SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
โครงงาน
คอมพิวเตอร์
COMPUTER PROJECT
กิจกรรมที่ 2 ความหมาย ความสาคัญ
และขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
หมายถึง กิจกรรมการเรียนที่นักเรียนมีอิสระในการเลือกศึกษาปัญหาที่ตนเอง
สนใจ โดยจะต้องวางแผนการดาเนินงาน ศึกษา พัฒนาโปรแกรม โดยใช้ความรู้ทาง
กระบวนการวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาโครงงาน เรื่องที่นักเรียนสนใจและคิดจะทา
โครงงาน ซึ่งอาจมีผู้ศึกษามาก่อน หรือเป็นเรื่องที่นักพัฒนาโปรแกรมได้เคยค้นคว้า
และพัฒนาแล้ว นักเรียนสามารถทาโครงงานเรื่องดังกล่าวได้
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
แต่ต้องคิดดัดแปลงแนวทางในการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาโปรแกรม
หรือศึกษาเพิ่มเติมจากผลงานเดิมที่มีผู้รายงานไว้
จุดมุ่งหมายสาคัญของการทาโครงงานเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนได้รับประสบการณ์
ตรงในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์แก้ปัญหา ประดิษฐ์คิดค้น หรือค้นคว้าหาความรู้ต่างๆ ใช้
คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อการศึกษา ประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ตลอดจนการพัฒนาเกม
คอมพิวเตอร์ เพื่อฝึกให้นักเรียนเป็นบุคคลที่ใฝ่เรียนใฝ่รู้ การพัฒนาความคิดใหม่ๆ ความ
มีคุณธรรมจริยธรรม เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ให้กับเพื่อนมนุษย์ และอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและ
ความสามารถของผู้เรียน โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานจึงเป็นกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่มีการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ
รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ และความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อสร้างผลงานตามความต้องการได้อย่างเหมาะสม โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้
คาแนะนา
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทาให้ผู้เรียนเกิดความสามารถใน
ด้านต่าง ๆ ที่สาคัญ 5 ประการ ดังนี้
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
1.ความสามารถในการสื่อสาร
เป็นความสามารถที่เกิดจากการที่นักเรียนเป็นผู้ทาโครงงานต้องนาเสนอ
ผลงานให้ ครูและเพื่อนนักเรียนให้เข้าใจโครงงานคอมพิวเตอร์ได้อย่างชัดเจน
ดังนั้น ผู้ทาโครงงานต้องสื่อสารความคิดในการสร้างสรรค์โครงงานด้วยการ
เขียนหรือด้วยปากเปล่า รวมทั้งเลือกใช้รูปแบบของสื่ออย่างมีประสิทธิภาพเพื่อ
นาเสนอแนวคิดในการจัดโครงงานให้ผู้อื่นได้เข้าใจ
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
2.ความสามารถในการคิด ซึ่งผู้เรียนจะมีการคิดในลักษณะต่าง ๆ ดังนี้
• การคิดวิเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องวิเคราะห์ปัญหาและแยกแยะสาเหตุว่า
เกิดเนื่องจากอะไร
• การคิดสังเคราะห์ เกิดจากการที่ผู้เรียนต้องนาความรู้ต่าง ๆ ที่เรียนมา
รวมทั้งความรู้จากการค้นหาข้อมูล เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือการสร้างสรรค์
โครงงาน
• การคิดอย่างสร้างสรรค์ เกิดจากการที่ผู้เรียนนาความรู้มาสร้างสรรค์ผลงาน
ใหม่ ๆ
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
• การคิดอย่างมีวิจารณญาณ เกิดจากการที่ผู้เรียนได้มีการคิดไตร่ตรองว่าควรทาโครงงาน
ใดและไม่ควรทาโครง งานใด เนื่องจากโครงงานที่สร้างขึ้นอาจส่งผลกระทบต่อสังคม
โดยรวม เช่น โครงงานระบบคานวณเลขหวย สาหรับหาเลขที่คาดว่าสลากกินแบ่งรัฐบาล
จะออกในแต่ละงวด อาจส่งผลกระทบต่อสังคม ทาให้คนในสังคมเกิดความหมกมุ่นในกับ
การใช้เงินเล่นหวยมากขึ้น
• การคิดอย่างเป็นระบบ เกิดจากการที่ผู้เรียนคิดแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน โดยใช้ขั้นตอน
ในการพัฒนาโครงงาน คือ ผู้เรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษา ค้นคว้า เก็บรวบรวมข้อมูล
พัฒนา หรือประดิษฐ์คิดค้นผลงาน รวมทั้งการสรุปผลและ การนาเสนอผลการศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีผู้สอนและผู้ทรงคุณวุฒิเป็นผู้ให้คาปรึกษา
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
เกิดจากการที่ผู้เรียนวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจ และอธิบายปัญหาทางด้าน
คอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการ
แก้ไขปัญหา
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
เกิดจากการที่ผู้เรียนได้นาความรู้และกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการพัฒนา
โครงงาน และนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม รวมถึงการพัฒนา
โครงงาน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง อันนาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
ความสาคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
5.ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เกิดจากการที่ผู้เรียนสามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ดาเนินงานโดยนักเรียน เป็นผู้ริเริ่มสร้างสรรค์และครูอาจารย์ เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา
มีองค์ประกอบดังนี้
1. เป็นกิจกรรมการเรียนให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้า ปฏิบัติดัวยตนเอง โดยอาศัยหลัก
วิชาการทางทฤษฎีตามเนื้อหาโครงงานนั้นๆ หรือจากประสบการณ์และกิจกรรมต่าง ๆ
ที่ได้พบเห็นมากแล้ว
2. นักเรียนทุกคนพิจารณาจัดทาโครงงานด้วยตนเอง หรือเป็นกลุ่ม โดยใช้ระยะเวลา
สั้นๆ เป็นภาคเรียน หรือมากว่าก็ได้ แล้วแต่โครงงานเล็กหรือใหญ่
ขอบข่ายของโครงงานคอมพิวเตอร์
3. นักเรียนเป็นผู้พิจารณาริเริ่มสร้างสรรค์ คัดเลือกโครงงานที่จะศึกษาค้นคว้าปฏิบัติ
ด้วยตนเองตามความถนัด สนใจ และความพร้อม
4. นักเรียนเป็นผู้เสนอโครงงาน รายละเอียดของโครงงาน แผนปฏิบัติงานและการ
แปลผลรายงานผลต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อดาเนินงานร่วมกันให้บรรลุตามจุดหมายที่
กาหนดไว้
5. เป็นโครงงานที่เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของนักเรียนตามวัยและสติปัญญา
รวมทั้งการใช้จ่ายเงินดาเนินงานด้วย
กิจกรรมที่ 3 ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยในทุก ๆ สาขาวิชา ดังนั้นโครงงาน
คอมพิวเตอร์จึงมีความหลากหลายเป็นอย่างมาก ทั้งในลักษณะของเนื้อหา กิจกรรม
และลักษณะของประโยชน์หรือผลงานที่ได้ ซึ่งอาจแบ่งเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้
5 ประเภท คือ
1. โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
2. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
3. โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
4. โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
5. โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media Development)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียน
หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม
ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบ
Online ให้นักเรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นสาขา
คอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่น ๆ ฯลฯ โดยนักเรียนอาจ
คัดเลือกหัวข้อที่นักเรียนทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรมบทเรียน
ตัวอย่างเช่น โปรแกรมสอนวิธีการใช้งาน ระบบสุริยะจักรวาล โปรแกรมแบบทดสอบวิชาต่าง ๆ
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media Development)
ลักษณะเด่นของโครงงานประเภทนี้ คือ เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อเพื่อ
การศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด
บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบรายบุคคลหรือรายกลุ่มการ
สอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน ซึ่งอาจเป็นการ
พัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงานประเภทนี้สามารถ
พัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก
มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบ
โปรเจ็กไตล์ ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และ
สถานที่สาคัญของประเทศไทย เป็นต้น
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media Development)
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ ไม่ว่า
จะเป็นสาขาคอมพิวเตอร์ วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคม วิชาชีพอื่นๆ
โดยอาจคัดเลือกหัวข้อทั่วไปที่ทาความเข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาโปรแกรม
บทเรียน เช่น
• สารานุกรมไทยฉบับมัลติมีเดีย
• สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล
• พิพิธภัณฑ์หุ่นขี้ผึ้งไทย
• โปรแกรมช่วยสอนการถ่ายภาพ
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media Development)
• คอมพิวเตอร์สอนพิมพ์ดีด
• ยาไทยและยาจีน
• สูตรขนมไทยอร่อยทั่วโลก
• 76 จังหวัดของไทย
• โปรแกรมช่วยสอนการทางานของทรานซิสเตอร์
สื่อเพื่อการศึกษาโปรแกรมบทเรียน
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน โดยสร้างเป็น
โปรแกรมบทเรียน หรือบทเรียนออนไลน์ ที่อาจมีแบบฝึกหัดหรือคาถามเพื่อทดสอบ
โครงงานประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนการสอนในเนื้อหา
วิชาต่าง ๆ เช่น บทเรียนออนไลน์เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ บทเรียน
ออนไลน์เรื่องชุดกล่องสมองกล หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์เรื่องสานวนสุภาษิต
สื่อเพื่อการศึกษาทางอินเทอร์เน็ต บทเรียนออนไลน์ (TSI e-Learning)
อิสระแห่งการเรียนรู้ ทุกที่ ทุกเวลา
ด้วยการผสมผสานอย่างลงตัวของเทคโนโลยีมัลติมีเดียและเนื้อหาบทเรียน การเรียนรู้เรื่องการลงทุน
จึงกลายเป็นเรื่องง่ายและสร้างความเข้าใจเรื่องลงทุนได้แบบ Step by Step
TSI e-Learning เป็นการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยี Internet ซึ่งจะนาเสนอบทเรียนใน
รูปแบบของการผสมผสานระหว่างวีดีโอ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว และตัวอักษร ทาให้บทเรียนมีความน่าสนใจ และง่ายต่อการทาความเข้าใจ
TSI e-Learning จึงเป็นสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ที่สมบูรณ์แบบ สอดคล้องกับความต้องการและวิถี
ชีวิตของคนรุ่นใหม่ที่ต้องการเรียนรู้เรื่องการเงินการลงทุน เนื่องจากผู้เรียนสามารถเลือกเวลาและสถานที่
ในการเรียนได้ตามความสะดวก โดยยังคงได้รับสาระความรู้พื้นฐานอย่างครบถ้วนเช่นเดียวกับการอบรม
สัมมนาในห้องเรียน
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
เป็นโครงงานเพื่อพัฒนาเครื่องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่าง ๆ ซึ่งโดยส่วน
ใหญ่จะเป็นในรูปซอฟต์แวร์ ตัวอย่างของเครื่องมือช่วยงาน เช่น ซอฟต์แวร์วาดรูป
ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ เป็นต้น สาหรับ
ซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้นเป็นโปรแกรมประมวลผลภาษา ซึ่งจะเป็น
เครื่องมือให้เราใช้งานในงานพิมพ์ต่างๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นไปได้โดยง่าย
ซึ่งรูปที่ได้สามารถนาไปใช้งานต่างๆ ได้มากมาย สาหรับซอฟต์แวร์ช่วยในการมอง
วัตถุในมุมต่าง ๆ ใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ่งของต่าง ๆ เช่น
• โปรแกรมประเภท 3D
• โปรแกรมการค้นหาคาภาษาไทย
• โปรแกรมอ่านอักษรไทย
• โปรแกรมวาดภาพสามมิติ
• โปรแกรมบีบอัดข้อมูล
• โปรแกรมประมวลผลคาไทยในระบบปฏิบัติการลีนุกซ์
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ (Tools Development)
โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
เป็นโครงงานใช้คอมพิวเตอร์ในการจาลองการทดลองของสาขาต่าง ๆ เป็น
โครงงานที่ผู้ทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริงและแนวความคิดต่าง ๆ
อย่างลึกซึ้งในเรื่องที่ต้องการศึกษา แล้วเสนอเป็นแนวคิด แบบจาลอง หลักการ
ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสมการ สูตร หรือคาอธิบายก็ได้ พร้อมทั้งนาเสนอวิธีการจาลอง
ทฤษฎีด้วยคอมพิวเตอร์ การทาโครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยู่ที่ผู้ทาต้องมีความรู้
เรื่องนั้น ๆ เป็นอย่างดี ตัวอย่าง เช่น การทดลองเรื่องการไหลของเหลว การทดลอง
เรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ เป็นต้น
โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
• การทดลองเรื่องการไหลของเหลว
• การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาอโรวาน่า
• ทฤษฎีการแบ่งแยกดีเอ็นเอ
• ปัจจัยต่างๆกับการเคลื่อนที่ของเครื่องบิน
• การทดลองเรื่องการมองเห็นวัตถุแบบสามมิติ
• การทานายอุณหภูมิที่ผ่านมา
• การทดลองเรื่องพฤติกรรมของปลาปีรันย่า
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน(Application)
เป็นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการสร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริงใน
ชีวิตประจาวัน เช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งอาคาร ซอฟต์แวร์
สาหรับการผสมสี ซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็นต้น โครงงานงานประเภทนี้
จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรืออุปกรณ์ใช้สอยต่าง ๆ ซึ่งอาจจะสร้างใหม่
หรือปรับปรุงดัดแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มี ประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได้ โครงงาน
ลักษณะนี้จะต้องศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้
ในการออกแบบ และพัฒนาสิ่งของนั้น ๆ
โครงงานประเภทจาลองทฤษฎี (Theory Experiment)
ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรือทดสอบคุณภาพของสิ่งประดิษฐ์แล้ว
ปรับปรุงแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้นักเรียนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งอาจใช้
วิธีทางวิศวกรรมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ในการพัฒนาด้วย เช่น
• ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายในอาคาร
• ซอฟต์แวร์การผสมสี
• ซอฟต์แวร์การระบุคนร้าย
• พจนานุกรมไทย-อังกฤษ
โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
เป็นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้ และ/หรือ ความเพลิดเพลิน เช่น
เกมหมากรุก เกมหมากฮอส เกมการคานวณเลข ซึ่งเกมที่พัฒนาขึ้นนี้น่าจะเน้นให้เป็น
เกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึกคิดอย่างมีหลักการ โครงงานประเภทนี้จะมี
การออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจเก่ผู้เล่น พร้อมทั้งให้
ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผู้พัฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
เกมต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั่วไปและนามาปรับปรุงหรือพัฒนาขึ้นใหม่เพื่อให้เป็นเกมที่แปลกใหม่
และน่าสนใจแก่ผู้เล่นกลุ่มต่าง ๆ เช่น
โครงงานพัฒนาเกม (Game Development)
• เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี
• เกมตกปลา
• เกมอักษรเขาวงกต
• เกมเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
• เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ
• เกมหมากฮอส
• เกมปริศนาสายฟ้าแลบ
• เกมปลูกผัก
กิจกรรมที่ 4 ขั้นตอนของการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3. จัดทาข้อเสนอโครงงาน
4. การลงมือทาโครงงาน
5. การเขียนรายงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา
โดยทั่วไปเรื่องที่จะมาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์มักได้จากปัญหา คาถาม
หรือความสนใจในเรื่องต่างๆ จากการสังเกตสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับระบบ
คอมพิวเตอร์ หรือสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ ในการ
ตัดสินใจเลือกหัวข้อที่จะนามาพัฒนาเป็นโครงงานคอมพิวเตอร์ ควรพิจารณา
องค์ประกอบที่สาคัญดังต่อไปนี้
1.1 ต้องมีความรู้และทักษะพื้นฐานอย่างเพียงพอในหัวข้อเรื่องที่จะศึกษา
1.2 สามารถจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์และวัสดุอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องได้
1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจจะทา
1.3 มีแหล่งความรู้เพียงพอที่จะค้นคว้าหรือขอคาปรึกษา
1.4 มีเวลาเพียงพอ
1.5 มีงบประมาณเพียงพอ
1.6 มีความปลอดภัย
2. ศึกษาค้นคว้าและวางแผน
การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล รวมถึงการขอคาปรึกษาจาก
ผู้ทรงคุณวุฒิ จะช่วยให้นักเรียนได้แนวคิดที่ใช้ในการกาหนดขอบเขตของเรื่องที่จะ
ศึกษาได้เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น รวมทั้งได้ความรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่จะศึกษา จน
สามารถใช้ออกแบบและวางแผนดาเนินการทาโครงงานนั้นได้
3. จัดทาข้อเสนอโครงงานที่จะทา
จัดทาข้อเสนอโครงงานที่จะทา ดังนี้
3.1 ศึกษาค้นคว้าเอกสารอ้างอิงและรวบรวมข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิ
3.2 วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะของโครงการที่จะพัฒนา
3.3 ออกแบบการพัฒนา มีการกาหนดลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์
และตัวแปลภาษา โปรแกรม และวัสดุต่าง ๆ ที่ต้องใช้
3.4 กาหนดตารางการปฏิบัติงานของการจัดทาเค้าโครงของโครงงาน ลงมือทา
โครงงานและสรุปรายงานโครงงาน โดยกาหนดช่วงเวลาอย่างกว้าง ๆ
3. จัดทาข้อเสนอโครงงานที่จะทา
3.5 ทาการพัฒนาโครงงานขั้นต้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้เบื้องต้น โดยอาจจะทา
การพัฒนาส่วนย่อย ๆ บางส่วนตามที่ได้ออกแบบไว้แล้ว นาผลจากการศึกษาในช่วงนี้
ไปปรับปรุงแผนการทดลองที่ออกแบบไว้ในครั้งแรกให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
3.6 เสนอเค้าโครงของโครงงานคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อขอคาแนะนา
และปรับปรุงแก้ไข เพื่อให้การวางแผนและดาเนินการทาโครงงานเป็นไปอย่างเหมาะสม
เป็นขั้นตอนตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด
4. การลงมือทาโครงงาน
เมื่อเค้าโครงของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว ก็เสมือน
ว่าการจัดทาโครงงานได้ผ่านพ้นไปแล้วมากกว่าครึ่ง ขั้นตอนต่อไปเป็นการลงมือ
พัฒนาตามขั้นตอนที่ได้วางแผนไว้ เช่น จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม รวมทั้งการ
กาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของสมาชิกในกลุ่มให้ชัดเจน แล้วจึงดาเนินการทา
โครงงาน ขณะเดียวกันต้องมีการทดสอบ ตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนา
โครงงานเป็นระยะ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงกับ
ความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และเกิดประสิทธิภาพตามขั้นตอนต่อไปนี้
4. การลงมือทาโครงงาน
4.1 การเตรียมการ ต้องเตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ และวัสดุอื่น ๆ ที่จะใช้ในการพัฒนาให้
พร้อมและควรเตรียมสมุดบันทึกหรือบันทึกเป็นแฟ้มข้อความไว้ในระบบคอมพิวเตอร์ สาหรับบันทึกการทา
กิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างการทาโครงงาน ได้แก่ การดาเนินการอย่างไร ได้ผลอย่างไร มีปัญหาและแก้ไขได้
หรือไม่อย่างไร รวมทั้งข้อสังเกตต่าง ๆ ที่พบ
4.2 การลงมือพัฒนา เป็นการปฏิบัติตามแผนงานที่ได้วางไว้ในเค้าโครง ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงหรือ
เพิ่มเติมได้ หากพบว่าจะช่วยให้ผลงานพัฒนาได้ดีขึ้น โดยจัดระบบการทางาน ทาส่วนที่เป็นหลักสาคัญให้
เสร็จก่อน จึงค่อยทาส่วนที่เป็นส่วนประกอบหรือส่วนเสริม เพื่อให้โครงงานมีความสมบูรณ์มากขึ้น และถ้ามี
การแบ่งงานกันทา ให้มีการตกลงรายละเอียดในการเชื่อมต่อชิ้นงานที่ชัดเจนด้วย รวมทั้งต้องพัฒนา
ระบบงานด้วยความละเอียดรอบคอบ บันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบและครบถ้วน
4. การลงมือทาโครงงาน
4.3 การทดสอบผลงานและแก้ไข เป็นการตรวจสอบความถูกต้องของผลงาน เพื่อให้แน่ใจว่าผลงานที่
พัฒนาขึ้น ทางานได้ถูกต้องตรงตามความต้องการที่ระบุไว้ในเป้าหมาย และมีประสิทธิภาพ
4.4 การอภิปรายและข้อเสนอแนะ เมื่อพัฒนาผลงานเรียบร้อยแล้ว ให้จัดทาข้อสรุปด้วยข้อความที่สั้น
กะทัดรัด ครอบคลุมหัวข้อโครงงาน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านได้เข้าใจถึงสิ่งที่ค้นพบจากการทาโครงงานและ
อภิปรายผล เพื่อพิจารณาข้อมูลและผลที่ได้ พร้อมกับนาไปหาความสัมพันธ์กับ หลักการ ทฤษฎี หรือ
ผลงานที่ผู้อื่นได้ศึกษาไว้แล้ว ทั้งนี้รวมไปถึงหลักการ ทฤษฎี หรือผลงานของผู้อื่นมาใช้ประกอบการอภิปราย
ผลได้
4.5 แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและข้อเสนอแนะ เมื่อทาโครงงานเสร็จสิ้นลงแล้ว นักเรียนอาจ
พบข้อสังเกต ประเด็นที่สาคัญหรือปัญหาซึ่งสามารถเขียนเป็นข้อเสนอแนะ สาหรับผู้ที่สนใจจะนาไปพัฒนา
ผลงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
5. เขียนรายงานและจัดทาคู่มือการใช้
การเขียนรายงานเป็นวิธีการสื่อความหมายเพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจแนวคิด วิธีดาเนินการศึกษา
ค้นคว้าหาข้อมูลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ในการเขียน
รายงานนักเรียนควรใช้ภาษาที่อ่านง่าย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา และส่วนสุดท้าย
เป็นคู่มือการใช้งานโครงงาน ซึ่งประกอบด้วย
ส่วนแรกของรายงานจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงงาน โดยส่วนใหญ่ได้เขียนไว้ในข้อเสนอ
โครงงานบ้างแล้ว ยกเว้น กิตติกรรมประกาศ ซึ่งเป็นคากล่าวขอบคุณบุคลากรหรือ
หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนช่วยให้การทาโครงงานสาเร็จ อีกส่วนหนึ่งคือ บทคัดย่อ ซึ่งเป็น
การอธิบายโดยสรุปให้เห็นถึงผลการศึกษาที่ได้จากการทาโครงงาน โดยเขียนเป็นความเรียง
5. เขียนรายงานและจัดทาคู่มือการใช้
บทที่ 1 บทนา เป็นส่วนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานโดยได้เขียนไว้แล้วในข้อเสนอ
โครงงานซึ่งประกอบด้วย ที่มาและความสาคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ ขอบเขตของโครงงาน
บทที่ 2 หลักการและทฤษฎี เป็นส่วนสรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาหาข้อมูล หลักการ
ทฤษฎี หรือวิธีการที่จะนามาใช้ในการพัฒนาโครงงาน ซึ่งรวมถึงการระบุผลงานของผู้อื่น ที่
ผู้จัดทาโครงงานนามาเปรียบเทียบหรือพัฒนาเพิ่มเติมด้วย
บทที่ 3 วิธีดาเนินการ อธิบายขั้นตอนการดาเนินงานโดยละเอียด ระบุปัญหาหรือ
อุปสรรคที่พบ วิธีการที่ใช้แก้ไข พร้อมทั้งวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในการทาโครงงาน
บทที่ 4 ผลการศึกษา นาเสนอข้อมูลหรือระบบที่พัฒนาได้ โดยอาจแสดงเป็นรูปภาพ
ตาราง กราฟ ข้อความ ทั้งนี้ต้องการสื่อความหมายให้ผู้อื่นเข้าใจได้ง่าย
5. เขียนรายงานและจัดทาคู่มือการใช้
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ การสรุปผลการดาเนินงาน เป็นการอธิบายผลสรุป
ที่ได้จากการทาโครงงาน ถ้ามีการตั้งสมมุติฐานควรระบุถึงข้อมูลที่ได้สนับสนุนหรือคัดค้าน
สมมุตติฐานที่ตั้งไว้หรือยังสรุปไม่ได้ การนาผลการทดลองหรือพัฒนาไปใช้ประโยชน์
อุปสรรคของการทาโครงงานหรือข้อสังเกตที่สาคัญหรือข้อผิดพลาดบางประการที่เกิดขึ้น
จากการทาโครงงานนี้ และควรมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงโครงงานเพื่อเป็นแนวทางให้
ผู้อื่นศึกษาค้นคว้าต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ควรกล่าวถึงประโยชน์ที่ผู้จัดทาและผู้ใช้จะได้
ประโยชน์จากการทาโครงงานด้วย
5. เขียนรายงานและจัดทาคู่มือการใช้
บรรณานุกรม รวบรวมรายชื่อหนังสือ วารสารเอกสารและหรือเว็บไซต์ ที่ผู้จัดทา
โครงงานใช้ศึกษา ค้นคว้ารายละเอียด ที่นามาใช้ประโยชน์ในการทาโครงงาน ทั้งนี้เขียนเอกสาร
บรรณานุกรมต้องให้ถูกต้องตามหลักการเขียนด้วย
คู่มือการใช้งาน เป็นคู่มืออธิบายวิธีการใช้งานผลงานนั้นโดยละเอียด ซึ่งประกอบด้วย
ชื่อผลงาน คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์เพื่อที่จะใช้กับผลงานนั้นได้ (ถ้ามี) รายละเอียดของ
คอมพิวเตอร์ ต้องมีรายชื่อซอฟต์แวร์ ผลงานนั้นทาหน้าที่อะไรบ้าง รับอะไรเป็นข้อมูลเข้า
และส่งอะไรออกมาเป็นข้อมูลออก วิธีการใช้งาน ควรอธิบายขั้นตอนตามลาดับการทางาน
ที่สามารถเข้าใจได้ง่าย ข้อแนะนาการใช้งาน สามารถแยกออกจากรายงานหรือใส่ไว้ใน
ภาคผนวกของรายงานก็ได้ แล้วแต่ดุลยพินิจของผู้จัดทา
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
โดยทั่วไปเมื่อโครงงานเสร็จสิ้นแล้ว ต้องมีการนาเสนอโครงงานให้กับผู้ที่ต้องการใช้งานหรือครูที่ปรึกษาโครงงาน
ดังนั้นควรเตรียมเอกสารนาเสนอให้สมบูรณ์ โดยอาจปรับย่อข้อความที่สาคัญมาจากการรายงานก็ได้ การนาเสนอใน
รูปแบบใดนั้นต้องเลือกให้เหมาะสมโดยพิจารณาวัตถุประสงค์ของงานนาเสนอ ชื่อ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ป้ายนิทรรศการ
เอกสารรายงาน แผ่นพับ นอกจากนี้ยังต้องวางแผนในการนาเสนอและสาธิตโครงงาน และควรฝึกตอบคาถามที่เกี่ยวข้อง
ไว้ด้วย
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
6.1 ชื่อโครงงาน
6.2 ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
6.3 ชื่อที่ปรึกษา
6.4 คาอธิบายถึงที่มาและความสาคัญของโครงงาน
6.5 วิธีการดาเนินการที่สาคัญ
6.6 การสาธิตผลงาน
6.7 ผลการสังเกตและข้อสรุปสาคัญที่ได้จากการทาโครงงาน
6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน
ถ้าเป็นการรายงานด้วยคาพูดต่อที่ประชุม ควรมีการเตรียมการในประเด็นต่อไปนี้
1.จัดลาดับความคิดในการนาเสนออย่างมีระบบ และนาเสนออย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่ชัดเจนเข้าใจ
ง่าย
2.ทาความเข้าใจกับเรื่องที่จะอธิบาย รวมไปถึงการเตรียมข้อมูลที่อาจจะต้องใช้ในการตอบคาถาม
3.หลีกเลี่ยงการอ่านรายงาน
4.ควรมองไปยังผู้ฟังรายงาน
5.ตอบคาถามอย่างตรงไปตรงมา
6.รายงานให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
7.ควรใช้สื่อ เช่น สไลด์ แผ่นใส ประกอบการรายงาน
8.ความเหมาะสมของเนื้อหาต่อผู้ฟัง
9.ถ้าเป็นโครงงานพัฒนาผลงาน ผลงานนั้นควรอยู่ในสภาพที่ทางานได้เป็นอย่างดี
การทาโครงงานคอมพิวเตอร์ นอกจากจะเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้นา
ความรู้ทางคอมพิวเตอร์มาใช้แก้ปัญหา พัฒนาคิดค้นผลิตภัณฑ์ต่างๆ แล้ว ยังเป็น
กิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสนใจที่จะทางานวิจัย และประกอบอาชีพทาง
คอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้นด้วย ดังนั้นจึงน่าที่จะจัดให้การทาโครงงานคอมพิวเตอร์เป็น
กิจกรรมในทุกระดับชั้น เพื่อนาไปสู่การพัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
แหล่งที่มา
• https://sites.google.com/site/cproject2514/home/khan-txn-kar-tha-khorng-ngan-
khxmphiwtexr
• http://www.acr.ac.th/acr/ACR_E-
Learning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerProject/content1.html
• https://www.gotoknow.org/posts/314100
• http://www.acr.ac.th/acr/ACR_ELearning/CAREER_COMPUTER/COMPUTER/M4/ComputerPr
oject/content1.html
• http://jirawatmeeboonyrc.blogspot.com/2015/08/1.html
• https://krudarin.wordpress.com/%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%95%E0%B9%88
%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%88
%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8

More Related Content

What's hot

โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์Zee Eclipsez
 
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไขใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไขPak Ubss
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมCharisma An
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมCharisma An
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSompor Sukaew
 
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวีโครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวีNattaphong Kaewtathip
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Chanya Sangsuwanlert
 
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)pangggggggggggggg
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pannutchaya
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Heart Krittam
 
กิจกรรมที่ 2,3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2,3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2,3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2,3 โครงงานคอมพิวเตอร์Nattaporn Chaisanfoon
 

What's hot (20)

Comp2 4
Comp2 4Comp2 4
Comp2 4
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609กิจกรรมที่ 2-609
กิจกรรมที่ 2-609
 
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไขใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
ใบความรู้1โครงงานคอมพิวเตอร์แก้ไข
 
กิจกรรม 3
กิจกรรม 3กิจกรรม 3
กิจกรรม 3
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
2 3
2 32 3
2 3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวีโครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
โครงงานคอมพิวเตอเจลต้าวีวี
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation1 1
Presentation1 1Presentation1 1
Presentation1 1
 
Computer_615_03
Computer_615_03Computer_615_03
Computer_615_03
 
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
Cream and brown curvy serif typefaces simple presentation (1)
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
กิจกรรมที่ 2,3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2,3 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2,3 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2,3 โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to Computrproject

ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์Duangsuwun Lasadang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์chutikansaiudta
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานmind jirapan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์dekkok552
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Supanan Fom
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์dekkok552
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์nutnpor
 
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3Chanoknan Mongchuy
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานzzzeen
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8buntitaoopifif
 
ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์arisa promlar
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Plai Plaifah
 

Similar to Computrproject (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานคอม กิจกรรมที่2,3
โครงงานคอม กิจกรรมที่2,3โครงงานคอม กิจกรรมที่2,3
โครงงานคอม กิจกรรมที่2,3
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรม2 3
กิจกรรม2 3กิจกรรม2 3
กิจกรรม2 3
 
กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมที่ 3
กิจกรรมที่ 3
 
2626
26262626
2626
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
Kongngan
KongnganKongngan
Kongngan
 
ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Benya Chaiwan

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Benya Chaiwan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Benya Chaiwan
 
ใบงานที 4 บทความที่สนใจ
ใบงานที 4 บทความที่สนใจใบงานที 4 บทความที่สนใจ
ใบงานที 4 บทความที่สนใจBenya Chaiwan
 
สาระสำคัญของ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
สาระสำคัญของ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560สาระสำคัญของ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
สาระสำคัญของ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560Benya Chaiwan
 
พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์Benya Chaiwan
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560Benya Chaiwan
 
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7cFile ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7cBenya Chaiwan
 
พรบ คอมพิวเตอร์ ปี 2560
พรบ คอมพิวเตอร์ ปี 2560พรบ คอมพิวเตอร์ ปี 2560
พรบ คอมพิวเตอร์ ปี 2560Benya Chaiwan
 
Worksheet 2 ความรู้เรื่อง blog
Worksheet 2 ความรู้เรื่อง blogWorksheet 2 ความรู้เรื่อง blog
Worksheet 2 ความรู้เรื่อง blogBenya Chaiwan
 

More from Benya Chaiwan (12)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
blogger
bloggerblogger
blogger
 
Blogger2011
Blogger2011Blogger2011
Blogger2011
 
ใบงานที 4 บทความที่สนใจ
ใบงานที 4 บทความที่สนใจใบงานที 4 บทความที่สนใจ
ใบงานที 4 บทความที่สนใจ
 
Faq
FaqFaq
Faq
 
สาระสำคัญของ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
สาระสำคัญของ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560สาระสำคัญของ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
สาระสำคัญของ พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
 
พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์พรบ.คอมพิวเตอร์
พรบ.คอมพิวเตอร์
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
 
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7cFile ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
File ce8c32197b28a5d438136a3bd8252b7c
 
พรบ คอมพิวเตอร์ ปี 2560
พรบ คอมพิวเตอร์ ปี 2560พรบ คอมพิวเตอร์ ปี 2560
พรบ คอมพิวเตอร์ ปี 2560
 
Worksheet 2 ความรู้เรื่อง blog
Worksheet 2 ความรู้เรื่อง blogWorksheet 2 ความรู้เรื่อง blog
Worksheet 2 ความรู้เรื่อง blog
 

Computrproject