 
นรูปของแผนที่ทางภูมิศาสตร์
3. ภาพศิลป์โดยคอมพิวเตอร์กราฟิก 
การวาดภาพในปัจจุบันนี้ใครๆ 
ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ต้องใช้พู่กัน 
กับจานสี 
แต่จะใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกแทน 
ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกนี้ 
เราสามารถกาหนดสี แสงเงา 
รูปแบบลายเส้นที่ต้องการได้โดยง่าย 
ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็น 
งานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก 
ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพก็คื 
อ 
เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่ต้องการไ 
ด้ง่าย 
นอกจากนี้เรายังสามารถนาภาพต่างๆ 
เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้เครื่อ 
งสแกนเนอร์
(Scanner) แล้วนาภาพเหล่านั้นมาแก้ไข 
4. ภาพเคลื่อนไหวโดยใช้คอมพิวเตอร์ 
ภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนต์ประเภ 
ทนิยายวิทยาศาสตร์หรือภาพยนตร์ที่ใช้เ 
ทคนิคพิเศษต่างๆ 
ในปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิกเ 
ข้ามาช่วยในการออกแบบและสร้างภาพเ 
คลื่อนไหว (Computer 
Animation) มากขึ้น 
เนื่องจากเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว 
และง่ายกว่าวิธีอื่นๆ 
นอกจากนี้ภาพที่ได้ยังดูสมจริงมากขึ้น 
เช่น 
ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ป 
ระเภทนิยายวิทยาศาสตร์ เป็นต้น 
การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกช่วยให้ภาพที่ 
อยู่ในจินตนาการของมนุษย์สามารถนาอ
อกมาทาให้ปรากฏเป็นจริงได้ 
ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระ 
บบการศึกษา การอบรม การวิจัย 
และการจาลองการทางาน เช่น 
จาลองการขับรถ การขับเครื่องบิน 
เป็นต้น 
เกมส์คอมพิวเตอร์หรือวิดีโอเกมส์ก็ใช้หลั 
กการทาภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์ 
กราฟิกเช่นกัน 
5. อิเมจโปรเซสซิงก์ 
คาว่าอิเมจโปรเซสซิงก์ (Image 
Processing) หมายถึง 
การแสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรูปหรือจ 
ากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพค 
อมพิวเตอร์
วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงก์จะต่างกับวิธี 
การของคอมพิวเตอร์กราฟิก กล่าวคือ 
ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก 
ตัวคอมพิวเตอร์เองจะเป็นตัวที่สร้างภาพ 
แต่เทคนิกทางอิเมจโปรเซสซิงก์นั้นใช้ค 
อมพิวเตอร์สาหรับการจัดรูปแบบของสีแ 
ละแสงเงาที่มีอยู่แล้วในภาพให้เป็นข้อมูล 
ทางดิจิตอล 
แล้วอาจจะมีวิธีการทาให้ภาพที่รับเข้ามา 
นั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน 
จากนั้นก็จัดการกับข้อมูลดิจิตอลนี้ให้เป็ 
นภาพส่งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอ 
ร์อีกที 
วิธีการนี้มีประโยชน์ในการแสดงภาพขอ 
งวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง 
เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม 
ภาพจากทีวีสแกนของหุ่นยนต์อุตสาหกร 
รม เป็นต้น
เมื่อภาพถ่ายถูกทาให้เป็นข้อมูลดิจิตอ 
ลแล้ว 
เราก็สามารถจะจัดการแก้ไขเปลี่ยนแปล 
งภาพนั้นได้โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอล 
ของภาพนั่นเอง 
ซึ่งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์ก 
ราฟิกมาใช้กับข้อมูลเหล่านี้ได้ เช่น 
ในภาพสาหรับการโฆษณา 
เราสามารถทาให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่า 
ยนั้นแปลกออกไปจากเดิมได้โดยมีภาพบ 
างอย่างเพิ่มเข้าไปหรือบางส่วนของภาพ 
นั้นหายไป 
ทาให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะเป็นจริงแต่ดูเหมื 
อนกับเกิดขึ้นจริงได้ เป็นต้น
เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงก์สามา 
รถประยุกต์ใช้กับการแพทย์ได้ เช่น 
เครื่องเอกซเรย์ โทโมกราฟี (X-ray 
Tomography)ซึ่งใช้สาหรับแสดงภาพตั 
ดขวางของระบบร่างกายมนุษย์ เป็นต้น 
จากที่กล่าวมาแล้ว 
เราจะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์กราฟิกนั้นนั 
บวันยิ่งมีความสาคัญในสาขาวิชาต่างๆ 
มากขึ้น 
ดังนั้นจึงเป็นการดีที่เราควรจะมีความรู้ค 
วามเข้าใจในหลักการและเทคนิคเบื้องต้ 
นต่างๆ ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์กราฟิก 
ที่มา 
http://namkwanmay.wordpress.com/ 
2011/02/08/%E0%B8%9B%E0%B8
%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80% 
E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8 
%82%E0%B8%AD%E0%B8%87% 
E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8 
%A3%E0%B8%87%E0%B8%87% 
E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8 
%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1% 
E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8 
%A7/ 
http://www.rayongwit.ac.th/computer 
/m2fri49/g21m2fri/apply.htm 
http://www.mc.ac.th/learning/chaiwb 
i/project/p111.html
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน

More Related Content

What's hot

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมCharisma An
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมCharisma An
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมCharisma An
 
Course Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียCourse Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียNalin K
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 aonaon080
 
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์nobnab_rk
 

What's hot (12)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Work3 comclass
Work3 comclassWork3 comclass
Work3 comclass
 
12
1212
12
 
Cai
CaiCai
Cai
 
Course Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียCourse Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดีย
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 คอมพิวเตอร์
 
Project 3 presentation
Project 3 presentationProject 3 presentation
Project 3 presentation
 

Similar to การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน

การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน111227
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน111227
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์dekkok552
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Sunipha Ruamsap
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Sunipha Ruamsap
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์dekkok552
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์Duangsuwun Lasadang
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญโครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญWattana Kinwattanasakun
 

Similar to การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน (20)

การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
 
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงานการประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
8
88
8
 
08
0808
08
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation3 howto
Presentation3 howtoPresentation3 howto
Presentation3 howto
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญโครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและความสำคัญ
 

More from 111227 (10)

7
77
7
 
7
77
7
 
5
55
5
 
3
33
3
 
5
55
5
 
3
33
3
 
2
22
2
 
5
55
5
 
2
22
2
 
2
22
2
 

การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน

  • 1. การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพอื่พัฒนาโคร งงาน ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพอื่การศึกษา ลักษณ ะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิ ตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่ว ยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรื อรายกลุ่มการสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้
  • 2. ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไ ลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประก อบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยา ก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึก ษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้น
  • 3. 2.โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งา น โครงงานประยุกต์ใช้งานเป็นโครงงาน ที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงในชี วิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่ งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ ดแวร์ ซอฟต์แวร์
  • 4. หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แ ล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคร าะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานห รือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วป รับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์โครงงาน ประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเค รื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • 5. 3.โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภท นี้เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อ ความรู้หรือเพื่อความเพลิดเพลิน เกมที่พัฒนาควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรงเน้ นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษ ณะและกฎเกณฑ์การเล่นเพื่อให้น่าสนใจ แก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วยผู้พั ฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อ
  • 6. ให้เป็นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ 4.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานปร ะเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือ ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูปซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่า งๆเป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้ างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคาซึ่งจะเป็นเ ครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบ
  • 7. นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนซอฟต์แวร์การว าดรูปพัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกใ ห้การวาดรูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็ นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุม ต่างๆใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิเช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้างเ ป็นอย่างไรก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าแล ะภาพที่ควรจะเป็นมาให้เพื่อพิจารณาแล ะแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างส ะดวก
  • 8. 5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานที่ใช้คอ มพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการทดลองของสาขาต่างๆซึ่งเป็น งานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์ จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรว มความรู้หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวคิดต่างๆอย่างลึกซึ้งใ นเรื่องที่ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนว คิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบายพร้อมทั้งารจาลองทฤษฏีด้ วยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพภาพที่ ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้ นการทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอ
  • 9. ยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆเป็นอย่า งดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่ า และการทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบ บสามมิติ เป็นต้น จากการศึกษาประเภทของโครงงานค อมพิวเตอร์ ทาให้ผู้จัดทาได้ทราบว่า โครงงานคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท รายละเอียดของแต่ละประเภท
  • 10. มีอะไรบ้าง ทาให้ผู้จัดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับไ ปสร้างสรรค์ผลงานให้ถูกประเภทยิ่งขึ้น และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ แก่ผู้อื่นได้ ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่ งข้อมูล 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ และเลือกเรื่องที่จะทาโครงงานคอมพิ วเตอร์ รวมทั้งวางแผนการทาโครงงานทุกขั้ นตอน
  • 11. โดยปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาหรือผู้ ทรงคุณวุฒิแล้ว จึงเขียนเค้าโครงของโครงงานเพื่อใช้ เป็นกรอบแนวคิดและแนวทาง ตลอดจนข้อตกลงต่างๆ ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ระหว่ างผู้เรียน อาจารย์ และผู้เกี่ยวข้อง นอกจากจะต้องใช้หลักการทางวิชาก ารแล้ว ยังจาเป็นต้องมีข้อตกลงและเงือนไขต่ างๆ ด้วย เช่น การขออนุญาตใช้ห้องปฏิบัติการคอม พิวเตอร์ การจัดหาลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ เครื่องมือและตัวแปลภาษาโปรแกรม เป็นต้น เพื่อช่วยให้การทาโครงงานดาเนินไป
  • 12. อย่างราบรื่น 4. การลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ใ นงานด้านต่างๆ 1. คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการออกแบบ คอมพิวเตอร์กราฟิกได้ถูกนามาใช้ใน การออกแบบมาเป็นเวลานาน เราคงจะเคยได้ยินคาว่า CAD (Computer - Aided Design) ซึ่งเป็นโปรแกรมสาหรับช่วยใน การออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ออกแบบหรื
  • 13. อวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผู้ออกแบบสามารถเขียนเป็นแบบลายเส้น แล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริงได้ นอกจากนี้แล้วเมื่อผู้ออกแบบกาหนดขน าดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ผู้ออกแบบยังสามารถย่อหรือขยายภาพนั้ น หรือต้องการหมุนภาพไปในมุมต่างๆ ได้ด้วย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่า การออกแบบบนกระดาษ ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอ นิกส์ คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการอ อกแบบวงจรต่างๆ ผู้ออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโ ดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ
  • 14. ที่ระบบจัดเตรียมไว้ให้แล้วมาประกอบกัน เป็นวงจรที่ต้องการ ผู้ออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิ่มเติมวงจรได้โดยสะดวก นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสาหรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมีความสามารถจัดการให้แผ่ นปรินต์มีขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็ก ทรอนิกส์ได้เหมาะสมที่สุด การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่องบิน หรือเครื่องจักรต่างๆ ในปัจจุบันก็ใช้ระบบ CAD นักออกแบบส ามารถจะออกแบบส่วนย่อยๆ แต่ละส่วนก่อน แล้วนามาประกอบกันเป็นส่วนใหญ่ขึ้นจ นเป็นเครื่องจักรเครื่องยนต์ที่ต้องการได้ นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะท
  • 15. ดสอบแบบจาลองที่ออกแบบไว้ได้ด้วย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้าง ของรถที่ออกแบบนั้นมาจาลองการวิ่ง โดยให้วิ่งที่ความเร็วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทาได้ในระ บบคอมพิวเตอร์และจะประหยัดกว่าการส ร้างรถจริงๆ แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิ่ง การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรือโครงสร้างใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม ก็สามารถทาได้โดยใช้ CAD ช่วยในกา รออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้างใน แบบ 2 มิติเสร็จแล้ว
  • 16. ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็นภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมองต่างๆ กันได้ตามที่ผู้ออกแบบต้องการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภา พให้ปรากฏต่อผู้ออกแบบราวกับว่าผู้ออก แบบสามารถเดินเข้าไปภายในอาคารที่อ อกแบบได้ด้วย 2. กราฟและแผนภาพ คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในกา รแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูล ได้เป็นอย่างดี โปรแกรมทางกราฟิกทั่วไปในท้องตลาด จะเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกร าฟและแผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยังสามารถสร้างกราฟไ ด้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง
  • 17. และกราฟวงกลม นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพกราฟได้ ทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภาพกราฟที่ได้ดูดีและน่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรือแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารหรือผู้จัดกา รกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับข้อมู ลได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจัยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิสิกส์ กราฟและแผนภาพมีส่วนช่วยให้นักวิจัย ทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อข้อ มูลที่ต้องวิเคราะห์มีจานวนมาก
  • 18. ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS (Geographical Information System) ก็เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสด งข้อมูลในทานองเดียวกับกราฟและแผน ภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบ คอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกจัดการ แสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพใ นรูปของแผนที่ทางภูมิศาสตร์
  • 19. 3. ภาพศิลป์โดยคอมพิวเตอร์กราฟิก การวาดภาพในปัจจุบันนี้ใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ต้องใช้พู่กัน กับจานสี แต่จะใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกนี้ เราสามารถกาหนดสี แสงเงา รูปแบบลายเส้นที่ต้องการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็น งานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพก็คื อ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่ต้องการไ ด้ง่าย นอกจากนี้เรายังสามารถนาภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้โดยใช้เครื่อ งสแกนเนอร์
  • 20. (Scanner) แล้วนาภาพเหล่านั้นมาแก้ไข 4. ภาพเคลื่อนไหวโดยใช้คอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนต์ประเภ ทนิยายวิทยาศาสตร์หรือภาพยนตร์ที่ใช้เ ทคนิคพิเศษต่างๆ ในปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิกเ ข้ามาช่วยในการออกแบบและสร้างภาพเ คลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายกว่าวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพที่ได้ยังดูสมจริงมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ป ระเภทนิยายวิทยาศาสตร์ เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกช่วยให้ภาพที่ อยู่ในจินตนาการของมนุษย์สามารถนาอ
  • 21. อกมาทาให้ปรากฏเป็นจริงได้ ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระ บบการศึกษา การอบรม การวิจัย และการจาลองการทางาน เช่น จาลองการขับรถ การขับเครื่องบิน เป็นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์หรือวิดีโอเกมส์ก็ใช้หลั กการทาภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์ กราฟิกเช่นกัน 5. อิเมจโปรเซสซิงก์ คาว่าอิเมจโปรเซสซิงก์ (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรูปหรือจ ากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพค อมพิวเตอร์
  • 22. วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงก์จะต่างกับวิธี การของคอมพิวเตอร์กราฟิก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ตัวคอมพิวเตอร์เองจะเป็นตัวที่สร้างภาพ แต่เทคนิกทางอิเมจโปรเซสซิงก์นั้นใช้ค อมพิวเตอร์สาหรับการจัดรูปแบบของสีแ ละแสงเงาที่มีอยู่แล้วในภาพให้เป็นข้อมูล ทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวิธีการทาให้ภาพที่รับเข้ามา นั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็จัดการกับข้อมูลดิจิตอลนี้ให้เป็ นภาพส่งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอ ร์อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ในการแสดงภาพขอ งวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพจากทีวีสแกนของหุ่นยนต์อุตสาหกร รม เป็นต้น
  • 23. เมื่อภาพถ่ายถูกทาให้เป็นข้อมูลดิจิตอ ลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการแก้ไขเปลี่ยนแปล งภาพนั้นได้โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอล ของภาพนั่นเอง ซึ่งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์ก ราฟิกมาใช้กับข้อมูลเหล่านี้ได้ เช่น ในภาพสาหรับการโฆษณา เราสามารถทาให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่า ยนั้นแปลกออกไปจากเดิมได้โดยมีภาพบ างอย่างเพิ่มเข้าไปหรือบางส่วนของภาพ นั้นหายไป ทาให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะเป็นจริงแต่ดูเหมื อนกับเกิดขึ้นจริงได้ เป็นต้น
  • 24. เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงก์สามา รถประยุกต์ใช้กับการแพทย์ได้ เช่น เครื่องเอกซเรย์ โทโมกราฟี (X-ray Tomography)ซึ่งใช้สาหรับแสดงภาพตั ดขวางของระบบร่างกายมนุษย์ เป็นต้น จากที่กล่าวมาแล้ว เราจะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์กราฟิกนั้นนั บวันยิ่งมีความสาคัญในสาขาวิชาต่างๆ มากขึ้น ดังนั้นจึงเป็นการดีที่เราควรจะมีความรู้ค วามเข้าใจในหลักการและเทคนิคเบื้องต้ นต่างๆ ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์กราฟิก ที่มา http://namkwanmay.wordpress.com/ 2011/02/08/%E0%B8%9B%E0%B8
  • 25. %A3%E0%B8%B0%E0%B9%80% E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8 %82%E0%B8%AD%E0%B8%87% E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8 %A3%E0%B8%87%E0%B8%87% E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8 %84%E0%B8%AD%E0%B8%A1% E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8 %A7/ http://www.rayongwit.ac.th/computer /m2fri49/g21m2fri/apply.htm http://www.mc.ac.th/learning/chaiwb i/project/p111.html