SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ลักษณะเด่นของโครงงาน
ประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อ
การศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่ง
อาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้
พร้อม
ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่ง
อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วย
ตนเองก็ได้โครงงาน ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้
ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจ
ยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน
เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ
ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของ
ประเทศไทย เป็นต้น
2.โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งาน
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้
งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบ
และตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และ
ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมี
การประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจ
เป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่
มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา
และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ใน
การออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบ
การทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้
มีความสมบูรณ์โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนา
ซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อความเพลิดเพลิน เกมที่พัฒนา
ควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรงเน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมี
หลักการโครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์
การเล่นเพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไป
ด้วยผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกม
ต่างๆที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็น
เกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
4.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อ
พัฒนาเครื่องมือช่วยสร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ใน
รูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูปซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และ
ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆเป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์
เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคาซึ่งจะเป็น
เครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน
ซอฟต์แวร์การวาดรูปพัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาด
รูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์
ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิ
เช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้าง
เป็นอย่างไรก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้เพื่อ
พิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก
5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี โครงงานประเภทนี้เป็น
โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการทดลองของสาขา
ต่างๆซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น
การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวม
ความรู้หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวคิดต่างๆอย่างลึกซึ้งในเรื่องที่
ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่
ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบายพร้อมทั้งารจาลองทฤษฏีด้วย
คอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือ
สมการนั้นซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้นการทาโครงงาน
ประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆเป็นอย่างดี
ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของ
ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการ
ทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น
จากการศึกษาประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้จัดทาได้
ทราบว่า โครงงานคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท รายละเอียดของแต่ละ
ประเภท มีอะไรบ้าง ทาให้ผู้จัดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับไป
สร้างสรรค์ผลงานให้ถูกประเภทยิ่งขึ้น และสามารถนาความรู้ที่ได้รับ
ไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิง
ต่างๆ และเลือกเรื่องที่จะทาโครงงานคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวางแผน
การทาโครงงานทุกขั้นตอน โดยปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาหรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว จึงเขียนเค้าโครงของโครงงานเพื่อใช้เป็นกรอบ
แนวคิดและแนวทาง ตลอดจนข้อตกลงต่างๆ ในการทาโครงงาน
คอมพิวเตอร์ระหว่างผู้เรียน อาจารย์ และผู้เกี่ยวข้อง นอกจาก
จะต้องใช้หลักการทางวิชาการแล้ว ยังจาเป็นต้องมีข้อตกลงและเงือน
ไขต่างๆ ด้วย เช่น การขออนุญาตใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
การจัดหาลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ เครื่องมือและตัวแปลภาษา
โปรแกรม เป็นต้น เพื่อช่วยให้การทาโครงงานดาเนินไปอย่างราบรื่น
4. การลงมือทาโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ
1. คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการออกแบบ
คอมพิวเตอร์กราฟิกได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็น
เวลานาน เราคงจะเคยได้ยินคาว่า CAD (Computer - Aided
Design) ซึ่งเป็นโปรแกรมสาหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม
โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ออกแบบหรือวิศวกรออกแบบงานต่างๆ
ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผู้ออกแบบสามารถเขียนเป็นแบบลายเส้น
แล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริงได้นอกจากนี้แล้วเมื่อ
ผู้ออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ผู้ออกแบบ
ยังสามารถย่อหรือขยายภาพนั้น หรือต้องการหมุนภาพไปในมุม
ต่างๆ ได้ด้วย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบ
บนกระดาษ
ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์กราฟิก
ถูกนามาใช้ในการออกแบบวงจรต่างๆ ผู้ออกแบบสามารถวาดวงจร
บนจอภาพโดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรียมไว้ให้แล้วมา
ประกอบกันเป็นวงจรที่ต้องการ ผู้ออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ
เพิ่มเติมวงจรได้โดยสะดวก นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสาหรับ
ออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมีความสามารถ
จัดการให้แผ่นปรินต์มีขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้
เหมาะสมที่สุด
การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่องบิน หรือ
เครื่องจักรต่างๆ ในปัจจุบันก็ใช้ระบบ CAD นักออกแบบสามารถจะ
ออกแบบส่วนย่อยๆ แต่ละส่วนก่อน แล้วนามาประกอบกันเป็นส่วน
ใหญ่ขึ้นจนเป็นเครื่องจักรเครื่องยนต์ที่ต้องการได้นอกจากนี้ในบาง
ระบบยังสามารถที่จะทดสอบแบบจาลองที่ออกแบบไว้ได้ด้วย เช่น
อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้างของรถที่ออกแบบนั้นมา
จาลองการวิ่ง โดยให้วิ่งที่ความเร็วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ซึ่ง
การทดลองแบบนี้สามารถทาได้ในระบบคอมพิวเตอร์และจะ
ประหยัดกว่าการสร้างรถจริงๆ แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิ่ง
การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรือโครงสร้าง
ใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม ก็สามารถทาได้โดย
ใช้CAD ช่วยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้าง
ในแบบ 2 มิติเสร็จแล้ว ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็น
ภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมองต่างๆ กันได้ตามที่
ผู้ออกแบบต้องการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพให้
ปรากฏต่อผู้ออกแบบราวกับว่าผู้ออกแบบสามารถเดินเข้าไปภายใน
อาคารที่ออกแบบได้ด้วย
2. กราฟและแผนภาพ
คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและ
แผนภาพของข้อมูลได้เป็นอย่างดี โปรแกรมทางกราฟิกทั่วไปใน
ท้องตลาดจะเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและแผนภาพ
โปรแกรมเหล่านี้ยังสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น
กราฟแท่ง และกราฟวงกลม นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพกราฟ
ได้ทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภาพกราฟที่ได้ดูดีและ
น่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรือแผนภาพ
แสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ต่อ
ผู้บริหารหรือผู้จัดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับ
ข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจัยต่างๆ เช่น การศึกษา
ทางฟิสิกส์ กราฟและแผนภาพมีส่วนช่วยให้นักวิจัยทาความเข้าใจ
กับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อข้อมูลที่ต้องวิเคราะห์มีจานวนมาก
ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS (Geographical Information
System) ก็เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสดงข้อมูลในทานองเดียวกับ
กราฟและแผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบ
คอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกจัดการแสดงข้อมูล
เหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรูปของแผนที่ทางภูมิศาสตร์
3. ภาพศิลป์โดยคอมพิวเตอร์กราฟิก
การวาดภาพในปัจจุบันนี้ใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่
ต้องใช้พู่กันกับจานสี แต่จะใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกแทน ภาพที่วาด
ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกนี้เราสามารถกาหนดสี แสงเงา รูปแบบ
ลายเส้นที่ต้องการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็
เป็นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์
วาดภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่ต้องการได้ง่าย
นอกจากนี้เรายังสามารถนาภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้
โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพเหล่านั้นมาแก้ไข
4. ภาพเคลื่อนไหวโดยใช้คอมพิวเตอร์
ภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์หรือ
ภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคพิเศษต่างๆ ในปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์
กราฟิกเข้ามาช่วยในการออกแบบและสร้าง
ภาพเคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเป็นวิธี
ที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายกว่าวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพที่ได้ยังดู
สมจริงมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ประเภท
นิยายวิทยาศาสตร์ เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกช่วยให้ภาพที่
อยู่ในจินตนาการของมนุษย์สามารถนาออกมาทาให้ปรากฏเป็นจริง
ได้ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม
การวิจัย และการจาลองการทางาน เช่น จาลองการขับรถ การขับ
เครื่องบิน เป็นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์หรือวิดีโอเกมส์ก็ใช้หลักการทา
ภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์กราฟิกเช่นกัน
5. อิเมจโปรเซสซิงก์
คาว่าอิเมจโปรเซสซิงก์ (Image Processing) หมายถึง การ
แสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรูปหรือจากการสแกนภาพให้ปรากฏบน
จอภาพคอมพิวเตอร์ วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงก์จะต่างกับวิธีการ
ของคอมพิวเตอร์กราฟิก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ตัว
คอมพิวเตอร์เองจะเป็นตัวที่สร้างภาพ แต่เทคนิกทางอิเมจโปรเซส
ซิงก์นั้นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการจัดรูปแบบของสีและแสงเงาที่มีอยู่
แล้วในภาพให้เป็นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวิธีการทาให้ภาพที่
รับเข้ามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็จัดการกับข้อมูล
ดิจิตอลนี้ให้เป็นภาพส่งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอร์อีกที
วิธีการนี้มีประโยชน์ในการแสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็น
ได้โดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพจากทีวีสแกนของหุ่นยนต์
อุตสาหกรรม เป็นต้น
เมื่อภาพถ่ายถูกทาให้เป็นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการ
แก้ไขเปลี่ยนแปลงภาพนั้นได้โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอลของภาพ
นั่นเอง ซึ่งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิกมาใช้กับข้อมูล
เหล่านี้ได้เช่น ในภาพสาหรับการโฆษณา เราสามารถทาให้ภาพที่
เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไปจากเดิมได้โดยมีภาพบางอย่าง
เพิ่มเข้าไปหรือบางส่วนของภาพนั้นหายไป ทาให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะ
เป็นจริงแต่ดูเหมือนกับเกิดขึ้นจริงได้เป็นต้น
เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงก์สามารถประยุกต์ใช้กับ
การแพทย์ได้เช่น เครื่องเอกซเรย์ โทโมกราฟี (X-ray
Tomography)ซึ่งใช้สาหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบร่างกาย
มนุษย์ เป็นต้น
จากที่กล่าวมาแล้ว เราจะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์กราฟิกนั้นนับวันยิ่งมี
ความสาคัญในสาขาวิชาต่างๆ มากขึ้น ดังนั้นจึงเป็นการดีที่เราควรจะ
มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและเทคนิคเบื้องต้นต่างๆ ที่ใช้ใน
คอมพิวเตอร์กราฟิก
ที่มา
http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8
%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0
%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%
B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87
%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%
B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/
http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g21m2fri/a
pply.htm
http://www.mc.ac.th/learning/chaiwbi/project/p111.html

More Related Content

What's hot

Computer Project
Computer ProjectComputer Project
Computer ProjectPanidaling
 
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2TanakornKhamwang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pornphatsorn Chaichanayai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thep-in123456
 
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์Thanatchaya21
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectCartoon99
 
Com3 602 1718
Com3 602 1718Com3 602 1718
Com3 602 1718KUMBELL
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8aomsin33834
 
Presentation 3.pdf
Presentation 3.pdfPresentation 3.pdf
Presentation 3.pdfssuserca2de6
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมCharisma An
 
Digital advertising-approach
Digital advertising-approachDigital advertising-approach
Digital advertising-approachssuser6a2994
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 aonaon080
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์supatra2011
 

What's hot (17)

Computer Project
Computer ProjectComputer Project
Computer Project
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
กิจกรรมที่2-3 Presentation 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 3 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Com3 602 1718
Com3 602 1718Com3 602 1718
Com3 602 1718
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Presentation 3.pdf
Presentation 3.pdfPresentation 3.pdf
Presentation 3.pdf
 
Presentation3
Presentation3Presentation3
Presentation3
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Digital advertising-approach
Digital advertising-approachDigital advertising-approach
Digital advertising-approach
 
ป๊อก 5555
ป๊อก 5555 ป๊อก 5555
ป๊อก 5555
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work3 comclass
Work3 comclassWork3 comclass
Work3 comclass
 

Viewers also liked

ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54Soraya Khamfu
 
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54Soraya Khamfu
 
ใบความรู้เรื่องBlog
ใบความรู้เรื่องBlogใบความรู้เรื่องBlog
ใบความรู้เรื่องBlog171646167
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 

Viewers also liked (15)

888
888888
888
 
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
ข้อสอบโอเน็ตสังคม ปี54
 
5
55
5
 
2
22
2
 
7
77
7
 
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ปี54
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาอังกฤษ ปี54
 
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
ข้อสอบโอเน็ตภาษาไทย ปี54
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตวิยาศาสตร์ ปี54
 
3
33
3
 
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
ข้อสอบโอเน็ตศิลปะ ปี54
 
ใบความรู้เรื่องBlog
ใบความรู้เรื่องBlogใบความรู้เรื่องBlog
ใบความรู้เรื่องBlog
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 

Similar to 12

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)Kornkaruna Lawanyakul
 
ใบงาน 1 copy
ใบงาน 1 copyใบงาน 1 copy
ใบงาน 1 copypompameiei
 
งานที่3
งานที่3งานที่3
งานที่3natsun2424
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Chanya Sangsuwanlert
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาdgnjamez
 
ใบงาน4 แก้
ใบงาน4 แก้ใบงาน4 แก้
ใบงาน4 แก้Yong Panupun
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 Phakphoom
 
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาRut' Np
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7Gu 'Boss
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานPreeyaporn Wannamanee
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Nichaphat Sanguthai
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาmansupotyrc
 

Similar to 12 (20)

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ (2)
 
ใบงาน 1 copy
ใบงาน 1 copyใบงาน 1 copy
ใบงาน 1 copy
 
23
2323
23
 
งานที่3
งานที่3งานที่3
งานที่3
 
236
236236
236
 
236
236236
236
 
236
236236
236
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงาน4 แก้
ใบงาน4 แก้ใบงาน4 แก้
ใบงาน4 แก้
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
กิจกรรม3
กิจกรรม3กิจกรรม3
กิจกรรม3
 
Gor4
Gor4Gor4
Gor4
 
3
33
3
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 

12

  • 1. การประยุกต์คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาโครงงาน ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ลักษณะเด่นของโครงงาน ประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อ การศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่ง อาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้ พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการสอน โดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่ง อาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วย ตนเองก็ได้โครงงาน ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจ ยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่สาคัญของ ประเทศไทย เป็นต้น
  • 2. 2.โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน โครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้ งานจริงในชีวิตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบ และตกแต่งภายในอาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และ ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานประเภทนี้จะมี การประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจ เป็นการคิดสร้างสิ่งของขึ้นใหม่ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่ มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา และวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ใน การออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบ การทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้วปรับปรุงแก้ไขให้ มีความสมบูรณ์โครงงานประเภทนี้ผู้เรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • 3. 3.โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานพัฒนา ซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรือเพื่อความเพลิดเพลิน เกมที่พัฒนา ควรจะเป็นเกมที่ไม่รุนแรงเน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมี หลักการโครงงานประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์ การเล่นเพื่อให้น่าสนใจแก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไป ด้วยผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกม ต่างๆที่มีอยู่ทั่วไป และนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็น เกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่างๆ
  • 4. 4.โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็นโครงงานเพื่อ พัฒนาเครื่องมือช่วยสร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่วนใหญ่จะอยู่ใน รูปซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูปซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และ ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆเป็นต้น สาหรับซอฟต์แวร์ เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลคาซึ่งจะเป็น เครื่องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆบนเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน ซอฟต์แวร์การวาดรูปพัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความสะดวกให้การวาด รูปบนเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นไปได้โดยง่าย สาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่งของ อาทิ เช่น ผู้ใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูว่าด้านบนและด้านข้าง เป็นอย่างไรก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็นมาให้เพื่อ พิจารณาและแก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก
  • 5. 5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี โครงงานประเภทนี้เป็น โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการทดลองของสาขา ต่างๆซึ่งเป็นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริงได้ เช่น การจุดระเบิด เป็นต้น และเป็นโครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวม ความรู้หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวคิดต่างๆอย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ ต้องการศึกษาแล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยู่ ในรูปของสูตร สมการ หรือคาอธิบายพร้อมทั้งารจาลองทฤษฏีด้วย คอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็นภาพภาพที่ได้ก็จะเปลี่ยนไปตามสูตรหรือ สมการนั้นซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจได้ดียิ่งขึ้นการทาโครงงาน ประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นๆเป็นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่องการไหลของ ของเหลว การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปิรันย่า และการ ทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ เป็นต้น
  • 6. จากการศึกษาประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ ทาให้ผู้จัดทาได้ ทราบว่า โครงงานคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท รายละเอียดของแต่ละ ประเภท มีอะไรบ้าง ทาให้ผู้จัดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับไป สร้างสรรค์ผลงานให้ถูกประเภทยิ่งขึ้น และสามารถนาความรู้ที่ได้รับ ไปเผยแพร่แก่ผู้อื่นได้ ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน เมื่อผู้เรียนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิง ต่างๆ และเลือกเรื่องที่จะทาโครงงานคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวางแผน การทาโครงงานทุกขั้นตอน โดยปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาหรือ ผู้ทรงคุณวุฒิแล้ว จึงเขียนเค้าโครงของโครงงานเพื่อใช้เป็นกรอบ แนวคิดและแนวทาง ตลอดจนข้อตกลงต่างๆ ในการทาโครงงาน
  • 7. คอมพิวเตอร์ระหว่างผู้เรียน อาจารย์ และผู้เกี่ยวข้อง นอกจาก จะต้องใช้หลักการทางวิชาการแล้ว ยังจาเป็นต้องมีข้อตกลงและเงือน ไขต่างๆ ด้วย เช่น การขออนุญาตใช้ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ การจัดหาลิขสิทธิ์ของซอฟต์แวร์ เครื่องมือและตัวแปลภาษา โปรแกรม เป็นต้น เพื่อช่วยให้การทาโครงงานดาเนินไปอย่างราบรื่น 4. การลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการประยุกต์ใช้ในงานด้านต่างๆ 1. คอมพิวเตอร์กราฟิกกับการออกแบบ คอมพิวเตอร์กราฟิกได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็น เวลานาน เราคงจะเคยได้ยินคาว่า CAD (Computer - Aided Design) ซึ่งเป็นโปรแกรมสาหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ออกแบบหรือวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผู้ออกแบบสามารถเขียนเป็นแบบลายเส้น แล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริงได้นอกจากนี้แล้วเมื่อ ผู้ออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ผู้ออกแบบ ยังสามารถย่อหรือขยายภาพนั้น หรือต้องการหมุนภาพไปในมุม
  • 8. ต่างๆ ได้ด้วย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบ บนกระดาษ ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์กราฟิก ถูกนามาใช้ในการออกแบบวงจรต่างๆ ผู้ออกแบบสามารถวาดวงจร บนจอภาพโดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรียมไว้ให้แล้วมา ประกอบกันเป็นวงจรที่ต้องการ ผู้ออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิ่มเติมวงจรได้โดยสะดวก นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสาหรับ ออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมีความสามารถ จัดการให้แผ่นปรินต์มีขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ได้ เหมาะสมที่สุด การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่องบิน หรือ เครื่องจักรต่างๆ ในปัจจุบันก็ใช้ระบบ CAD นักออกแบบสามารถจะ ออกแบบส่วนย่อยๆ แต่ละส่วนก่อน แล้วนามาประกอบกันเป็นส่วน ใหญ่ขึ้นจนเป็นเครื่องจักรเครื่องยนต์ที่ต้องการได้นอกจากนี้ในบาง ระบบยังสามารถที่จะทดสอบแบบจาลองที่ออกแบบไว้ได้ด้วย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้างของรถที่ออกแบบนั้นมา จาลองการวิ่ง โดยให้วิ่งที่ความเร็วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ซึ่ง การทดลองแบบนี้สามารถทาได้ในระบบคอมพิวเตอร์และจะ ประหยัดกว่าการสร้างรถจริงๆ แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิ่ง
  • 9. การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรือโครงสร้าง ใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและสถาปัตยกรรม ก็สามารถทาได้โดย ใช้CAD ช่วยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้าง ในแบบ 2 มิติเสร็จแล้ว ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็น ภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมองต่างๆ กันได้ตามที่ ผู้ออกแบบต้องการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพให้ ปรากฏต่อผู้ออกแบบราวกับว่าผู้ออกแบบสามารถเดินเข้าไปภายใน อาคารที่ออกแบบได้ด้วย 2. กราฟและแผนภาพ คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและ แผนภาพของข้อมูลได้เป็นอย่างดี โปรแกรมทางกราฟิกทั่วไปใน ท้องตลาดจะเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยังสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟวงกลม นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพกราฟ ได้ทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภาพกราฟที่ได้ดูดีและ น่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรือแผนภาพ แสดงการเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็นประโยชน์ต่อ ผู้บริหารหรือผู้จัดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับ ข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจัยต่างๆ เช่น การศึกษา
  • 10. ทางฟิสิกส์ กราฟและแผนภาพมีส่วนช่วยให้นักวิจัยทาความเข้าใจ กับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อข้อมูลที่ต้องวิเคราะห์มีจานวนมาก ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS (Geographical Information System) ก็เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสดงข้อมูลในทานองเดียวกับ กราฟและแผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบ คอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกจัดการแสดงข้อมูล เหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรูปของแผนที่ทางภูมิศาสตร์ 3. ภาพศิลป์โดยคอมพิวเตอร์กราฟิก การวาดภาพในปัจจุบันนี้ใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ ต้องใช้พู่กันกับจานสี แต่จะใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกแทน ภาพที่วาด ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิกนี้เราสามารถกาหนดสี แสงเงา รูปแบบ ลายเส้นที่ต้องการได้โดยง่าย ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็ เป็นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์
  • 11. วาดภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่วนที่ต้องการได้ง่าย นอกจากนี้เรายังสามารถนาภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ได้ โดยใช้เครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพเหล่านั้นมาแก้ไข 4. ภาพเคลื่อนไหวโดยใช้คอมพิวเตอร์ ภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์หรือ ภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคพิเศษต่างๆ ในปัจจุบันมีการนาคอมพิวเตอร์ กราฟิกเข้ามาช่วยในการออกแบบและสร้าง ภาพเคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเป็นวิธี ที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายกว่าวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพที่ได้ยังดู สมจริงมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ประเภท นิยายวิทยาศาสตร์ เป็นต้น การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกช่วยให้ภาพที่ อยู่ในจินตนาการของมนุษย์สามารถนาออกมาทาให้ปรากฏเป็นจริง ได้ภาพเคลื่อนไหวมีประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจัย และการจาลองการทางาน เช่น จาลองการขับรถ การขับ เครื่องบิน เป็นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์หรือวิดีโอเกมส์ก็ใช้หลักการทา ภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์กราฟิกเช่นกัน 5. อิเมจโปรเซสซิงก์
  • 12. คาว่าอิเมจโปรเซสซิงก์ (Image Processing) หมายถึง การ แสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรูปหรือจากการสแกนภาพให้ปรากฏบน จอภาพคอมพิวเตอร์ วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงก์จะต่างกับวิธีการ ของคอมพิวเตอร์กราฟิก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก ตัว คอมพิวเตอร์เองจะเป็นตัวที่สร้างภาพ แต่เทคนิกทางอิเมจโปรเซส ซิงก์นั้นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการจัดรูปแบบของสีและแสงเงาที่มีอยู่ แล้วในภาพให้เป็นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวิธีการทาให้ภาพที่ รับเข้ามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็จัดการกับข้อมูล ดิจิตอลนี้ให้เป็นภาพส่งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอร์อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ในการแสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็น ได้โดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม ภาพจากทีวีสแกนของหุ่นยนต์ อุตสาหกรรม เป็นต้น เมื่อภาพถ่ายถูกทาให้เป็นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการ แก้ไขเปลี่ยนแปลงภาพนั้นได้โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอลของภาพ นั่นเอง ซึ่งเราก็จะใช้หลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิกมาใช้กับข้อมูล เหล่านี้ได้เช่น ในภาพสาหรับการโฆษณา เราสามารถทาให้ภาพที่
  • 13. เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไปจากเดิมได้โดยมีภาพบางอย่าง เพิ่มเข้าไปหรือบางส่วนของภาพนั้นหายไป ทาให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะ เป็นจริงแต่ดูเหมือนกับเกิดขึ้นจริงได้เป็นต้น เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงก์สามารถประยุกต์ใช้กับ การแพทย์ได้เช่น เครื่องเอกซเรย์ โทโมกราฟี (X-ray Tomography)ซึ่งใช้สาหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบร่างกาย มนุษย์ เป็นต้น จากที่กล่าวมาแล้ว เราจะเห็นได้ว่าคอมพิวเตอร์กราฟิกนั้นนับวันยิ่งมี ความสาคัญในสาขาวิชาต่างๆ มากขึ้น ดังนั้นจึงเป็นการดีที่เราควรจะ มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและเทคนิคเบื้องต้นต่างๆ ที่ใช้ใน คอมพิวเตอร์กราฟิก ที่มา http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8 %9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0 %E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0% B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87 %E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0% B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/