SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อดิศร เนาวนนท์
คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาจัดว่า เป็นการศึกษา
ที่ให้ความสาคัญสูงสุดกับการเตรียมนักศึกษาให้มี
ความรู้และทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วย
ปัญญาโดยใช้กระบวนการวิจัย
“ไพฑูรย์ สินลา
รัตน์”
การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
อาจารย์ในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการเรียนการ
สอนระดับบัณฑิตศึกษา มีภารกิจที่สาคัญที่สุด คือ การสอนและ
การให้คาปรึกษาหรือควบคุมการทาวิทยานิพนธ์ และการ
วิทยานิพนธ์ของนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ต้องมี
คุณสมบัติ มีความรู้ความเชี่ยวชาญสูงกว่าอาจารย์ผู้สอนโดยทั่วไป
คุณสมบัติอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ผู้ควบคุมวิทยานิพนธ์ นอกจาก
จะมีคุณสมบัติทั่วไปตามเกณฑ์ที่กาหนดแล้ว ต้องมี
คุณสมบัติเฉพาะรวม 5 ด้าน ดังนี้
1. มีความรู้ทางวิชาการที่ทันสมัยในสาขาที่นักศึกษา
ต้องการทาวิทยานิพนธ์ หรือโครงการวิจัย ทั้ง
ภาคทฤษฎีและการประยุกต์สามารถชี้แนะแหล่ง
ค้นคว้า เสนอแนะแนวทางการค้นคว้า และอภิปรายผล
การศึกษาวิจัยได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้ง
คุณสมบัติเฉพาะ
2. มีความรู้เรื่องวิธีวิทยาการวิจัย และมีทักษะ
การวิจัยเพียงพอที่จะให้คาปรึกษาแก่นักศึกษาได้ รวมทั้งรอบ
รู้เรื่องแนวปฏิบัติในการทาวิทยานิพนธ์และระเบียบต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการทาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษา
คุณสมบัติเฉพาะ
3. มีความรู้ทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม เข้าใจความ
ต้องการของสังคม สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาการ
กับความต้องการทางสังคมให้ได้แนวทางการวิจัยที่เป็น
ประโยชน์สาหรับนักศึกษา
คุณสมบัติเฉพาะ
4. มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้และ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักศึกษาทั้งแบบเป็นกลุ่ม
และแบบรายบุคคล มีความอดทนและใจกว้างรับฟัง
และ เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ความคิดและ
แสดงออก
มีความอดทนในการแก้ไขความเข้าใจผิดของนักศึกษา
รวมทั้งสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดีกับนักศึกษา
คุณสมบัติเฉพาะ
5. ความรู้ความสามารถในการฝึกและการสอนให้นักศึกษา
สามารถเขียนวิทยานิพนธ์ที่ได้มาตรฐานระดับชาติ และหรือ
ระดับนานาชาติได้
คุณสมบัติเฉพาะ
1. ขั้นสารวจความสนใจ และกาหนดหัวข้อวิจัย
2. ขั้นการพัฒนารายงานแนวคิดในการวิจัย (concept paper)
3. ขั้นการพัฒนาโครงการเสนอขอทาวิจัย (research proposal)
4. ขั้นการขออนุมัติโครงการเสนอขอทาวิจัย (proposal approval)
5. ขั้นการดาเนินการวิจัย
6. ขั้นการสอบปากเปล่า/สอบป้ องกัน
7. ขั้นประเมินงานวิจัย รวมไปจนถึงขั้นการเผยแพร่งานวิจัยของนักศึกษา
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษาวิทยานิพนธ์
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
1. ขั้นการสารวจความสนใจและกาหนดหัวข้อวิจัย
 อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาต้องกาหนดแผนการเรียนร่วมกัน
 ควรสารวจความสนใจของนักศึกษาคร่าว ๆ โดยเฉพาะหัวข้อเรื่องที่นักศึกษาสนใจจะพัฒนาเป็นวิทยานิพนธ์
 ปลุกปลอบขวัญและให้กาลังใจ ชี้แนะแนวทางให้นักศึกษาได้เห็นลู่ทางในการทาวิจัย
 ต้องไม่ชี้นาให้นักศึกษาเลือกหัวข้อที่อาจารย์ที่ปรึกษาเห็นว่าเหมาะสม
 จะต้องมีความรู้ที่ทันสมัยติดตามสถานการณ์บ้านเมือง และความก้าวหน้าทางวิทยาการเพียงพอที่จะให้คาปรึกษาแก่
นักศึกษาได้อย่างกว้างขวาง
 เป็นผู้อานวยความสะดวก (facilitator) ในการช่วยให้นักศึกษามองเห็นทางเลือกต่าง ๆ
 ถ้าเป็นไปได้ควรพยายามให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้าในหัวข้อเดิม ไม่เปลี่ยนไปเปลี่ยนมาจนทาให้เสียเวลาและสาเร็จ
การศึกษาช้ากว่าที่กาหนด
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
2. ขั้นการพัฒนากรอบแนวคิดของการวิจัย
 จัดปฐมนิเทศ จัดสัมมนา หรือจัดประชุมวิชาการ เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้พบกับอาจารย์ในภาควิชาหรือ
นักศึกษารุ่นพี่
 ชี้แนะแนวทางในการค้นคว้าเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยแก่นักศึกษา ตรวจสอบผลการสังเคราะห์เอกสารที่
เกี่ยวข้อง การจัดลาดับการนาเสนอความคิด การแสดงเหตุผลเชื่อมโยงเพื่อนาเข้าสู่การกาหนดประเด็นวิจัย
และการกาหนดกรอบความคิดของการวิจัยที่สมเหตุสมผล
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
3.ขั้นการพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัย
 เสนอแนะให้นักศึกษาเสนอโครงการตามรูปแบบที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
 ให้คาแนะนาแก่นักศึกษาในการพัฒนาโครงการเสนอวิทยานิพนธ์ให้มีความใหม่ ทันสมัย ตรงกับสาขา
สอดคล้องกับนโยบายของสาขาวิชา ใช้วิธีวิจัยที่ถูกต้องเหมาะสม และเกิดประโยชน์ต่อศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง
 ติดตามการทางานของนักศึกษาอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง
 อ่านให้ข้อเสนอและเพื่อแก้ไขปรับปรุง มุ่งให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการวิจัยดีขึ้นด้วย
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
4.ขั้นการขออนุมัติข้อเสนอโครงการวิจัย
 ให้ความสาคัญกับการควบคุมการดาเนินงานของนักศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับ และตาม
กาหนดเวลาที่นักศึกษากาหนดแผนการดาเนินงานไว้
 เอาใจใส่ติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินงานของนักศึกษาเป็นระยะ ๆ ไม่ควรปล่อยให้นักศึกษาเสนอ
โครงการวิทยานิพนธ์ใกล้วันสุดท้ายของกาหนดเวลา
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 ให้ความช่วยเหลือนักศึกษาตั้งแต่กระบวนการวิจัยขั้นที่สามารถปฏิบัติได้ง่ายจนถึงขั้นที่ปฏิบัติได้ยาก และต้อง
ใช้ความสามารถในการวิเคราะห์การสังเคราะห์และวิจารณ์
 ต้องคาดการณ์ล่วงหน้าได้ว่าในการวิจัยจะมีปัญหาอะไรเกิดขึ้นได้บ้างและต้องอธิบายให้นักศึกษาคานึงถึง
ประเด็นปัญหานั้น ๆ
 อาจารย์ที่ปรึกษายังขาดประสบการณ์ หากคาดหมายล่วงหน้าว่าจะมีปัญหาในการทาวิจัย คือ การขอ
คาปรึกษาจากผู้รู้ในมหาวิทยาลัย เพื่อหาทางแก้ไขปัญหาก่อนที่จะเกิดขึ้นจริง
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.1 การกาหนดตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ข้อบกพร่องที่พบบ่อยมากคือ
 การไม่ระบุลักษณะของประชากร (สาหรับการวิจัยเชิงปริมาณ) มีแต่คาอธิบายเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง
 มักจะไม่แสดงวิธีการประมาณค่าขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้
 ไม่แสดงรายละเอียดวิธีการสุ่มตัวอย่าง
 ลอกกระบวนการสุ่มตัวอย่างจากวิทยานิพนธ์หรืองานวิจัยเล่มเก่า โดยที่ตนเองไม่มีความเข้าใจ
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.1 การกาหนดตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ข้อบกพร่องที่พบบ่อยมากคือ
 การไม่ระบุลักษณะของประชากร (สาหรับการวิจัยเชิงปริมาณ) มีแต่คาอธิบายเกี่ยวกับกลุ่มตัวอย่าง
 มักจะไม่แสดงวิธีการประมาณค่าขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้
 ไม่แสดงรายละเอียดวิธีการสุ่มตัวอย่าง
 ลอกกระบวนการสุ่มตัวอย่างจากวิทยานิพนธ์หรืองานวิจัยเล่มเก่า โดยที่ตนเองไม่มีความเข้าใจ
 จุดเน้นที่อาจารย์ที่ปรึกษาควรตรวจสอบอย่างมากคือ การระบุลักษณะกลุ่มประชากรและการอธิบายลักษณะและ
วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยทั้งการวิจัยเชิงทดลอง และการวิจัยที่ไม่ใช่เชิงทดลอง
 อาจารย์ที่ปรึกษาต้องให้นักศึกษาอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการวางแผนการทดลอง กระบวนการทดลอง การจัดกลุ่ม
ทดลองเพื่อให้กลุ่มเท่าเทียมกันก่อนการทดลอง แต่หากเป็นการวิจัยที่ไม่ใช่เชิงทดลอง ควรให้คากับการเลือกกลุ่ม
ตัวอย่างว่าเป็นการเลือกแบบสุ่มหรือแบบเจาะจงโดยใช้วิธีการเลือกแบบใด รวมทั้งควรตรวจสอบความเป็นตัวแทน
ประชากรของกลุ่มตัวอย่างที่สุ่มมา
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.2 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
สิ่งที่ต้องระบุในงานวิจัย คือ การนิยามตัวแปรที่ต้องการวัด การสร้างเครื่องมือวิจัย การตรวจสอบคุณภาพ
ของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเครื่องมือวิจัยต้องเชื่อถือได้และให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
หากมีการยืมเครื่องมือนั้นจากหน่วยงานอื่นหรือจากผู้วิจัยอื่น ต้องมีการแสดงหลักฐานการขออนุญาตการใช้
เครื่องมือ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือซ้าอีกครั้งว่ามีความเหมาะสมที่จะนามาใช้ในงานวิจัยของตน
มากน้อยเพียงใด
ผู้วิจัยที่สร้างเครื่องมือเอง ก็ควรแสดงคาอธิบายกระบวนการพัฒนาเครื่องมือ และตัวอย่างของเครื่องมือที่
พัฒนาขึ้น
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.2 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ข้อบกพร่องที่พบบ่อยมากคือ
 การระบุแต่คาอธิบายเกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือ แต่ไม่ค่อยได้รับการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
 อาจารย์ที่ปรึกษามีบทบาทอย่างมากในการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือขั้นต้น ก่อนนาไปทดลองใช้
 จุดเน้นที่สาคัญ
 การตรวจสอบภาษาที่ใช้และความครบถ้วนของเนื้อหาสาระ ซึ่งต้องสอดคล้องกับนิยามของตัวแปรที่มุ่งวัด
 ต้องทาการตรวจสอบเอกสารต่าง ๆ ที่นักศึกษาเตรียมให้ผู้เชี่ยวชาญใช้ประกอบการพิจารณา โดยย้าให้เห็นถึงการ
จัดทาเอกสารที่ง่ายและสะดวกต่อการตรวจสอบของผู้เชี่ยวชาญให้มากที่สุด
 ให้นักศึกษาควรเตรียมนิยาม เตรียมตารางโครงสร้างเนื้อหา (Table of Specification) และตารางแสดงว่าข้อคาถาม
แต่ละข้อมุ่งวัดตัวแปรใด ไม่ควรให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบแต่เพียงภาษาที่ใช้อย่างเดียว
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.3 การทาการศึกษานาร่อง (pilot study)
อาจารย์ที่ปรึกษาและนักศึกษาควรมีการวางแผนการออกแบบการศึกษานาร่องรวมกัน
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.4 การรวบรวมข้อมูล
ติดตามการดาเนินงานของนักศึกษาอย่างใกล้ชิดทั้งการเก็บข้อมูล การจัดการกระทาข้อมูล หรือการทดลอง
เพื่อคอยช่วยเหลือให้คาปรึกษาในกรณีที่มีปัญหาเกิดขึ้น
กากับให้นักศึกษาปฏิบัติงานตาม ในกรณีที่เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม อาจารย์ที่ปรึกษาควร
กาหนดตารางการทางานในแต่ละขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูล
แนะนายุทธวิธีที่จะให้แบบสอบถามกลับคืนมามากและได้ข้อมูลตามปริมาณที่ต้องการ ควรใช้ความสัมพันธ์
ส่วนตัว (หากสามารถทาได้) ที่จะช่วยติดต่อกับหน่วยงานหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
 ก่อนการวิเคราะห์ข้อมูล อาจารย์ที่ปรึกษาต้องให้ความเอาใจใส่กับการเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ โดยต้อง
มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้รับกลับมากวดขันกับการตรวจสอบข้อมูลให้สะอาดสมบูรณ์
(clean data)
 ถ้าเป็นไปได้อาจารย์ที่ปรึกษาควรมีการสุ่มตรวจสอบการลงรหัสข้อมูลของนอสิตนักศึกษาด้วย
 ควรขอให้นักศึกษาแสดงหลักฐานการเก็บข้อมูลและข้อมูลที่ได้กลับคืนมา
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
ปัญหาที่พบบ่อยคือ
 การใช้สถิติไม่เหมาะสมและแปรผลการวิเคราะห์ไม่ได้
 นักศึกษาที่ไม่มีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูล มักใช้วิธีการจ้างผู้อื่นช่วยวิเคราะห์ข้อมูล และแปลผลให้แทน โอกาสในการ
เลือกใช้สถิติที่ไม่เหมาะสมจะมีมาก
 อาจารย์ที่ปรึกษาต้องตรวจสอบความเข้าใจของนักศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล โดยขอคาแนะนาจากผู้ที่
มีความชานาญด้านนี้
 อาจารย์ที่ปรึกษาควรหาโอกาสศึกษาแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูลหรือขอคาปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญก่อน เพื่อให้ตนเองมี
ความเข้าใจ แล้วค่อยถ่ายทอดต่อให้นักศึกษา
 อาจารย์ที่ปรึกษาควรดูหลักฐานของการวิเคราะห์ข้อมูล (print out) และตรวจสอบการนาเสนอผล
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
 ก่อนการวิเคราะห์ข้อมูล อาจารย์ที่ปรึกษาต้องให้ความเอาใจใส่กับการเตรียมข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ โดยต้อง
มีการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลที่ได้รับกลับมากวดขันกับการตรวจสอบข้อมูลให้สะอาดสมบูรณ์
(clean data)
 ถ้าเป็นไปได้อาจารย์ที่ปรึกษาควรมีการสุ่มตรวจสอบการลงรหัสข้อมูลของนอสิตนักศึกษาด้วย
 ควรขอให้นักศึกษาแสดงหลักฐานการเก็บข้อมูลและข้อมูลที่ได้กลับคืนมา
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
5.ขั้นการดาเนินการวิจัย
 5.6 การเขียนรายงานการวิจัย
มีนักศึกษาหลายคนที่ไม่สาเร็จการศึกษา เนื่องจากเขียนรายงานการวิจัยไม่ได้
 อาจารย์ที่ปรึกษาต้องวิพากษ์วิจารณ์อย่างระมัดระวัง โดยต้องระวังไม่ให้ข้อวิจารณ์ของตนเองเป็นการทาลายความคิด
ของนักศึกษา
 ช่วยนักศึกษาในการคิดและเขียนในสิ่งซึ่งสัมพันธ์กับปัญหา
 อาจารย์ที่ปรึกษาจะต้องไม่แสดงความเป็นเจ้าของความคิดของงานวิจัย
 ไม่ควรบังคับให้นักศึกษาต้องเขียนรายงานวิจัยในรูปแบบที่ตนเองชอบ
 เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีอิสระในการคิดเขียนรายงานตามที่ตนเองต้องการ
 ให้ความช่วยเหลือเหมือนเป็นบรรณาธิการเท่านั้น
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
6.ขั้นการสอบปากเปล่าและการประเมินงานวิจัย
 ต้องแสดงถึงความรู้สึกร่วมในความสาเร็จของนักศึกษาที่อยู่ในความดูแล
 ต้องสามารถช่วยให้นักศึกษาผ่านอารมณ์ ความรู้สึกเครียดไปได้ล่วงหน้าก่อนสอบ
 ต้องช่วยในการกาหนดโครงสร้างของการสอบปากเปล่าเพื่อให้การสอบของนักศึกษาในความดูแลเป็นที่
ประทับใจของคณะกรรมการสอบ
 ต้องแสดงทัศนะเกี่ยวกับกระบวนการสอบให้ผู้เรียนเข้าใจและรับรู้ว่ากระบวนการสอบจะให้ประสบการณ์ที่มี
ค่า
 เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้มีการบอกเล่าถึงความรู้สึกต่างๆ
 ระบุถึงความคาดหวังของคณะกรรมการสอบให้นักศึกษาได้รับทราบ
 ควรแสดงความมั่นใจในความสามารถของนักศึกษาว่าจะสามารถทาการสอบได้ดี
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
6.ขั้นการสอบปากเปล่าและการประเมินงานวิจัย
ในขั้นตอนการสอบปากเปล่า
อาจารย์ที่ปรึกษาอาจขยายประเด็นคาถามที่นักศึกษาไม่เข้าใจ ไม่สามารถตอบคาถามได้ทันที
อาจช่วยตั้งคาถามที่ช่วยกระตุ้นให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถของตนเองออกมาให้คณะกรรมการสอบ
วิทยานิพนธ์เห็น
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตัวนักศึกษาที่เป็นประโยชน์ต่อคณะกรรมการ
หลังการสอบปากเปล่า
อาจารย์ที่ปรึกษาควรประเมินผลงานของนักศึกษาระหว่างการสอบ และให้ข้อมูลป้ อนกลับเพื่อให้นักศึกษา
ได้รับรู้ถึงจุดเด่นและจุดบกพร่องในขณะสอบ
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
7.ขั้นการเผยแพร่งานวิจัย
 ต้องนาผลงานไปเผยแพร่ทั้งในที่ประชุมวิชาการ หรือตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ เพื่อขยายองค์ความรู้
ให้กับศาสตร์ และเผยแพร่ชื่อเสียงเชิงวิชาการของสถาบันการศึกษา
 บทความวิจัยที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติเป็นตัวบ่งชี้ที่สาคัญมากตัวหนึ่งที่ใช้ในการ
ประเมินคุณภาพของสถาบันอุดมศึกษา
งานวิจัยที่เป็นวิทยานิพนธ์ถือเป็นผลงานทางความคิดที่ทั้งอาจารย์และนักศึกษาต่างมีส่วนร่วมในการสร้างและ
เป็นเจ้าของความคิดร่วมกัน
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
7.ขั้นการเผยแพร่งานวิจัย
 Bargar และ Duncan (1982) กาหนดคาถามที่ใช้ในการทดสอบว่าอาจารย์ที่ปรึกษาจะคิดว่าตนเองเป็นเจ้าของ
ความคิดของงานวิจัยของนักศึกษาหรือไม่ รวม 3 คาถาม
1. อาจารย์ที่ปรึกษาเป็นผู้กาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาและรู้สึกว่าวิธีการที่ใช้ในการแก้ปัญหานั้นเป็นวิธีที่ถูกต้อง
2. อาจารย์ที่ปรึกษาเกิดความรู้สึกว่านักศึกษาไม่สามารถคิดหาทางสร้างสรรค์งานของตนเองได้และไม่สามารถควบคุม
กระบวนการทางานด้วยตนเองให้สาเร็จได้
3. อาจารย์ที่ปรึกษาพอใจในความคิดของตนเองมากกว่าความคิดที่เสนอโดยนักศึกษา
 ถ้าทุกคาถามมีคาตอบว่าเป็ นเช่นนี้จริง แสดงว่า....
อาจารย์ที่ปรึกษากาลังจะคิดว่างานวิจัยของนักศึกษาเป็ นความคิดของตน
แนวปฏิบัติในการให้คาปรึกษา
วิทยานิพนธ์
7.ขั้นการเผยแพร่งานวิจัย
 บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาไม่ได้สิ้นสุดเพื่อเมื่อนักศึกษาสอบวิทยานิพนธ์ผ่าน
 แต่ควรมีการดูแลให้นักศึกษาสามารถตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารหรือนาเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุม
วิชาการ
 อาจารย์ที่ปรึกษาต้องรู้แหล่งหรือช่องทางที่จะเผยแพร่ผลงานของนักศึกษาสนับสนุนส่งเสริมให้นักศึกษาผลิต
บทความวิจัยที่มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานสากล ช่วยเสาะหาช่องทางที่นักศึกษาจะสามารถส่งผลงานไป
พิจารณาตีพิมพ์เผยแพร่
 ช่วยตรวจสอบปรับแก้บทความวิจัยให้เป็นไปเกณฑ์ที่กาหนด
 อาจารย์ที่ปรึกษาควรมีคาแนะนาที่ดีให้นักศึกษาได้มีช่องทางการเผยแพร่ผลงานที่เหมาะสมกับระดับคุณภาพ
ของผลงานของตนเอง
สวัสดี

More Related Content

Viewers also liked

ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ ...
ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ ...ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ ...
ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ ...Sorapong Premwiriyanon
 
ประชุมผู้สอนระดับบัณฑิตศึกษา เรื่อง งานวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย
ประชุมผู้สอนระดับบัณฑิตศึกษา เรื่อง งานวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัยประชุมผู้สอนระดับบัณฑิตศึกษา เรื่อง งานวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย
ประชุมผู้สอนระดับบัณฑิตศึกษา เรื่อง งานวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัยSorapong Premwiriyanon
 
DeSmart - get to know us!
DeSmart - get to know us!DeSmart - get to know us!
DeSmart - get to know us!Ewa Norweg
 
Functional Testing - Carlos Vences
Functional Testing - Carlos VencesFunctional Testing - Carlos Vences
Functional Testing - Carlos VencesCarlos Vences
 
Dumb ways to ruin a meeting
Dumb ways to ruin a meetingDumb ways to ruin a meeting
Dumb ways to ruin a meetingSegla Segla
 
Lisa Koivunen, Risks and Threats in over promoting
Lisa Koivunen, Risks and Threats in over promotingLisa Koivunen, Risks and Threats in over promoting
Lisa Koivunen, Risks and Threats in over promotingHHSome
 
Social engineering
Social engineeringSocial engineering
Social engineeringHHSome
 
Spy Programs
Spy ProgramsSpy Programs
Spy ProgramsHHSome
 
P1457 2010 apr b relay vital
P1457 2010 apr b relay vitalP1457 2010 apr b relay vital
P1457 2010 apr b relay vitalMayank Mishra
 
24by7exams.com
24by7exams.com24by7exams.com
24by7exams.comitlero
 
Awodele toxicidad moringa
Awodele toxicidad moringaAwodele toxicidad moringa
Awodele toxicidad moringaFausto Dutan
 
Credit Key Pitch
Credit Key PitchCredit Key Pitch
Credit Key Pitchinnovyz
 
Ecological succession & cycles of matter
Ecological succession & cycles of matterEcological succession & cycles of matter
Ecological succession & cycles of matterjdrinks
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1jdrinks
 

Viewers also liked (20)

ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ ...
ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ ...ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ ...
ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา โดย ศ.ดร.ไพฑูรย์ ...
 
ประชุมผู้สอนระดับบัณฑิตศึกษา เรื่อง งานวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย
ประชุมผู้สอนระดับบัณฑิตศึกษา เรื่อง งานวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัยประชุมผู้สอนระดับบัณฑิตศึกษา เรื่อง งานวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย
ประชุมผู้สอนระดับบัณฑิตศึกษา เรื่อง งานวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย
 
Fungi
FungiFungi
Fungi
 
DeSmart - get to know us!
DeSmart - get to know us!DeSmart - get to know us!
DeSmart - get to know us!
 
Functional Testing - Carlos Vences
Functional Testing - Carlos VencesFunctional Testing - Carlos Vences
Functional Testing - Carlos Vences
 
Dumb ways to ruin a meeting
Dumb ways to ruin a meetingDumb ways to ruin a meeting
Dumb ways to ruin a meeting
 
Lisa Koivunen, Risks and Threats in over promoting
Lisa Koivunen, Risks and Threats in over promotingLisa Koivunen, Risks and Threats in over promoting
Lisa Koivunen, Risks and Threats in over promoting
 
Social engineering
Social engineeringSocial engineering
Social engineering
 
Fungi
FungiFungi
Fungi
 
Spy Programs
Spy ProgramsSpy Programs
Spy Programs
 
Imc presentation
Imc presentationImc presentation
Imc presentation
 
Budget 2013
Budget 2013Budget 2013
Budget 2013
 
P1457 2010 apr b relay vital
P1457 2010 apr b relay vitalP1457 2010 apr b relay vital
P1457 2010 apr b relay vital
 
24by7exams.com
24by7exams.com24by7exams.com
24by7exams.com
 
Awodele toxicidad moringa
Awodele toxicidad moringaAwodele toxicidad moringa
Awodele toxicidad moringa
 
Rural Minnesota Journal: Reshaping Pelican Rapids
Rural Minnesota Journal: Reshaping Pelican RapidsRural Minnesota Journal: Reshaping Pelican Rapids
Rural Minnesota Journal: Reshaping Pelican Rapids
 
Credit Key Pitch
Credit Key PitchCredit Key Pitch
Credit Key Pitch
 
TDD carlos vences
TDD   carlos vencesTDD   carlos vences
TDD carlos vences
 
Ecological succession & cycles of matter
Ecological succession & cycles of matterEcological succession & cycles of matter
Ecological succession & cycles of matter
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 

Similar to การให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ โดย ผศ. ดร. อดิศร เนาวนนท์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพkoyrattanasri
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวkomjankong
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8noeiinoii
 
สมาการวิจัย
สมาการวิจัยสมาการวิจัย
สมาการวิจัยwichien wongwan
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 

Similar to การให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ โดย ผศ. ดร. อดิศร เนาวนนท์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย (20)

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2
 
EDU news 7.11.57
EDU news 7.11.57EDU news 7.11.57
EDU news 7.11.57
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Effective Teacher Education
Effective Teacher EducationEffective Teacher Education
Effective Teacher Education
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
01
0101
01
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
 
EduRam newsletters 1.6.57
EduRam newsletters 1.6.57EduRam newsletters 1.6.57
EduRam newsletters 1.6.57
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
สมาการวิจัย
สมาการวิจัยสมาการวิจัย
สมาการวิจัย
 
8
88
8
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 

การให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์ โดย ผศ. ดร. อดิศร เนาวนนท์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย