SlideShare a Scribd company logo
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
ความผิดทางอาญาคืออะไร
ความผิดทางอาญา คือ การกระทาที่มีผลกระทบการเทือนต่อสังคม รัฐจึงต้องลงโทษผู้กระทาผิด โดยมีหลัก
สาคัญคือ
• การกระทานั้นต้องมีกฎหมายกาหนดไว้ชัดแจ้ง
• โทษที่ลงต้องเป็นโทษที่กฎหมายกาหนดไว้
• กฎหมายต้องไม่มีผลย้อนหลัง
โทษอาญามีอะไรบ้าง
โทษอาญาที่ใช้ลงแก่ผู้กระทาผิดมี ๕ ประการเท่านั้น คือ
• ประหารชีวิต
• จาคุก
• กักขัง
• ปรับ
• ริบทรัพย์สิน
ความรับผิดทางอาญา
ผู้กระทาการที่กฎหมายกาหนดว่าเป็นความผิดจะต้องรับผิดทางอาญาเมื่อได้กระทาโดยเจตนาเท่านั้น เว้นแต่
มีกฎหมายกาหนดไว้ว่าแม้ไม่ได้กระทาโดยเจตนาก็เป็นความผิด เช่น
• การกระทาโดยประมาท
• การกระทาความผิดลหุโทษ
ผู้กระทาการที่กฎหมายกาหนดว่าเป็นความผิดจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้เว้นแต่ศาลเห็นว่ามีเหตุผล
สมควร
ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องรับผิดในทางอาญา
เหตุยกเว้นความผิด ถือว่าผู้กระทาไม่มีความผิดอาญาเลย เช่น
• การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
• ผู้เสียหายยินยอมให้กระทา
• มีกฎหมายประเพณี
• มีกฎหมายอื่นให้อานาจกระทาได้
เหตุยกเว้นโทษทางอาญา ถือว่ายังเป็นความผิดอยู่แต่ผู้กระทาไม่ต้องรับโทษทางอาญา
• การกระทาความผิดด้วยความจาเป็น
• การกระทาความผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
• การกระทาความผิดเพราะความมึนเมา
• การกระทาตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน
• สามี ภริยา กระทาความผิดต่อกันในเรื่องทรัพย์
• เด็กอายุไม่เกิน ๑๔ ปี กระทาความผิด
เหตุลดหย่อนโทษ เป็นเหตุที่ศาลอาจลงโทษสถานเบาได้
• ศาลเชื่อว่าบุคคลนั้นไม่รู้กฎหมาย
• การกระทาโดยบันดาลโทสะ
• บุพการีกับผู้สืบสันดาน หรือพี่น้องที่การกระทาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
เด็กและเยาวชนกระทาความผิด
เด็กและเยาวชนที่กระทาความผิดอาจกระทาไปเพราะขาดความสานึกเท่าผู้ใหญ่ โทษสาหรับเด็กจึงต้อง
แตกต่างกับผู้ใหญ่โดยแบ่งออก เป็น ๔ ระดับ คือ
• อายุไม่เกิน ๗ ปี ไม่ต้องรับโทษ
• อายุกว่า ๗ ปี แต่ไม่เกิน ๑๔ ปี ไม่ต้องรับโทษ แต่ศาลอาจว่ากล่าวตักเตือนและวางข้อกาหนดให้บิดา
มารดาปฏิบัติหรือส่งตัวเด็กไปให้หน่วยงานของรัฐ(บ้านเมตตา)
ดูแลอบรมสั่งสอนจนอายุครบ ๑๘ ปี
• อายุกว่า ๑๔ ปี แต่ไม่เกิน ๑๗ ปี อาจใช้วิธีการดังกล่าวข้างต้นหรือลงโทษเช่นเดียวกับผู้ใหญ่แต่ลด
มาตราส่วนโทษลงกึ่งหนึ่ง
• อายุกว่า ๑๗ ปี แต่ไม่เกิน ๒๐ ปี ลงโทษเช่นเดียวกับผู้ใหญ่แต่ลดมาตราส่วนโทษลง ๑ ใน ๓ หรือ กึ่ง
หนึ่ง
เหตุบรรเทาโทษ เพิ่มโทษ ลดโทษ และรอการลงโทษ
เหตุบรรเทาโทษ เป็นการกาหนดโทษให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลเพื่อให้โอกาสผู้กระทาความผิดได้มี
โอกาสกลับตัวเป็นพลเมืองดี
มีหลักคือ
• ใช้หลังจากที่เพิ่มโทษแล้ว
• เป็นดุลยพินิจของศาล
• ลดได้ไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษที่จะลง
เหตุบรรเทาโทษได้แก่ เป็นผู้โฉดเขลาเบาปัญญา อยู่ในความทุกข์อย่างสาหัส มีคุณความดีมาก่อน รู้สึก
ความผิดและพยายามบรรเทาผลร้าย หรือให้ความรู้แก่ศาลอันเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา หรือมีเหตุอื่นๆ
ที่สมควร
เหตุเพิ่มโทษ ลดโทษ และรอการลงโทษ เป็นการกาหนดโทษให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลเพื่อป้องกันสังคม
และแก้ไขผู้กระทาผิดให้กลับตนเป็นพลเมืองดีและกลับเข้าอยู่ในสังคมได้ต่อไป
การพยายามกระทาความผิด คือการกระทาความผิดที่พ้นขั้นตอนการลงมือกระทาความผิดแล้วแต่กระทา
ความผิดนั้นไม่บรรลุผล
ตามที่ต้องการมี ๒ กรณี คือ
กระทาการไปไม่ตลอดจนความผิดสาเร็จซึ่งอาจเกิดจากการสมัครใจเองหรือถูกขัดขวางจากภายนอกก็ได้
ได้กระทาไปตลอดแล้วแต่การกระทานั้นไม่บรรลุผลตามที่ต้องการ
ผู้ที่พยามกระทาความผิดต้องรับโทษ ๒ ใน ๓ ส่วน ของโทษสาหรับความผิดนั้น
การร่วมกันกระทาความผิด
การร่วมกันกระทาความผิดหรือที่เรียกกันว่า“ตัวการ” คือ การที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงใจร่วมกัน
ที่จะกระทาความผิดเดียวกัน ซึ่งอาจมีการแบ่งหน้าที่กันทาเพื่อหวังผลในการกระทาความผิดนั้น ทุกคนต้อง
รับโทษสาหรับความผิดนั้น
การก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด
การก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิดหรือที่เรียกว่า“ผู้ใช้” คือ การที่ทาให้ผู้อื่นกระทาความผิดไม่ว่าจะเป็นการ
บังคับ ขู่เข็ญ จ้างวาน ยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีการใด ทุกคนต้องรับโทษสาหรับความผิดนั้น แต่ถ้าผู้ถูกใช้
มิได้กระทาตามที่ถูกใช้ผู้ใช้ต้องรับโทษเพียง ๑ ใน ๓
การสนับสนุนการกระทาความผิด
การสนับสนุนการกระทาความผิด คือ การที่เข้าไปมีส่วนในการกระทาความความผิดที่ยังไม่เป็นตัวการแต่
เข้าไปช่วยเหลือให้ความสะดวกก่อนหรือขณะกระทาความผิดต้องรับโทษ ๒ ใน ๓
อายุความ
อายุความ เป็นระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดไว้เพื่อมิให้ผู้กระทาผิดต้องมีชนักติดหลังไปตลอดชีวิตและเป็น
การที่เร่งรัดคดีให้ได้ตัวผู้กระทาความผิด
มาพิจารณาโดยเร็วเนื่องจากการปล่อยระยะเวลาให้เนิ่นนานไปจะทาให้ไม่สามารถหาพยานหลักฐานมา
พิสูจน์ความผิดได้
อายุความมี ๓ ประเภท คือ
• อายุความฟ้องคดีทั่วไป มี ๕ ระดับ คือ
๒๐ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษประหารชีวิต จาคุกตลอดชีวิต หรือจาคุก ๒๐ ปี
๑๕ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษจาคุกกว่า ๗ ปี แต่ยังไม่ถึง ๒๐ ปี
๑๐ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษจาคุกกว่า ๑ ปี ถึง ๗ ปี
๕ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษจาคุกกว่า ๑ เดือน ถึง ๑ ปี
๑ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษจาคุกตั้งแต่ ๑ เดือนลงมา หรือต้องระวางโทษอย่างอื่น
• อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้นอกจากถือตามอายุความฟ้องคดีทั่วไปแล้ว ยังต้องร้อง
ทุกข์ภายใน ๓ เดือน นับแต่วันที่รู้เรื่องและรู้ตัวผู้กระทาความผิดด้วย
• อายุความฟ้องขอให้กักกัน จะฟ้องไปพร้อมกับการฟ้องคดีอันเป็นเหตุที่ขอให้กักกันหรืออย่างช้า
ภายใน ๖ เดือนนับแต่วันที่ฟ้องคดีดังกล่าว
ความผิดต่อแผ่นดินและความผิดต่อส่วนตัว
ความผิดต่อแผ่นดิน คือ ความผิดที่มีผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกระทาแล้วยังมีผลกระทบต่อสังคม รัฐจึงต้องเข้า
ดาเนินการเอาตัวผู้กระทาผิดมาลงโทษให้ได้แม้ผู้ที่ถูกกระทาจะไม่ติดใจเอาความกับผู้กระทาผิดต่อไปแล้วก็
ตามเพื่อป้องกันสังคม
ความผิดต่อส่วนตัว คือ ความผิดที่มีผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกระทา แต่ไม่มีผลกระทบต่อสังคมโดยตรง ดังนั้น
เมื่อผู้ที่ถูกกระทาจะไม่ติดใจเอาความกับผู้กระทาผิดต่อไปแล้ว รัฐก็ไม่จาต้องเข้ไปดาเนินคดีกับผู้กระทา
ความผิดอีกต่อไป
การกระทาความผิดใดเป็นความผิดต่อแผ่นดินและความผิดต่อส่วนตัวนั้นมีหลักอยู่ว่า ความผิดใดเป็น
ความผิดต่อส่วนตัวต้องมีกฎหมายกาหนดไว้โดยชัดแจ้ง ความผิดนอกจากนั้นถือเป็นความผิดต่อแผ่นดิน

More Related Content

What's hot

5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจวิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
AJ Por
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
Andy Hung
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค
1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค
1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค
SlideShare-เยอะเกิน-กฤตยา ศรีริ
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
AJ Por
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52Dmath Danai
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Ppor Elf'ish
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
Grammar m1
Grammar m1Grammar m1
Grammar m1
Kruthai Kidsdee
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
Katewaree Yosyingyong
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
dijchanokbunyaratave
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 

What's hot (20)

5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจวิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
วิชากฎหมายที่ประชาชนควรทราบนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2 กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1  ฉบับที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 2
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค
1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค
1 2557ข้อสอบภาษาอังกฤษม.5-ปลายภาค
 
ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6ครั้งที่ 6
ครั้งที่ 6
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
Grammar m1
Grammar m1Grammar m1
Grammar m1
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อากาศ
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 

Viewers also liked

หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
ทิวากร ธนะมูล
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
Narong Jaiharn
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปtanapongslide
 
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
Narong Jaiharn
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57AJ Por
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 

Viewers also liked (8)

หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไปหลักกฎหมายอาญาทั่วไป
หลักกฎหมายอาญาทั่วไป
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
 
ลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญาลักษณะความผิดทางอาญา
ลักษณะความผิดทางอาญา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไปความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป
 
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 

หลักกฎหมายอาญาทั่วไป

  • 1. หลักกฎหมายอาญาทั่วไป ความผิดทางอาญาคืออะไร ความผิดทางอาญา คือ การกระทาที่มีผลกระทบการเทือนต่อสังคม รัฐจึงต้องลงโทษผู้กระทาผิด โดยมีหลัก สาคัญคือ • การกระทานั้นต้องมีกฎหมายกาหนดไว้ชัดแจ้ง • โทษที่ลงต้องเป็นโทษที่กฎหมายกาหนดไว้ • กฎหมายต้องไม่มีผลย้อนหลัง โทษอาญามีอะไรบ้าง โทษอาญาที่ใช้ลงแก่ผู้กระทาผิดมี ๕ ประการเท่านั้น คือ • ประหารชีวิต • จาคุก • กักขัง • ปรับ • ริบทรัพย์สิน ความรับผิดทางอาญา ผู้กระทาการที่กฎหมายกาหนดว่าเป็นความผิดจะต้องรับผิดทางอาญาเมื่อได้กระทาโดยเจตนาเท่านั้น เว้นแต่ มีกฎหมายกาหนดไว้ว่าแม้ไม่ได้กระทาโดยเจตนาก็เป็นความผิด เช่น • การกระทาโดยประมาท • การกระทาความผิดลหุโทษ ผู้กระทาการที่กฎหมายกาหนดว่าเป็นความผิดจะแก้ตัวว่าไม่รู้กฎหมายไม่ได้เว้นแต่ศาลเห็นว่ามีเหตุผล สมควร ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องรับผิดในทางอาญา เหตุยกเว้นความผิด ถือว่าผู้กระทาไม่มีความผิดอาญาเลย เช่น • การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย • ผู้เสียหายยินยอมให้กระทา • มีกฎหมายประเพณี • มีกฎหมายอื่นให้อานาจกระทาได้ เหตุยกเว้นโทษทางอาญา ถือว่ายังเป็นความผิดอยู่แต่ผู้กระทาไม่ต้องรับโทษทางอาญา
  • 2. • การกระทาความผิดด้วยความจาเป็น • การกระทาความผิดเพราะความบกพร่องทางจิต • การกระทาความผิดเพราะความมึนเมา • การกระทาตามคาสั่งของเจ้าพนักงาน • สามี ภริยา กระทาความผิดต่อกันในเรื่องทรัพย์ • เด็กอายุไม่เกิน ๑๔ ปี กระทาความผิด เหตุลดหย่อนโทษ เป็นเหตุที่ศาลอาจลงโทษสถานเบาได้ • ศาลเชื่อว่าบุคคลนั้นไม่รู้กฎหมาย • การกระทาโดยบันดาลโทสะ • บุพการีกับผู้สืบสันดาน หรือพี่น้องที่การกระทาความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ เด็กและเยาวชนกระทาความผิด เด็กและเยาวชนที่กระทาความผิดอาจกระทาไปเพราะขาดความสานึกเท่าผู้ใหญ่ โทษสาหรับเด็กจึงต้อง แตกต่างกับผู้ใหญ่โดยแบ่งออก เป็น ๔ ระดับ คือ • อายุไม่เกิน ๗ ปี ไม่ต้องรับโทษ • อายุกว่า ๗ ปี แต่ไม่เกิน ๑๔ ปี ไม่ต้องรับโทษ แต่ศาลอาจว่ากล่าวตักเตือนและวางข้อกาหนดให้บิดา มารดาปฏิบัติหรือส่งตัวเด็กไปให้หน่วยงานของรัฐ(บ้านเมตตา) ดูแลอบรมสั่งสอนจนอายุครบ ๑๘ ปี • อายุกว่า ๑๔ ปี แต่ไม่เกิน ๑๗ ปี อาจใช้วิธีการดังกล่าวข้างต้นหรือลงโทษเช่นเดียวกับผู้ใหญ่แต่ลด มาตราส่วนโทษลงกึ่งหนึ่ง • อายุกว่า ๑๗ ปี แต่ไม่เกิน ๒๐ ปี ลงโทษเช่นเดียวกับผู้ใหญ่แต่ลดมาตราส่วนโทษลง ๑ ใน ๓ หรือ กึ่ง หนึ่ง เหตุบรรเทาโทษ เพิ่มโทษ ลดโทษ และรอการลงโทษ เหตุบรรเทาโทษ เป็นการกาหนดโทษให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลเพื่อให้โอกาสผู้กระทาความผิดได้มี โอกาสกลับตัวเป็นพลเมืองดี มีหลักคือ • ใช้หลังจากที่เพิ่มโทษแล้ว • เป็นดุลยพินิจของศาล • ลดได้ไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษที่จะลง
  • 3. เหตุบรรเทาโทษได้แก่ เป็นผู้โฉดเขลาเบาปัญญา อยู่ในความทุกข์อย่างสาหัส มีคุณความดีมาก่อน รู้สึก ความผิดและพยายามบรรเทาผลร้าย หรือให้ความรู้แก่ศาลอันเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา หรือมีเหตุอื่นๆ ที่สมควร เหตุเพิ่มโทษ ลดโทษ และรอการลงโทษ เป็นการกาหนดโทษให้เหมาะสมกับแต่ละบุคคลเพื่อป้องกันสังคม และแก้ไขผู้กระทาผิดให้กลับตนเป็นพลเมืองดีและกลับเข้าอยู่ในสังคมได้ต่อไป การพยายามกระทาความผิด คือการกระทาความผิดที่พ้นขั้นตอนการลงมือกระทาความผิดแล้วแต่กระทา ความผิดนั้นไม่บรรลุผล ตามที่ต้องการมี ๒ กรณี คือ กระทาการไปไม่ตลอดจนความผิดสาเร็จซึ่งอาจเกิดจากการสมัครใจเองหรือถูกขัดขวางจากภายนอกก็ได้ ได้กระทาไปตลอดแล้วแต่การกระทานั้นไม่บรรลุผลตามที่ต้องการ ผู้ที่พยามกระทาความผิดต้องรับโทษ ๒ ใน ๓ ส่วน ของโทษสาหรับความผิดนั้น การร่วมกันกระทาความผิด การร่วมกันกระทาความผิดหรือที่เรียกกันว่า“ตัวการ” คือ การที่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปตกลงใจร่วมกัน ที่จะกระทาความผิดเดียวกัน ซึ่งอาจมีการแบ่งหน้าที่กันทาเพื่อหวังผลในการกระทาความผิดนั้น ทุกคนต้อง รับโทษสาหรับความผิดนั้น การก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิด การก่อให้ผู้อื่นกระทาความผิดหรือที่เรียกว่า“ผู้ใช้” คือ การที่ทาให้ผู้อื่นกระทาความผิดไม่ว่าจะเป็นการ บังคับ ขู่เข็ญ จ้างวาน ยุยงส่งเสริม หรือด้วยวิธีการใด ทุกคนต้องรับโทษสาหรับความผิดนั้น แต่ถ้าผู้ถูกใช้ มิได้กระทาตามที่ถูกใช้ผู้ใช้ต้องรับโทษเพียง ๑ ใน ๓ การสนับสนุนการกระทาความผิด การสนับสนุนการกระทาความผิด คือ การที่เข้าไปมีส่วนในการกระทาความความผิดที่ยังไม่เป็นตัวการแต่ เข้าไปช่วยเหลือให้ความสะดวกก่อนหรือขณะกระทาความผิดต้องรับโทษ ๒ ใน ๓ อายุความ อายุความ เป็นระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดไว้เพื่อมิให้ผู้กระทาผิดต้องมีชนักติดหลังไปตลอดชีวิตและเป็น การที่เร่งรัดคดีให้ได้ตัวผู้กระทาความผิด
  • 4. มาพิจารณาโดยเร็วเนื่องจากการปล่อยระยะเวลาให้เนิ่นนานไปจะทาให้ไม่สามารถหาพยานหลักฐานมา พิสูจน์ความผิดได้ อายุความมี ๓ ประเภท คือ • อายุความฟ้องคดีทั่วไป มี ๕ ระดับ คือ ๒๐ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษประหารชีวิต จาคุกตลอดชีวิต หรือจาคุก ๒๐ ปี ๑๕ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษจาคุกกว่า ๗ ปี แต่ยังไม่ถึง ๒๐ ปี ๑๐ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษจาคุกกว่า ๑ ปี ถึง ๗ ปี ๕ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษจาคุกกว่า ๑ เดือน ถึง ๑ ปี ๑ ปี สาหรับความผิดที่มีระวางโทษจาคุกตั้งแต่ ๑ เดือนลงมา หรือต้องระวางโทษอย่างอื่น • อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้นอกจากถือตามอายุความฟ้องคดีทั่วไปแล้ว ยังต้องร้อง ทุกข์ภายใน ๓ เดือน นับแต่วันที่รู้เรื่องและรู้ตัวผู้กระทาความผิดด้วย • อายุความฟ้องขอให้กักกัน จะฟ้องไปพร้อมกับการฟ้องคดีอันเป็นเหตุที่ขอให้กักกันหรืออย่างช้า ภายใน ๖ เดือนนับแต่วันที่ฟ้องคดีดังกล่าว ความผิดต่อแผ่นดินและความผิดต่อส่วนตัว ความผิดต่อแผ่นดิน คือ ความผิดที่มีผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกระทาแล้วยังมีผลกระทบต่อสังคม รัฐจึงต้องเข้า ดาเนินการเอาตัวผู้กระทาผิดมาลงโทษให้ได้แม้ผู้ที่ถูกกระทาจะไม่ติดใจเอาความกับผู้กระทาผิดต่อไปแล้วก็ ตามเพื่อป้องกันสังคม ความผิดต่อส่วนตัว คือ ความผิดที่มีผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกระทา แต่ไม่มีผลกระทบต่อสังคมโดยตรง ดังนั้น เมื่อผู้ที่ถูกกระทาจะไม่ติดใจเอาความกับผู้กระทาผิดต่อไปแล้ว รัฐก็ไม่จาต้องเข้ไปดาเนินคดีกับผู้กระทา ความผิดอีกต่อไป การกระทาความผิดใดเป็นความผิดต่อแผ่นดินและความผิดต่อส่วนตัวนั้นมีหลักอยู่ว่า ความผิดใดเป็น ความผิดต่อส่วนตัวต้องมีกฎหมายกาหนดไว้โดยชัดแจ้ง ความผิดนอกจากนั้นถือเป็นความผิดต่อแผ่นดิน