SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
ผลการเรีย นรู้ และสาระการเรีย รู้ (รายวิช าเพิ่ม เติม )
วิชา ง ๓๐๒๒๘ คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี              กลุ่มสาระ
การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ 1
                              เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต
         ผลการเรีย นรู้               สาระการเรีย นรู้
1. นักเรียนสามารถบอกส่วน              ศึกษาความหมายของ
ประกอบและหลักการทำางาน         คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบ
ของคอมพิวเตอร์ได้              ของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะ
                               เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
                               หรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่
                               มีองค์ประกอบที่เหมือนกันคือ ส่วน
                               นำาเข้า(Input)ส่วนประมวล
                               ผล(Process)ส่วนแสดง
                               ผล(Output) และส่วนเก็บข้อมูล
                               (Storage) ศึกษาส่วนประกอบของ
                               ระบบ
                               คอมพิวเตอร์ คุณสมบัติของ
                               คอมพิวเตอร์ ชนิดของคอมพิวเตอร์
                               และโครงสร้างของคอมพิวเตอร์
                               เข้าใจหลักการทำางานของ
                               คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
                               ต่อพ่วง สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์
                               ได้ถูกต้อง
 2. นักเรียนสามารถใช้ภาษา         ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการ
คอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษา เขียนโปรแกรมคำาสั่งแต่ละภาษามี
ระดับตำ่า และภาษาระดับสูงได้ รูปแบบ ไวยากรณ์คำาสั่งและวิธีการ
                             เขียนโปรแกรมที่แตกต่างกัน
 3.       นักเรียนสามารถใช้         ศึกษาความหมายของ
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้       ซอฟต์แวร์ ประเภทของซอฟต์แวร์
เหมาะสมกับงานได้               ความหมายหน้าที่ของระบบปฏิบัติ
                               การ ลักษณะของระบบปฏิบัติการ
ชนิดของระบบปฏิบัติการ ศึกษาการ
                               ใช้โปรแกรมระบบปฏิบัติ
                               การเท็กซ์โหมดและกราฟิกโหมด
 4. นักเรียนสามารถติดตั้ง               ศึกษาขั้นตอนการติดตั้ง
ซอฟต์แวร์โปรแกรมต่าง ๆ ได้     ระบบปฏิบัติการ Windows XP
                               การติดตั้งโปรแกรมแอนตี้ไวรัส การ
                               ติดตั้งโปรแกรม Multimedia
                               โปรแกรมย่อไฟล์(WinZip)
        ผลการเรีย นรู้                 สาระการเรีย นรู้
5. นักเรียนสามารถใช้                  ศึกษารูปแบบการติดต่อสื่อสาร
คอมพิวเตอร์ติดต่อสื่อสาร       ด้วยการใช้อีเมล แอดเดรส การรับ-
ค้นหาข้อมูลผ่านเครือข่าย       ส่งอีเมล การแนบไฟล์ไปกับอีเมล
คอมพิวเตอร์ได้
                               ศึกษาวิธีการค้นหาข้อมูลง่าย ๆ บน
                               เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 6. นักเรียนสามารถนำาเสนอ              ศึกษาโปรแกรม MS
งานในรูปแบบที่เหมาะสมตรง       WORD ที่มีลักษณะการทำางานใน
ตามวัตถุประสงค์ของงานได้       การจัดทำาเอกสารสำานักงานทั่วไป
                               ช่น การสร้างรายงาน หนังสือ
                               จดหมาย คู่มือการบรรยาย การ
                               ประชุมสัมมนาแผ่นพับฯลฯ สามารถ
                               กำาหนด
                               หน้าเอกสาร การพิมพ์ข้อความ การ
                               บันทึกจัดเก็บ
                               การปรับแต่งเอกสารด้วยการใส่
                               รูปภาพ สัญลักษณ์ จัดคอลัมน์ ฯลฯ
  7. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้าง           ศึกษาความหมายของ
ชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมี      โครงงาน และหลักการ
จิตสำานึกและความรับผิดชอบ      ทำาโครงงานหรือสร้างชิ้นงานที่มี
นักเรียนสามารถใช้
                               การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน
หรือโครงงานอย่างมีจิตสำานึก    สามารถเขียนเค้าโครงร่างโครงงาน
และความรับผิดชอบได้            และ
                               ทำาโครงงานหรือชิ้นงานจาก
โปรแกรม MS WORD




                    คำา อธิบ ายรายวิช าเพิ่ม เติม
ง ๓๐๒๒๘ คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี                 กลุ่มสาระการเรียน
รู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ ๑
                               เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต

          ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐาน หลักการใช้งาน
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น และรู้เข้าใจการแยกแยะชิ้นส่วนประกอบและ
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เพื่อนำาอุปกรณ์แต่ละชนิดมาประกอบ
เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และประยุกต์ใช้งานให้เหมาะสมกับ
ซอฟต์แวร์ปัจจุบัน สามารถติดตั้งซอฟต์แวร์ติดต่อสื่อสาร ใช้
คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลผ่านครือข่ายคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการแก้
ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ และพัฒนาโครงงานได้
อย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ
          โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ วางแผน สามารถแก้ปัญหา
ปรับปรุงประเมินผล เกี่ยวกับ
การปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ ใช้ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
โปรแกรมต่าง ๆ มีการสืบค้นข้อมูล มีความสามารถในการคิด การใช้
ทักษะชีวิตในการพัฒนางาน สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์
จนนำาความรู้ไปใช้พัฒนาตนเอง และสังคมในชีวิตประจำาวันได้
          เพื่อให้สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะชีวิต
ในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา สามารถแก้ปัญหา ปรับปรุงประเมินผล
เกี่ยวกับงาน จนสามารถนำาความรู้ทางเทคโนโลยีการออกแบบ
โปรแกรมไปใช้พัฒนาตนเอง และสังคม ในชีวิตประจำาวันได้
เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เห็นคุณค่าและมีเจ
ตนคติที่ดีตองานที่ทำา ตลอดจน
              ่
มีคุณธรรม จริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่
                                              ่
เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่น
ในการทำางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ในการใช้พลังงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี


ผลการเรีย นรู้
        1.นักเรียนสามารถบอกส่วนประกอบและหลักการทำางานของ
          คอมพิวเตอร์ได้
       2. นักเรียนสามารถใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษา
          ระดับตำ่า และภาษาระดับสูงได้
       3. นักเรียนสามารถใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสม
          กับงานได้
       4. นักเรียนสามารถติดตั้งซอฟต์แวร์โปรแกรมต่าง ๆ ได้
       5. นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อสือสาร ค้นหาข้อมูล
                                              ่
          ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้
       6. นักเรียนสามารถนำาเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมตรง
          ตามวัตถุประสงค์ของงานได้
       7. นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือ
          โครงงานอย่างมีจิตสำานึกและความรับผิดชอบได้
     รวมทั้ง หมด 7 ผลการเรียนรู้
                     โครงสร้า งรายวิช า
ง ๓๐๒๒๘ คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี             กลุ่มสาระการเรียน
รู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ ๑
                              เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต
นำ้า
ลำา                                                          เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้    สาระการเรีย นรู้      ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                               )   คะแน
                                                                       น
1                    1. นักเรียน             ศึกษาความ         4      10
                     สามารถบอก        หมายของ
                     ส่วนประกอบ       คอมพิวเตอร์ องค์
                     และหลักการ
                                      ประกอบ
                     ทำางานของ
                     คอมพิวเตอร์ได้   ของฮาร์ดแวร์
                                      คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะ
                                      เป็นเครื่อง
                                      คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
                                      หรือคอมพิวเตอร์
                                      ขนาดใหญ่
                                      มีองค์ประกอบที่
                                      เหมือนกันคือ ส่วนนำา
                                      เข้า(Input)ส่วน
                                      ประมวล
                                      ผล(Process)ส่วน
                                      แสดงผล(Output)
                                      และส่วนเก็บข้อมูล
                                      (Storage) ศึกษาส่วน
                                      ประกอบของระบบ
                                      คอมพิวเตอร์
                                      คุณสมบัติของ
                                      คอมพิวเตอร์ ชนิดของ
                                      คอมพิวเตอร์ และ
                                      โครงสร้างของ
                                      คอมพิวเตอร์ เข้าใจ
                                      หลักการทำางานของ
                                      คอมพิวเตอร์และ
                                      อุปกรณ์ต่อพ่วง
นำ้า
ลำา                                                         เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้     สาระการเรีย นรู้    ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                              )   คะแน
                                                                      น
                                      สามารถใช้งาน
                                      คอมพิวเตอร์ได้ถูก
                                      ต้อง




                                                                      นำ้า
ลำา                                                         เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้     สาระการเรีย นรู้    ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                              )   คะแน
                                                                      น
2                    2. นักเรียน             ภาษา             4      10
                     สามารถใช้        คอมพิวเตอร์ที่ใช้ใน
                     ภาษา             การเขียนโปรแกรมคำา
                     คอมพิวเตอร์
                                      สั่งแต่ละภาษามีรูป
                     ภาษาเครื่อง
                     ภาษาระดับตำ่า    แบบ ไวยากรณ์คำาสั่ง
                     และภาษาระดับ     และวิธีการเขียน
                     สูงได้           โปรแกรมที่แตกต่าง
                                      กัน
3                    3. นักเรียน          ศึกษาความหมาย       4      10
                     สามารถใช้        ของซอฟต์แวร์
                     ฮาร์ดแวร์และ     ประเภทของ
                     ซอฟต์แวร์ให้
                                      ซอฟต์แวร์ ความ
                     เหมาะสมกับ
                     งานได้           หมายหน้าที่ของระบบ
                                      ปฏิบัติการ ลักษณะ
นำ้า
ลำา                                                            เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้     สาระการเรีย นรู้       ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                                 )   คะแน
                                                                         น
                                      ของระบบปฏิบัติการ
                                      ชนิดของระบบปฏิบัติ
                                      การ ศึกษาการใช้
                                      โปรแกรมระบบปฏิบัติ
                                      การเท็กซ์โหมดและ
                                      กราฟิกโหมด
4                    4.นักเรียน               ศึกษาขั้นตอน       4      10
                     สามารถติดตั้ง    การติดตั้งระบบปฏิบัติ
                     ซอฟต์แวร์        การ Windows XP
                     โปรแกรมต่าง
                                      การติดตั้งโปรแกรม
                     ๆ ได้
                                      แอนตี้ไวรัส การติดตั้ง
                                      โปรแกรม
                                      Multimedia
                                      โปรแกรมย่อ
                                      ไฟล์(WinZip)
5                    5. นักเรียน            ศึกษารูปแบบ          6      10
                     สามารถใช้        การติดต่อสื่อสารด้วย
                     คอมพิวเตอร์      การใช้อีเมล แอดเดรส
                     ติดต่อสื่อสาร
                                      การรับ-ส่งอีเมล การ
                     ค้นหาข้อมูล
                     ผ่านเครือข่าย    แนบไฟล์ไปกับอีเมล
                     คอมพิวเตอร์ได้   ศึกษาวิธีการค้นหา
                                      ข้อมูลง่าย ๆ บนเครือ
                                      ข่ายคอมพิวเตอร์
นำ้า
ลำา                                                           เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้     สาระการเรีย นรู้      ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                                )   คะแน
                                                                        น
6                      6. นักเรียน             ศึกษา            10     15
                     สามารถนำา        โปรแกรม MS WORD
                     เสนองานในรูป     ที่มีลักษณะการทำางาน
                     แบบที่เหมาะ
                                      ในการจัดทำาเอกสาร
                     สมตรงตาม
                     วัตถุประสงค์     สำานักงานทั่วไป ช่น
                     ของงานได้        การสร้างรายงาน
                                      หนังสือ จดหมาย คู่มือ
                                      การบรรยาย การ
                                      ประชุมสัมมนาแผ่นพับ
                                      ฯลฯ สามารถกำาหนด
                                      หน้าเอกสาร การพิมพ์
                                      ข้อความ การบันทึก
                                      จัดเก็บ
                                      การปรับแต่งเอกสาร
                                      ด้วยการใส่รูปภาพ
                                      สัญลักษณ์ จัดคอลัมน์
                                      ฯลฯ
      สอบระหว่า งภาคและใบ
                                                                       ๘๐
        งาน
      คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์                                       ๑๐
      สอบปลายภาค                                                       ๒๐
      รวมทั้ง สิ้น ตลอดภาคเรีย น                               ๒๐      ๑๐๐
ผลการเรีย นรู้ และสาระการเรีย รู้ (รายวิช าเพิ่ม เติม )
ง ๓๐๒๒๙ การโปรแกรมและการประยุกต์                   กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ 2
                              เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต


        ผลการเรีย นรู้                    สาระการเรีย นรู้
 1. นักเรียนสามารถอธิบาย       -   ประวัติความเป็นมาของภาษาซี
หลักการทำางาน บทบาท            -   ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
ประโยชน์ของโปรแกรมภาษาซี           ภาษาซี
เบื้องต้นได้                   -   หลักการทำางาน บทบาท
                                   ประโยชน์ของโปรแกรมภาษาซี
 2. นักเรียนสามารถใช้คำาสั่ง   -   ความหมายภาษาซี
พื้นฐานของโปรแกรมภาษาซี        -   ข้อมูลคำาสั่งพื้นฐาน และตัวดำาเนิน
เบื้องต้นได้                           การในภาษาซี
                               -   ฝึกใช้คำาสั่งพื้นฐานภาษาซี
 3. นักเรียนสามารถเขียนผัง
งาน(Flowchart) และอธิบาย       - การเขียนผังงาน (Flow Chat)
ประเภทของผังงาน                ของโปรแกรม เป็นการจัดเรียง
(Flowchart) ได้                ลำาดับการทำางานของโปรแกรม เพื่อ
                               ทำาให้สามารถตรวจสอบความครบ
                               ถ้วนสมบูรณ์ของลำาดับการทำางาน
                               ก่อนเริ่มเขียนโปรแกรมจริง
                               - ประเภทของผังงาน แบ่งได้ 2
                               ประเภท คือ ผังงานระบบ และผัง
                               งานโปรแกรม
 4.นักเรียนสามารถอธิบาย        - สัญลักษณ์ Flow Chat
สัญลักษณ์ที่ใช้ในผัง           กระบวนการทำา Flow Chat การ
งาน(Flowchart) รูปแบบการ       ประยุกต์ใช้ Flow Chat กับการ
จัดภาพของผัง                   เขียนผังงานตามโครงสร้างแบบเป็น
งาน(Flowchart) ได้             ลำาดับ โครงสร้างแบบมีการเลือก
                               และโครงสร้างแบบทำาซำ้า
 5.  นักเรียนสามารถอธิบาย       - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี         นั้นผู้เขียนโปรแกรมจะต้องทราบ
เบื้องต้น และใช้โครงสร้าง      หลักการและรูปแบบของการเขียน
ข้อมูลกับภาษาซีได้             โปรแกรมภาษานั้นๆ ภาษาซีก็เช่น
                               เดียวกันรูปแบบของภาษานี้ประกอบ
                               ด้วยส่วนต่าง ๆ 5 ส่วนได้แก่ ส่วนที่
                               เป็นปรีโปรเซวเซอร์ไดเร็กทีฟ ส่วน
                               กำาหนดค่า ส่วนฟังก์ชั่นหลัก
                               (main) การสร้างฟังก์ชั่น และส่วน
                               อธิบายโปรแกรม
                                - โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
                               ดังนี้ โครงสร้างของโปรแกรมภาษา
                               ซีและคอมเมนต์ในภาษาซี
 6. นักเรีนสามารถอธิบาย         - ประเภทของข้อมูล
ประเภทของข้อมูลและการเก็บ       - การเก็บข้อมูลของตัวแปร
ข้อมูลของตัวแปรได้

 7. นักเรีนสามารถรับและพิมพ์   -   การรั บ และพิ ม พ์ ข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น
ข้อมูลเบื้องต้นได้             โปรแกรมอินเตอร์แรคทีฟ
                               - คำา สั่ ง พื้ น ฐานการรั บ และแสดง
                               ผลข้อมูล
                               - การตั้งชื่อตัวดำาเนินการ
                               - การเปลี่ยนประเภทของข้อมูล
 8. นักเรียนสามารถใช้งาน          - การเขียนโปรแกรม
ฟังก์ชันต่าง ๆ ได้             คอมพิวเตอร์นั้นสามารถสร้างคำา
                               ใหม่ขึ้นมาได้ และสามารถเรียก
                               ใช้ได้เมื่อต้องการโดยคำาใหม่ที่
                               สร้างขึ้นจะประกอบด้วยฟังก์ชั่น
                               ต่าง ๆ รวมกันอยู่ ถ้าหากคำาใหม่ที่
                               สร้างขึ้นนี้ไม่มีการคืนค่าออกมา
                               การทำางานจะทำางานเป็นโปรแกรม
                               ย่อย ถ้ามีการคืนค่ากลับออกมาจะ
                               ทำางานเป็นฟังก์ชั่น ถ้าหากผู้เขียน
                               โปรแกรมทำาความเข้าใจวิธีการ
                               สร้างคำาใหม่หรือการสร้างฟังก์ชั่นนี้
จะทำาให้โปรแกรมทำางานได้อย่างมี
                               ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
                                  - การสร้างฟังก์ชั่นในภาษาซี
                                       การสร้างฟังก์ชั่น
                                       โปรโตไทป์
                                       ตัวแปรทั่วไปและตัวแปร
                                                  เฉพาะที่
                                       ฟังก์ชั่นประเภทต่างๆ
                                       ฟังก์ชั่นมาตรฐาน
 9. เข้าใจการประกาศตัวแปร         - การเขียนโปรแกรม
และค่าคงที่ การตั้งชื่อ ตัว    คอมพิวเตอร์นั้นจะต้องมีการ
ดำาเนินการ, do-while           ประมวลผลกับข้อมูล โดยข้อมูลจะ
                               ถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจำาของ
                               คอมพิวเตอร์ในรูปแบบของตัวแปร
                               ได้แก่ ตัวแปรทั่วไปและตัวแปร
                               เฉพาะที่ การประกาศตัวแปรต่างๆ
                               จะใช้หน่วยความจำาไม่เท่ากัน และ
                               มีช่วงของการเก็บข้อมูลไม่เท่ากัน
                               ในการประมวลผลจะต้องมีการกระ
                               ทำากับตัวแปรต่างๆ ตัวที่นำามากระ
                               ทำาเรียกว่าตัวดำาเนินการซึ่งมีทั้ง
                               การดำาเนินการทางคณิตศาสตร์และ
                               ทางลอจิก
 10. นักเรียนสามารถใช้คำาสั่ง     - การเลือกทำาตามเงื่อนไข
เลือกเลือกทำาตามเงื่อนไขต่าง ๆ         คำาสั่งเลือกทำาแบบทาง
ได้อย่างมีจิตสำานึกและความรับ                     เดียว
ผิดชอบ                                 คำาสั่งเลือกทำาอย่างใด
                                                  อย่างหนึ่ง
                                       การเลือกทำาแบบ Switch-
                                                  case
                                       การทำาซำ้าด้วยคำาสั่ง For
                                       การเขียนโปรแกรมทำาซำ้า
                                                  ด้วยคำาสั่ง For
                                       การทำาซำ้าด้วยคำาสั่ง Do
                                                  While
                                       การเขียนโปรแกรมทำาซำ้า
                               ด้วยคำาสั่ง Do While
คำา อธิบ ายรายวิช าเพิ่ม เติม
ง ๓๐๒๒๙ การโปรแกรมและการประยุกต์                   กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
                               เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต

          ศึกษาหลักการและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เครื่องมือการออกแบบ โปรแกรม ความเป็นมาของภาษาคอมพิวเตอร์
โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยของภาษา
คอมพิวเตอร์ ประเภทข้อมูล องค์ประกอบของคำาสั่ง การคำานวณการ
เปรียบเทียบ ขันตอนในการทำางานของโอเปอเรชั่น คำานวณ คำาสั่ง
               ้
ต่าง ๆ ในภาษาคอมพิวเตอร์ ฟังก์ชันเบื้องต้น การเขียนโปรแกรมงาน
ต่างๆโดยใช้คำาสั่งและฟังก์ชันเบื้องต้นในภาษาใดภาษาหนึ่งกับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์
          โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ วางแผน สามารถแก้ปัญหา
ออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรมด้วยคำาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์
เพื่อให้สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะชีวิตใน
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา สามารถแก้ปัญหา ปรับปรุงประเมินผลเกี่ยว
กับงาน จนสามารถนำาความรู้ทางเทคโนโลยีการออกแบบโปรแกรมไป
ใช้พัฒนาตนเอง และสังคม ในชีวิตประจำาวันได้
          เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เห็นคุณค่าและมีเจ
ตนคติที่ดีตองานที่ทำา ตลอดจน
              ่
มีคุณธรรม จริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่
                                              ่
เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่น
ในการทำางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ในการใช้พลังงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี
ผลการเรีย นรู้
๑. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการทำางาน บทบาท ประโยชน์ของ
โปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นได้
๒. นักเรียนสามารถใช้คำาสั่งพื้นฐานของโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นได้
๓. นักเรียนสามารถเขียนผังงาน(Flowchart) และอธิบายประเภทของ
ผังงาน (Flowchart) ได้
๔. นักเรียนสามารถอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงาน(Flowchart) รูป
แบบการจัดภาพของผังงาน(Flowchart) ได้
๕. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้างโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น และ
ใช้โครงสร้างข้อมูลกับภาษาซีได้
๖. นักเรีนสามารถอธิบายประเภทของข้อมูลและการเก็บข้อมูลของ
ตัวแปรได้
๗. นักเรีนสามารถรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้นได้
๘. นักเรียนสามารถใช้งานฟังก์ชันต่าง ๆ ได้
๙. เข้าใจการประกาศตัวแปรและค่าคงที่ การตั้งชื่อ ตัวดำาเนินการ,
do-while
๑๐. นักเรียนสามารถใช้คำาสั่งเลือกเลือกทำาตามเงื่อนไขต่าง ๆ ได้
อย่างมีจิตสำานึกและความรับผิดชอบ
รวมทั้ง หมด 10 ผลการเรียนรู้




                     โครงสร้า งรายวิช า
ง ๓๐๒๒๙ การโปรแกรมและการประยุกต์                  กลุ่มสาระการ
    เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
                                  เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
    หน่วยกิต


                                                                                  นำ้า
ลำา                                                                     เวลา      หนัก
      ชื่อ หน่ว ย      ผลการเรีย น
ดับ                                             สาระการเรีย นรู้       (ชั่ว โม    ก
      การเรีย นรู้         รู้
ที่                                                                      ง)       คะแ
                                                                                  นน
๑     ปฐมนิเทศ                              ทำาความรู้จักและ              ๒        -
                                            แนะนำาถึง
                                            เนื้อหา การเก็บ
                                            คะแนน
                                            การวัดและประเมินผล
๒     แนะนำาภาษา         11.      นักเ      -   ประวัติความเป็นมา         ๒        ๕
      ซี               รียนสามารถ               ของภาษาซี
                       อธิบายหลัก           -   ขั้นตอนการพัฒนา
                       การทำางาน                โปรแกรมภาษาซี
                       บทบาท                -   หลักการทำางาน
                       ประโยชน์ของ              บทบาท ประโยชน์
                       โปรแกรม                  ของโปรแกรมภาษา
                       ภาษาซีเบื้อง             ซี
                       ต้นได้


๓     คำาสั่งพื้นฐาน     12.         นักเ   -   ความหมายภาษาซี            ๒        ๕
      โปรแกรม          รียนสามารถ           -   ข้อมูลคำาสั่งพื้นฐาน
      ภาษาซี           ใช้คำาสั่งพื้น               และตัวดำาเนิน
                       ฐานของ                       การในภาษาซี
                       โปรแกรม              -   ฝึกใช้คำาสั่งพื้นฐาน
                       ภาษาซีเบื้อง                 ภาษาซี
                       ต้นได้
13.นักเรียน
๔   การเขียนผัง    สามารถเขียน       - การเขียนผังงาน       ๒     ๖
    งาน (Flow      ผัง               (Flow Chat) ของ
    Chat)          งาน(Flowcha       โปรแกรม เป็นการจัด
                   rt) และอธิบาย     เรียงลำาดับการทำางาน
                   ประเภทของผัง      ของโปรแกรม เพื่อ
                   งาน               ทำาให้สามารถตรวจ
                   (Flowchart)       สอบความครบถ้วน
                   ได้               สมบูรณ์ของลำาดับการ
                                     ทำางานก่อนเริ่มเขียน
                                     โปรแกรมจริง
                                     -  ประเภทของผังงาน
                                     แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
                                     ผังงานระบบ และผัง
                                     งานโปรแกรม
๕   สัญลักษณ์ที่    14. นักเรียน      - สัญลักษณ์ Flow     ๖     ๑๐
    ใช้ในผัง       สามารถอธิบาย      Chat กระบวนการทำา
    งาน(Flow       สัญลักษณ์ที่ใช้   Flow Chat การ
                   ในผัง
    Chat)                            ประยุกต์ใช้ Flow
                   งาน(Flowcha
                   rt) รูปแบบการ     Chat กับการเขียนผัง
                   จัดภาพของผัง      งานตามโครงสร้าง
                   งาน(Flowcha       แบบเป็นลำาดับ
                   rt) ได้           โครงสร้างแบบมีการ
                                     เลือก และโครงสร้าง
                                     แบบทำาซำ้า
๖   โครงสร้าง       15.นักเรียน       - การเขียน             ๔    ๘
    โปรแกรม        สามารถอธิบาย      โปรแกรมคอมพิวเตอร์
    ภาษาซี         โครงสร้าง         นั้นผู้เขียนโปรแกรม
                   โปรแกรม           จะต้องทราบหลักการ
                   ภาษาซีเบื้อง      และรูปแบบของการ
                   ต้น และใช้        เขียนโปรแกรมภาษา
                   โครงสร้าง         นั้นๆ ภาษาซีก็เช่น
                   ข้อมูลกับภาษา     เดียวกันรูปแบบของ
                   ซีได้             ภาษานี้ประกอบด้วย
                                     ส่วนต่าง ๆ 5 ส่วน
                                     ได้แก่ ส่วนที่เป็นปรี
                                     โปรเซวเซอร์ไดเร็ก
ทีฟ ส่วนกำาหนดค่า
                               ส่วนฟังก์ชั่นหลัก
                               (main) การสร้างฟัง
                               ก์ชั่น และส่วนอธิบาย
                               โปรแกรม
                                - โครงสร้างของ
                               โปรแกรมภาษาซี ดังนี้
                               โครงสร้างของ
                               โปรแกรมภาษาซีและ
                               คอมเมนต์ในภาษาซี
๗ ประเภทของ        16.     นัก - ประเภทของข้อมูล                 ๔   ๘
 ข้อมูล          เรีนสามารถ     - การเก็ บ ข้ อ มู ล ของ
   การเก็บข้อมูล อธิบายประเภท       ตัวแปร
                 ของข้อมูลและ
 ของ
                 การเก็บข้อมูล
                 ของตัวแปรได้

    ตัวแปร การ      17. นักเรีน       ก า ร รั บ แ ล ะ พิ ม พ์
                                      -
    รับและการ      สามารถรับและ   ข้ อ มู ล เ บื้ อ ง ต้ น
    พิมพ์ข้อมูล    พิมพ์ข้อมูล    โ ป ร แ ก ร ม อิ น เ ต อ ร์
                   เบื้องต้นได้   แรคทีฟ
    เบื้องต้น
                                  - คำา สั่ ง พื้ น ฐานการ
                                  รับและแสดงผลข้อมูล
                                  - ก า ร ตั้ ง ชื่ อ ตั ว
                                  ดำาเนินการ
                                  - การเปลี่ยนประเภท
                                  ของข้อมูล
๘   การใช้งานฟัง    18. นักเรียน     - การเขียน                  ๖   ๑๐
    ก์ชั่น         สามารถใช้งาน โปรแกรม
                   ฟังก์ชันต่าง ๆ คอมพิวเตอร์นั้น
                   ได้            สามารถสร้างคำาใหม่
                                  ขึ้นมาได้ และสามารถ
                                  เรียกใช้ได้เมื่อ
                                  ต้องการโดยคำาใหม่ที่
                                  สร้างขึ้นจะประกอบ
                                  ด้วยฟังก์ชั่นต่าง ๆ
                                  รวมกันอยู่ ถ้าหากคำา
                                  ใหม่ที่สร้างขึ้นนี้ไม่มี
การคืนค่าออกมาการ
                                 ทำางานจะทำางานเป็น
                                 โปรแกรมย่อย ถ้ามี
                                 การคืนค่ากลับออกมา
                                 จะทำางานเป็นฟังก์ชั่น
                                 ถ้าหากผู้เขียน
                                 โปรแกรมทำาความ
                                 เข้าใจวิธีการสร้างคำา
                                 ใหม่หรือการสร้างฟัง
                                 ก์ชั่นนี้จะทำาให้
                                 โปรแกรมทำางานได้
                                 อย่างมีประสิทธิภาพ
                                 ยิ่งขึ้น
                                     - การสร้างฟัง
                                 ก์ชั่นในภาษาซี
                                          การสร้างฟัง
                                                     ก์ชั่น
                                          โปรโตไทป์
                                          ตัวแปรทั่วไป
                                 และตัวแปรเฉพาะที่
                                          ฟังก์ชั่น
                                 ประเภทต่างๆ
                                          ฟังก์ชั่นมาตร
                                                     ฐาน
๙   ตัวแปรและค่า 19. เข้าใจการ       - การเขียน               ๔   ๘
    คงที่        ประกาศตัวแปร โปรแกรม
                 และค่าคงที่     คอมพิวเตอร์นั้นจะ
                 การตั้งชื่อ ตัว ต้องมีการประมวลผล
                 ดำาเนินการ,     กับข้อมูล โดยข้อมูล
                 do-while        จะถูกเก็บอยู่ในหน่วย
                                 ความจำาของ
                                 คอมพิวเตอร์ในรูป
                                 แบบของตัวแปร
                                 ได้แก่ ตัวแปรทั่วไป
                                 และตัวแปรเฉพาะที่
                                 การประกาศตัวแปร
                                 ต่างๆ จะใช้หน่วย
                                 ความจำาไม่เท่ากัน
และมีช่วงของการเก็บ
                                    ข้อมูลไม่เท่ากัน ใน
                                    การประมวลผลจะต้อง
                                    มีการกระทำากับ
                                    ตัวแปรต่างๆ ตัวที่นำา
                                    มากระทำาเรียกว่าตัว
                                    ดำาเนินการซึ่งมีทั้ง
                                    การดำาเนินการทาง
                                    คณิตศาสตร์และทาง
                                    ลอจิก
๑๐ การทำางานด้วย   20.         นัก     - การเลือกทำาตาม      ๖    ๑๐
    เงื่อนไข     เรียนสามารถ               เงื่อนไข
                 ใช้คำาสั่งเลือก             คำาสั่งเลือก
                 เลือกทำาตาม        ทำาแบบทางเดียว
                 เงื่อนไขต่าง ๆ              คำาสั่งเลือก
                 ได้อย่างมี         ทำาอย่างใดอย่างหนึ่ง
                 จิตสำานึกและ                การเลือกทำา
                 ความรับผิด         แบบ Switch-case
                 ชอบ
                                             การทำาซำ้า
                                    ด้วยคำาสั่ง For
                                             การเขียน
                                    โปรแกรมทำาซำ้าด้วย
                                    คำาสั่ง For
                                             การทำาซำ้า
                                    ด้วยคำาสั่ง Do While
                                             การเขียน
                                    โปรแกรมทำาซำ้าด้วย
                                    คำาสั่ง Do While
                                 คุณ ลัก ษณะที่พ ึง               ๑๐
ประสงค์
                          รวมระหว่า งเรีย น                  ๓๘   ๘๐
                           ปลายภาค                           ๒    ๒๐
                            รวม                              ๔๐   ๑๐๐
ผลการเรีย นรู้ และสาระการเรีย รู้ (รายวิช าเพิ่ม เติม )
วิชา ง ๓๐๒๓๒ การเขียนเว็บด้วยภาษา HTML                กลุ่มสาระ
การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
                              เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต

        ผลการเรีย นรู้                  สาระการเรีย นรู้
1. นักเรียนมีความรู้ความ       1. ความเข้าใจเบื้องต้นเกียวกับ
เข้าใจเบื้องต้นเกียวกับ        อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต                       1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
                               อินเทอร์เน็ต
                                   1.2 ศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต
                                   1.3 เครื่องมือที่ใช้ในการสร้าง
                               เว็บ
                                   1.4 เครื่องมือในการอ่านเว็บเพจ
                                   1.5 การออกแบบเว็บเพจ
2. นักเรียนมีความรู้ความ       2. ภาษา HTML
เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างภาษา      2.1 ส่วนประกอบของไฟล์
HTML และสามารถสร้าง            HTML
เว็บเพจ ด้วยภาษา HTML ได้
                                  2.2 โครงสร้างหลักของภาษา
                               HTML (Hypert Text Markup
                               Lanuage)
3. นักเรียนมีความรู้ความ       3. การจัดตกแต่งข้อความ
เข้าใจเกี่ยวกับการจัดและ           3.1 ตัวหนา ,เอียง และขีดเส้น
ตกแต่งข้อความ และสามารถ        ใต้
นำาไปประยุกต์ได้
                                   3.2 การใส่สีอักษร
                                   3.3 การกำาหนดขนาดตัวอักษร
3.4 การกำาหนดรูปแบบอักษร
                                   3.5 ตัวอักษรกับหัวข้อรายการ
                                   3.6 เส้นแบ่งคั่นหน้า
                                   3.7 การตัดคำาขึ้นบรรทัดใหม่
                                   3.8 กำาหนดการเว้นวรรค
                                   3.9 การย่อหน้าให้กับข้อความ
                                  3.10 การวางตำาแหน่งข้อความ


       ผลการเรีย นรู้                    สาระการเรีย นรู้
4. นักเรียนมีความรู้ความ        4. คำาสั่งหลักที่ใช้ในการสร้าง
เข้าใจเกี่ยวกับการสร้างตาราง    ตารางของภาษา HTML
และสามารถนำาไปประยุกต์ได้
                                <table>...........</table>
                                <caption>............</caption>

                                <tr>............</tr>
                                <th>...........</th>
                                <td>...........</td>
5. นักเรียนมีความรู้ความ        5. การจัดการกับรูปภาพ
เข้าใจเกี่ยวกับการจัดการ           5.1 การใช้คำาสั่ง <img src>
รูปภาพ และสามารถนำาไป              5.2 การใช้คำาสั่ง <body
ประยุกต์ได้
                                background>
6. นักเรียนมีความรู้ความ    6. การเชื่อมโยงหน้าเว็บเพจ
เข้าใจเกี่ยวกับการเชื่อมโยง เว็บไซต์ อีเมล
หน้าเว็บเพจ และสามารถนำาไป      6.1 คำาสั่งในการสร้างจุดเชื่อม
ประยุกต์ได้
                            โยงโดยใช้ข้อความ
                                6.2 การกำาหนดสีให้กับจุดเชื่อม
                            โยง
                                6.3 การสร้างจุดเชื่อมโยงโดย
                            รูปภาพ
7. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ 7. การจัดสร้างเฟรม
การสร้างเฟรม และสามารถนำา          7.1 คำาสั่งหลักที่ใช้ในการจัด
ไปประยุกต์ได้
สร้างเฟรม
                                     7.2 คำาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการปรับ
                                  แต่งเฟรม
8. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ   8. การสร้างแบบฟอร์มรูปแบบต่าง
การสร้างแบบฟอร์ม และ              ๆ
สามารถนำาไปประยุกต์ได้
9. นักเรียนสามารถสร้างเว็บ        9. ออกแบบเว็บไซต์ด้วยภาษา
เพ็จด้วยภาษา HTML อย่าง           HTML
สร้างสรรค์ มีคุณธรรม และ
จริยธรรม




                    คำา อธิบ ายรายวิช าเพิ่ม เติม
ง ๓๐๒๓๒ การเขียนเว็บด้วยภาษา HTML                  กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
                               เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต

      ศึกษาการใช้โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ในการพัฒนาเว็บเพจ
หลักการสร้างงาน
การนำาเสนอชิ้นงาน การวางแผนและออกแบบ ได้อย่างสร้างสรรค์
นำาข้อมูลจากแหล่งความรู้
ในโรงเรียน และท้องถิ่นมาจัดทำา ออกแบบเว็บเพจและนำาเสนอผลงาน
จัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ การบำารุงรักษาโปรแกรมอย่างมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมีจริยธรรมและคุณธรรมเกี่ยวกับการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
            ปฏิบัติการสร้างงานเว็บเพจด้วยโปรแกรมสำาเร็จรูปโดย
ประยุกต์ใช้คำาสั่งพื้นฐาน HTML
ในด้านการวางแผน ออกแบบและพัฒนาเว็บเพจ การแก้ปัญหา ใน
การนำาเสนอผลงานด้วยคอมพิวเตอร์ สร้างเว็บเพจด้วยโปรแกรมภาษา
HTML และโปรแกรมสำาเร็จรูป จัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ ประยุกต์
ใช้งานด้านต่าง ๆ
      เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการใช้โปรแกรมสร้างเว็บเพจ มี
ทักษะเบื้องต้นในการใช้
โปรแกรมภาษา HTML และโปรแกรมสำาเร็จรูปสร้างเว็บเพจ เพื่อสร้าง
งานนำาเสนอ บูรณาการทักษะ
ความรู้ในงานอาชีพ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาในท้องถิ่น และประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำาวันได้อย่างสร้างสรรค์ มีคุณธรรมและจริยธรรม

      เพื่อให้เกิดทักษะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำาเสนองาน และใช้
คอมพิวเตอร์ในการสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมีจิตสำานึกและ
วัฒนธรรม มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีทักษะการคิดเพื่อการ
แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
        เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีความ
มุ่งมั่นในการทำางานและรักความเป็นไทย และดำาเนินชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการเรีย นรู้
      1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกียวกับอินเทอร์เน็ต
      2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างภาษา
HTML และสามารถสร้างเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML ได้
      3. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดและตกแต่ง
ข้อความ และสามารถนำาไปประยุกต์ได้
      4. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างตาราง และ
สามารถนำาไปประยุกต์ได้
      5. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ และ
สามารถนำาไปประยุกต์ได้
      6. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเชื่อมโยงหน้า
เว็บเพจ และสามารถนำาไปประยุกต์ได้
      7. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเฟรม และสามารถนำา
ไปประยุกต์ได้
      8. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างแบบฟอร์ม และ
สามารถนำาไปประยุกต์ได้
      9. นักเรียนสามารถสร้างเว็บเพ็จด้วยภาษา HTML อย่าง
สร้างสรรค์ มีคุณธรรม และจริยธรรม

รวมทั้ง หมด 9 ผลการเรียนรู้
โครงสร้า งรายวิช า
ง ๓๐๒๓๒ การเขียนเว็บด้วยภาษา HTML                 กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑
                              เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต
นำ้า
ลำา                                                               เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้      สาระการเรีย นรู้         ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                                    )   คะแน
                                                                            น
1 เบื้องต้นเกีย      1. นักเรียนมี     1. ความเข้าใจเบื้อง          2       5
      วกับ           ความรู้ความ       ต้นเกียวกับ
      อินเทอร์เน็ต   เข้าใจเบื้องต้น   อินเทอร์เน็ต
                     เกียวกับ              1.1 ความรู้เบื้อง
                     อินเทอร์เน็ต      ต้นเกี่ยวกับ
                                       อินเทอร์เน็ต
                                           1.2 ศัพท์ทาง
                                       อินเทอร์เน็ต
                                           1.3 เครื่องมือที่ใช้
                                       ในการสร้างเว็บ
                                           1.4 เครื่องมือใน
                                       การอ่านเว็บเพจ
                                           1.5 การออกแบบ
                                       เว็บเพจ
2 โครงสร้าง     2. นักเรียนมี          2. ภาษา HTML                 4       5
      ภาษา HTML ความรู้ความ               2.1 ส่วนประกอบ
                เข้าใจเกี่ยวกับ        ของไฟล์ HTML
                โครงสร้าง
                ภาษา HTML
                และสามารถ                 2.2 โครงสร้าง
                สร้างเว็บเพจ
                                       หลักของภาษา HTML
                ด้วยภาษา
                HTML ได้               (Hypert Text
                                       Markup Lanuage)
นำ้า
ลำา                                                            เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้      สาระการเรีย นรู้      ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                                 )   คะแน
                                                                         น
3 การจัดและ          3. นักเรียนมี     3. การจัดตกแต่ง           4      10
      ตกแต่ง         ความรู้ความ       ข้อความ
      ข้อความ        เข้าใจเกี่ยวกับ      3.1 ตัวหนา ,เอียง
                     การจัดและ
                                       และขีดเส้นใต้
                     ตกแต่ง
                     ข้อความ และ          3.2 การใส่สีอักษร
                     สามารถนำาไป
                     ประยุกต์ได้           3.3 การกำาหนด
                                       ขนาดตัวอักษร
                                           3.4 การกำาหนดรูป
                                       แบบอักษร
                                           3.5 ตัวอักษรกับ
                                       หัวข้อรายการ
                                           3.6 เส้นแบ่งคั่น
                                       หน้า
                                           3.7 การตัดคำาขึ้น
                                       บรรทัดใหม่
                                           3.8 กำาหนดการ
                                       เว้นวรรค
                                           3.9 การย่อหน้าให้
                                       กับข้อความ
                                          3.10 การวาง
                                       ตำาแหน่งข้อความ
นำ้า
ลำา                                                             เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้      สาระการเรีย นรู้       ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                                  )   คะแน
                                                                          น
4 การสร้าง           4. นักเรียนมี     4. คำาสั่งหลักที่ใช้ใน     4      10
      ตาราง          ความรู้ความ       การสร้างตารางของ
                     เข้าใจเกี่ยวกับ   ภาษา HTML
                     การสร้าง
                     ตาราง และ         <table>...........</t
                     สามารถนำาไป       able>
                     ประยุกต์ได้       <caption>............
                                       </caption>
                                       <tr>............</tr>
                                       <th>...........</th>
                                       <td>...........</td>
5 การเชื่อมโยง 5. นักเรียนมี         5. การเชื่อมโยงหน้า          4      10
      หน้าเว็บ       ความรู้ความ     เว็บเพจ เว็บไซต์
                     เข้าใจเกี่ยวกับ อีเมล
                     การเชื่อมโยง
                                          5.1 คำาสั่งในการ
                     หน้าเว็บเพจ
                     และสามารถนำา สร้างจุดเชื่อมโยงโดย
                     ไปประยุกต์ได้ ใช้ข้อความ
                                          5.2 การกำาหนดสี
                                     ให้กับจุดเชื่อมโยง
                                          5.3 การสร้างจุด
                                     เชื่อมโยงโดยรูปภาพ
6 การสร้าง           6. มีความรู้  6. การจัดสร้างเฟรม             6      15
      เฟรม           ความเข้าใจ       6.1 คำาสั่งหลักที่
                     เกี่ยวกับการ  ใช้ในการจัดสร้าง
                     สร้างเฟรม และ
                                   เฟรม
                     สามารถนำาไป
                     ประยุกต์ได้      6.2 คำาสั่งต่างๆ ที่
                                   ใช้ในการปรับแต่ง
นำ้า
ลำา                                                       เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้    สาระการเรีย นรู้   ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                            )   คะแน
                                                                    น
                                      เฟรม




7 การสร้างแบบ 7. มีความรู้            7. การสร้างแบบ        4      10
      ฟอร์ม         ความเข้าใจ        ฟอร์มรูปแบบต่าง ๆ
                    เกี่ยวกับการ
                    สร้างแบบ
                    ฟอร์ม และ
                    สามารถนำาไป
                    ประยุกต์ได้
8     สร้างเว็บเพ็จ 8. นักเรียน       9. ออกแบบเว็บไซต์    12      15
      ด้วยภาษา      สามารถสร้าง       ด้วยภาษา HTML
      HTML อย่าง เว็บเพ็จด้วย
                    ภาษา HTML
      สร้างสรรค์
                    อย่าง
                    สร้างสรรค์ มี
                    คุณธรรม และ
                    จริยธรรม
      สอบระหว่า งภาคและใบ
                                                                   ๘๐
         งาน
      คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์                                   ๑๐
      สอบปลายภาค                                                   ๒๐
      รวมทั้ง สิ้น ตลอดภาคเรีย น                           ๒๐      ๑๐๐
ผลการเรีย นรู้ และสาระการเรีย รู้ (รายวิช าเพิ่ม เติม )
วิชา ง ๓๐๒๓๓ โครงงานคอมพิวเตอร์               กลุ่มสาระการเรียน
รู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒
                              เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต

         ผลการเรีย นรู้                สาระการเรีย นรู้
   1. นักเรียนสามารถบอก        1. โครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและคุณค่าของการ          1.1 ความหมายและคุณค่าของ
ทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ และ        โครงงานคอมพิวเตอร์
จำาแนกประเภทของโครงงาน           1.2 ประเภทของโครงงาน
คอมพิวเตอร์ได้                   คอมพิวเตอร์
                                 1.3 ตัวอย่างชื่อโครงงาน
                                 คอมพิวเตอร์
      2. นักเรียนมีความรู้     2. การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
ความเข้าใจในขั้นตอนการทำา        2.1 วิธีดำาเนินการทำาโครงงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์               2.2 ตัวอย่างหัวข้อโครงงาน
                                 คอมพิวเตอร์

3. นักเรียนสามารถจัดทำาและ     3. การจัดทำาและนำาเสนอข้อเสนอ
นำาเสนอข้อเสนอโครงงาน             โครงงาน
คอมพิวเตอร์ได้                    3.1 เค้าโครงข้อเสนอโครงงาน
                                  3.2 ตัวอย่างการเขียน ข้อเสนอ
                                  โครงงาน
4. นักเรียนสามารถอธิบายวิธี     4    แนวทางการทำาโครงงาน
ทำาโครงงานอย่างเป็นระบบและ       4.1 การวางแผนการดำาเนินโครง
วิธีทำาโครงงานให้ประสบความ       งานให้สำาเร็จ
สำาเร็จอย่างมีคุณภาพได้
                                 4.2 แนวทางการจัดระบบการทำา
                                 โครงงาน
5. นักเรียนสามารถทำารายงาน      5. รูปแบบและวิธีการเขียนรายงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์ฉบับ           โครงงาน
สมบูรณ์ได้                       5.1 รูปแบบรายงานโครงงาน
                                 คอมพิวเตอร์
                                 5.2 การเขียนบทคัดย่อโครงงาน
6. นักเรียนสามารถนำาเสนอ        6. การนำาเสนอ และประเมินผล
โครงงานและประเมินผลโครง         โครงงาน
งานคอมพิวเตอร์ได้                  6.1 การนำาเสนอโครงงาน
                                   6.2 การประเมินผลโครงงาน




                    คำา อธิบ ายรายวิช าเพิ่ม เติม
ง ๓๐๒๓๓ โครงงานคอมพิวเตอร์                         กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรีย นที่ ๒
                               เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต

       ศึกษาพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การ
ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างงานในรูปแบบต่าง ๆ หลักการทำา
โครงงานคอมพิวเตอร์ ลักษณะของการทำาโครงงาน จากปัญหาหรือ
เรื่องที่สนใจจะศึกษา วิเคราะห์รูปแบบกระบวนการดำาเนินงานโครง
งาน แนวทางการประยุกต์คอมพิวเตอร์กับโครงงาน
            ปฏิบัติการสร้างโครงงานโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
โดยใช้ความรู้ ความคิด จินตนาการ ทักษะ เหตุผล และกระบวนการ
ต่างๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนประสบการณ์ด้าน
คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีอยู่ มาเชื่อมโยง
สัมพันธ์กันจนเกิดความรู้ใหม่ที่มีความหมายสอดคล้อง และเชื่อมโยง
กันได้ โดยมีการบูรณาการความรู้ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมด้วย

           เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานทาง
ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และเกิดเจตคติที่ดีทำาให้สามารถใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้ และสามารถนำาเอา
คอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้อย่างมีจิตสำานึก
และมีความรับผิดชอบ
      เพื่อให้เกิดทักษะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำาเสนองาน และใช้
คอมพิวเตอร์ในการสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมีจิตสำานึกและ
วัฒนธรรม มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีทักษะการคิดเพื่อการ
แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
      เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีความมุ่ง
มั่นในการทำางานและรักความเป็นไทย และดำาเนินชีวิตตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผลการเรีย นรู้
       1. นักเรียนสามารถบอกความหมายและคุณค่าของการทำาโครง
งานคอมพิวเตอร์ และจำาแนกประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ได้
       2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการทำาโครงงาน
คอมพิวเตอร์
       3. นักเรียนสามารถจัดทำาและนำาเสนอข้อเสนอโครงงาน
คอมพิวเตอร์ได้
       4. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีทำาโครงงานอย่างเป็นระบบและ
วิธีทำาโครงงานให้ประสบความสำาเร็จอย่างมีคุณภาพได้
       5. นักเรียนสามารถทำารายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ฉบับ
สมบูรณ์ได้
       6. นักเรียนสามารถนำาเสนอโครงงานและประเมินผลโครงงาน
คอมพิวเตอร์ได้

รวมทั้ง หมด 6 ผลการเรียนรู้
โครงสร้า งรายวิช า
ง ๓๐๒๓๓ โครงงานคอมพิวเตอร์                        กลุ่มสาระการ
เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรีย นที่ ๒
                              เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐
หน่วยกิต
นำ้า
ลำา                                                       เวลา( หนัก
      ชื่อ หน่ว ย
ดับ                  ผลการเรีย นรู้   สาระการเรีย นรู้    ชั่ว โมง   ก
      การเรีย นรู้
ที่                                                            )   คะแน
                                                                    น
1 รู้จักโครงงาน นักเรียน            1. โครงงาน
      คอมพิวเตอร     สามารถบอก      คอมพิวเตอร์
      ์์             ความหมายและ       1.1 ความหมาย
                     คุณค่าของการ และคุณค่าของโครง
                     ทำาโครงงาน     งานคอมพิวเตอร์
                     คอมพิวเตอร์       1.2 ประเภทของ
                     และจำาแนก      โครงงานคอมพิวเตอร์
                     ประเภทของ        1.3 ตัวอย่างชื่อ
                     โครงงาน        โครงงานคอมพิวเตอร์
                     คอมพิวเตอร์ได้
2 การพัฒนา           นักเรียนมี   2. การพัฒนาโครง
      โครงงาน        ความรู้ความ  งาน
      คอมพิวเตอร์    เข้าใจในขั้น     คอมพิวเตอร์
                     ตอนการทำา       2.1 วิธีดำาเนินการ
                     โครงงาน      ทำาโครงงาน
                     คอมพิวเตอร์       2.2 ตัวอย่าง
                                  หัวข้อโครงงาน
                                  คอมพิวเตอร์
3     การจัดทำาและ นักเรียน       3. การจัดทำาและนำา
      นำาเสนอข้อ   สามารถจัดทำา เสนอข้อเสนอ
      เสนอ         และนำาเสนอข้อ     โครงงาน
                   เสนอโครงงาน 3.1 เค้าโครงข้อเสนอ
      โครงงาน
                   คอมพิวเตอร์ได้ โครงงาน
                                  3.2 ตัวอย่างการ
                                  เขียน ข้อเสนอโครง
                                  งาน
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2
สาระเพิ่ม โครงงานM6 2

More Related Content

What's hot

แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
พงศธร ภักดี
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
devilp Nnop
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
Nattapon
 
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
พงศธร ภักดี
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
Nicemooon
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Lupin F'n
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
jatesada5803
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
nottodesu
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
Mevenwen Singollo
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
Thawatchai Rustanawan
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
krunuy5
 

What's hot (18)

โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
โครงสร้างรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 (ง21101)
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 1 ระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
แผนการสอน ระบบปฏิบัติการ Windows ม.1
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
Ict300_2_edit
Ict300_2_editIct300_2_edit
Ict300_2_edit
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
K9
K9K9
K9
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศกำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
กำเนิดเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 

Viewers also liked

คู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressคู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpress
Oh Aeey
 
The patriot act
The patriot actThe patriot act
The patriot act
palita Px
 
CerebralFix recent work deck
CerebralFix recent work deckCerebralFix recent work deck
CerebralFix recent work deck
henrylane029
 
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธีหน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
Oh Aeey
 
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
Oh Aeey
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
Oh Aeey
 
หน่วยที่ 2 เรื่องระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เรื่องระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 เรื่องระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เรื่องระบบคอมพิวเตอร์
Oh Aeey
 

Viewers also liked (17)

Slideshare some animals of oceania
Slideshare some animals of oceaniaSlideshare some animals of oceania
Slideshare some animals of oceania
 
คู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpressคู่มือ Wordpress
คู่มือ Wordpress
 
Bibliothekswelten im Umbruch. Die Bibliothek im Internetzeitalter
Bibliothekswelten im Umbruch. Die Bibliothek im InternetzeitalterBibliothekswelten im Umbruch. Die Bibliothek im Internetzeitalter
Bibliothekswelten im Umbruch. Die Bibliothek im Internetzeitalter
 
The patriot act
The patriot actThe patriot act
The patriot act
 
Why Choose Tampere as Your Congress Destination?
Why Choose Tampere as Your Congress Destination?Why Choose Tampere as Your Congress Destination?
Why Choose Tampere as Your Congress Destination?
 
f/21 Quarterly Q2|2016
f/21 Quarterly Q2|2016f/21 Quarterly Q2|2016
f/21 Quarterly Q2|2016
 
Welcome to Tampere, the Lake City!
Welcome to Tampere, the Lake City!Welcome to Tampere, the Lake City!
Welcome to Tampere, the Lake City!
 
Doc Clock deck
Doc Clock deckDoc Clock deck
Doc Clock deck
 
CerebralFix recent work deck
CerebralFix recent work deckCerebralFix recent work deck
CerebralFix recent work deck
 
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธีหน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
 
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
01 หลักการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์
 
Sport
Sport Sport
Sport
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
Factores que afectan el crecimiento de microorganismos
Factores que afectan  el crecimiento de microorganismosFactores que afectan  el crecimiento de microorganismos
Factores que afectan el crecimiento de microorganismos
 
หน่วยที่ 2 เรื่องระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เรื่องระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 เรื่องระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 เรื่องระบบคอมพิวเตอร์
 
Power point Règlement de conflits en milieur de travail
Power point   Règlement de conflits en milieur de travailPower point   Règlement de conflits en milieur de travail
Power point Règlement de conflits en milieur de travail
 
Comprendre les technologies LPWA (SIGFOX et LoRa)
Comprendre les technologies LPWA (SIGFOX et LoRa)Comprendre les technologies LPWA (SIGFOX et LoRa)
Comprendre les technologies LPWA (SIGFOX et LoRa)
 

Similar to สาระเพิ่ม โครงงานM6 2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
dechathon
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์
jamiezaa123
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
Nattapon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Sarocha Makranit
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
Thank Chiro
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
Surapong Jakang
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
thanapon51105
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
Lupin F'n
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
Utaiwoot Ponglar
 

Similar to สาระเพิ่ม โครงงานM6 2 (20)

ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คอมพิวเตอร์
 
โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์โปรเจกเวอกร์
โปรเจกเวอกร์
 
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdfใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
ใบความรู้ที่ 2 ประเภทและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ.pdf
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
ความสำคัญของคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
ความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญความหมายและความสำคัญ
ความหมายและความสำคัญ
 
ใบงานHardware
ใบงานHardwareใบงานHardware
ใบงานHardware
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
prasentation 2
prasentation 2prasentation 2
prasentation 2
 
K3
K3K3
K3
 
K3.1
K3.1K3.1
K3.1
 
K3
K3K3
K3
 

สาระเพิ่ม โครงงานM6 2

  • 1. ผลการเรีย นรู้ และสาระการเรีย รู้ (รายวิช าเพิ่ม เติม ) วิชา ง ๓๐๒๒๘ คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ 1 เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกส่วน ศึกษาความหมายของ ประกอบและหลักการทำางาน คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบ ของคอมพิวเตอร์ได้ ของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะ เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ มีองค์ประกอบที่เหมือนกันคือ ส่วน นำาเข้า(Input)ส่วนประมวล ผล(Process)ส่วนแสดง ผล(Output) และส่วนเก็บข้อมูล (Storage) ศึกษาส่วนประกอบของ ระบบ คอมพิวเตอร์ คุณสมบัติของ คอมพิวเตอร์ ชนิดของคอมพิวเตอร์ และโครงสร้างของคอมพิวเตอร์ เข้าใจหลักการทำางานของ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ต่อพ่วง สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ ได้ถูกต้อง 2. นักเรียนสามารถใช้ภาษา ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการ คอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษา เขียนโปรแกรมคำาสั่งแต่ละภาษามี ระดับตำ่า และภาษาระดับสูงได้ รูปแบบ ไวยากรณ์คำาสั่งและวิธีการ เขียนโปรแกรมที่แตกต่างกัน 3. นักเรียนสามารถใช้ ศึกษาความหมายของ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้ ซอฟต์แวร์ ประเภทของซอฟต์แวร์ เหมาะสมกับงานได้ ความหมายหน้าที่ของระบบปฏิบัติ การ ลักษณะของระบบปฏิบัติการ
  • 2. ชนิดของระบบปฏิบัติการ ศึกษาการ ใช้โปรแกรมระบบปฏิบัติ การเท็กซ์โหมดและกราฟิกโหมด 4. นักเรียนสามารถติดตั้ง ศึกษาขั้นตอนการติดตั้ง ซอฟต์แวร์โปรแกรมต่าง ๆ ได้ ระบบปฏิบัติการ Windows XP การติดตั้งโปรแกรมแอนตี้ไวรัส การ ติดตั้งโปรแกรม Multimedia โปรแกรมย่อไฟล์(WinZip) ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ 5. นักเรียนสามารถใช้ ศึกษารูปแบบการติดต่อสื่อสาร คอมพิวเตอร์ติดต่อสื่อสาร ด้วยการใช้อีเมล แอดเดรส การรับ- ค้นหาข้อมูลผ่านเครือข่าย ส่งอีเมล การแนบไฟล์ไปกับอีเมล คอมพิวเตอร์ได้ ศึกษาวิธีการค้นหาข้อมูลง่าย ๆ บน เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 6. นักเรียนสามารถนำาเสนอ ศึกษาโปรแกรม MS งานในรูปแบบที่เหมาะสมตรง WORD ที่มีลักษณะการทำางานใน ตามวัตถุประสงค์ของงานได้ การจัดทำาเอกสารสำานักงานทั่วไป ช่น การสร้างรายงาน หนังสือ จดหมาย คู่มือการบรรยาย การ ประชุมสัมมนาแผ่นพับฯลฯ สามารถ กำาหนด หน้าเอกสาร การพิมพ์ข้อความ การ บันทึกจัดเก็บ การปรับแต่งเอกสารด้วยการใส่ รูปภาพ สัญลักษณ์ จัดคอลัมน์ ฯลฯ 7. ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้าง ศึกษาความหมายของ ชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมี โครงงาน และหลักการ จิตสำานึกและความรับผิดชอบ ทำาโครงงานหรือสร้างชิ้นงานที่มี นักเรียนสามารถใช้ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงาน หรือโครงงานอย่างมีจิตสำานึก สามารถเขียนเค้าโครงร่างโครงงาน และความรับผิดชอบได้ และ ทำาโครงงานหรือชิ้นงานจาก
  • 3. โปรแกรม MS WORD คำา อธิบ ายรายวิช าเพิ่ม เติม ง ๓๐๒๒๘ คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี กลุ่มสาระการเรียน รู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับความรู้พื้นฐาน หลักการใช้งาน คอมพิวเตอร์เบื้องต้น และรู้เข้าใจการแยกแยะชิ้นส่วนประกอบและ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ เพื่อนำาอุปกรณ์แต่ละชนิดมาประกอบ เป็นตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และประยุกต์ใช้งานให้เหมาะสมกับ ซอฟต์แวร์ปัจจุบัน สามารถติดตั้งซอฟต์แวร์ติดต่อสื่อสาร ใช้ คอมพิวเตอร์ค้นหาข้อมูลผ่านครือข่ายคอมพิวเตอร์ ใช้หลักการแก้ ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ และพัฒนาโครงงานได้ อย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ วางแผน สามารถแก้ปัญหา ปรับปรุงประเมินผล เกี่ยวกับ การปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ ใช้ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี โปรแกรมต่าง ๆ มีการสืบค้นข้อมูล มีความสามารถในการคิด การใช้ ทักษะชีวิตในการพัฒนางาน สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ จนนำาความรู้ไปใช้พัฒนาตนเอง และสังคมในชีวิตประจำาวันได้ เพื่อให้สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะชีวิต ในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา สามารถแก้ปัญหา ปรับปรุงประเมินผล เกี่ยวกับงาน จนสามารถนำาความรู้ทางเทคโนโลยีการออกแบบ โปรแกรมไปใช้พัฒนาตนเอง และสังคม ในชีวิตประจำาวันได้
  • 4. เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เห็นคุณค่าและมีเจ ตนคติที่ดีตองานที่ทำา ตลอดจน ่ มีคุณธรรม จริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่น ในการทำางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี ผลการเรีย นรู้ 1.นักเรียนสามารถบอกส่วนประกอบและหลักการทำางานของ คอมพิวเตอร์ได้ 2. นักเรียนสามารถใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษา ระดับตำ่า และภาษาระดับสูงได้ 3. นักเรียนสามารถใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสม กับงานได้ 4. นักเรียนสามารถติดตั้งซอฟต์แวร์โปรแกรมต่าง ๆ ได้ 5. นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อสือสาร ค้นหาข้อมูล ่ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ 6. นักเรียนสามารถนำาเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมตรง ตามวัตถุประสงค์ของงานได้ 7. นักเรียนสามารถใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานหรือ โครงงานอย่างมีจิตสำานึกและความรับผิดชอบได้ รวมทั้ง หมด 7 ผลการเรียนรู้ โครงสร้า งรายวิช า ง ๓๐๒๒๘ คอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี กลุ่มสาระการเรียน รู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต
  • 5. นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น 1 1. นักเรียน ศึกษาความ 4 10 สามารถบอก หมายของ ส่วนประกอบ คอมพิวเตอร์ องค์ และหลักการ ประกอบ ทำางานของ คอมพิวเตอร์ได้ ของฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะ เป็นเครื่อง คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก หรือคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ มีองค์ประกอบที่ เหมือนกันคือ ส่วนนำา เข้า(Input)ส่วน ประมวล ผล(Process)ส่วน แสดงผล(Output) และส่วนเก็บข้อมูล (Storage) ศึกษาส่วน ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ คุณสมบัติของ คอมพิวเตอร์ ชนิดของ คอมพิวเตอร์ และ โครงสร้างของ คอมพิวเตอร์ เข้าใจ หลักการทำางานของ คอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์ต่อพ่วง
  • 6. นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น สามารถใช้งาน คอมพิวเตอร์ได้ถูก ต้อง นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น 2 2. นักเรียน ภาษา 4 10 สามารถใช้ คอมพิวเตอร์ที่ใช้ใน ภาษา การเขียนโปรแกรมคำา คอมพิวเตอร์ สั่งแต่ละภาษามีรูป ภาษาเครื่อง ภาษาระดับตำ่า แบบ ไวยากรณ์คำาสั่ง และภาษาระดับ และวิธีการเขียน สูงได้ โปรแกรมที่แตกต่าง กัน 3 3. นักเรียน ศึกษาความหมาย 4 10 สามารถใช้ ของซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์และ ประเภทของ ซอฟต์แวร์ให้ ซอฟต์แวร์ ความ เหมาะสมกับ งานได้ หมายหน้าที่ของระบบ ปฏิบัติการ ลักษณะ
  • 7. นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น ของระบบปฏิบัติการ ชนิดของระบบปฏิบัติ การ ศึกษาการใช้ โปรแกรมระบบปฏิบัติ การเท็กซ์โหมดและ กราฟิกโหมด 4 4.นักเรียน ศึกษาขั้นตอน 4 10 สามารถติดตั้ง การติดตั้งระบบปฏิบัติ ซอฟต์แวร์ การ Windows XP โปรแกรมต่าง การติดตั้งโปรแกรม ๆ ได้ แอนตี้ไวรัส การติดตั้ง โปรแกรม Multimedia โปรแกรมย่อ ไฟล์(WinZip) 5 5. นักเรียน ศึกษารูปแบบ 6 10 สามารถใช้ การติดต่อสื่อสารด้วย คอมพิวเตอร์ การใช้อีเมล แอดเดรส ติดต่อสื่อสาร การรับ-ส่งอีเมล การ ค้นหาข้อมูล ผ่านเครือข่าย แนบไฟล์ไปกับอีเมล คอมพิวเตอร์ได้ ศึกษาวิธีการค้นหา ข้อมูลง่าย ๆ บนเครือ ข่ายคอมพิวเตอร์
  • 8. นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น 6 6. นักเรียน ศึกษา 10 15 สามารถนำา โปรแกรม MS WORD เสนองานในรูป ที่มีลักษณะการทำางาน แบบที่เหมาะ ในการจัดทำาเอกสาร สมตรงตาม วัตถุประสงค์ สำานักงานทั่วไป ช่น ของงานได้ การสร้างรายงาน หนังสือ จดหมาย คู่มือ การบรรยาย การ ประชุมสัมมนาแผ่นพับ ฯลฯ สามารถกำาหนด หน้าเอกสาร การพิมพ์ ข้อความ การบันทึก จัดเก็บ การปรับแต่งเอกสาร ด้วยการใส่รูปภาพ สัญลักษณ์ จัดคอลัมน์ ฯลฯ สอบระหว่า งภาคและใบ ๘๐ งาน คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ๑๐ สอบปลายภาค ๒๐ รวมทั้ง สิ้น ตลอดภาคเรีย น ๒๐ ๑๐๐
  • 9. ผลการเรีย นรู้ และสาระการเรีย รู้ (รายวิช าเพิ่ม เติม ) ง ๓๐๒๒๙ การโปรแกรมและการประยุกต์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ 2 เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ 1. นักเรียนสามารถอธิบาย - ประวัติความเป็นมาของภาษาซี หลักการทำางาน บทบาท - ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม ประโยชน์ของโปรแกรมภาษาซี ภาษาซี เบื้องต้นได้ - หลักการทำางาน บทบาท ประโยชน์ของโปรแกรมภาษาซี 2. นักเรียนสามารถใช้คำาสั่ง - ความหมายภาษาซี พื้นฐานของโปรแกรมภาษาซี - ข้อมูลคำาสั่งพื้นฐาน และตัวดำาเนิน เบื้องต้นได้ การในภาษาซี - ฝึกใช้คำาสั่งพื้นฐานภาษาซี 3. นักเรียนสามารถเขียนผัง งาน(Flowchart) และอธิบาย - การเขียนผังงาน (Flow Chat) ประเภทของผังงาน ของโปรแกรม เป็นการจัดเรียง (Flowchart) ได้ ลำาดับการทำางานของโปรแกรม เพื่อ ทำาให้สามารถตรวจสอบความครบ ถ้วนสมบูรณ์ของลำาดับการทำางาน ก่อนเริ่มเขียนโปรแกรมจริง - ประเภทของผังงาน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ ผังงานระบบ และผัง งานโปรแกรม 4.นักเรียนสามารถอธิบาย - สัญลักษณ์ Flow Chat สัญลักษณ์ที่ใช้ในผัง กระบวนการทำา Flow Chat การ งาน(Flowchart) รูปแบบการ ประยุกต์ใช้ Flow Chat กับการ
  • 10. จัดภาพของผัง เขียนผังงานตามโครงสร้างแบบเป็น งาน(Flowchart) ได้ ลำาดับ โครงสร้างแบบมีการเลือก และโครงสร้างแบบทำาซำ้า 5. นักเรียนสามารถอธิบาย - การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี นั้นผู้เขียนโปรแกรมจะต้องทราบ เบื้องต้น และใช้โครงสร้าง หลักการและรูปแบบของการเขียน ข้อมูลกับภาษาซีได้ โปรแกรมภาษานั้นๆ ภาษาซีก็เช่น เดียวกันรูปแบบของภาษานี้ประกอบ ด้วยส่วนต่าง ๆ 5 ส่วนได้แก่ ส่วนที่ เป็นปรีโปรเซวเซอร์ไดเร็กทีฟ ส่วน กำาหนดค่า ส่วนฟังก์ชั่นหลัก (main) การสร้างฟังก์ชั่น และส่วน อธิบายโปรแกรม - โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี ดังนี้ โครงสร้างของโปรแกรมภาษา ซีและคอมเมนต์ในภาษาซี 6. นักเรีนสามารถอธิบาย - ประเภทของข้อมูล ประเภทของข้อมูลและการเก็บ - การเก็บข้อมูลของตัวแปร ข้อมูลของตัวแปรได้ 7. นักเรีนสามารถรับและพิมพ์ - การรั บ และพิ ม พ์ ข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น ข้อมูลเบื้องต้นได้ โปรแกรมอินเตอร์แรคทีฟ - คำา สั่ ง พื้ น ฐานการรั บ และแสดง ผลข้อมูล - การตั้งชื่อตัวดำาเนินการ - การเปลี่ยนประเภทของข้อมูล 8. นักเรียนสามารถใช้งาน - การเขียนโปรแกรม ฟังก์ชันต่าง ๆ ได้ คอมพิวเตอร์นั้นสามารถสร้างคำา ใหม่ขึ้นมาได้ และสามารถเรียก ใช้ได้เมื่อต้องการโดยคำาใหม่ที่ สร้างขึ้นจะประกอบด้วยฟังก์ชั่น ต่าง ๆ รวมกันอยู่ ถ้าหากคำาใหม่ที่ สร้างขึ้นนี้ไม่มีการคืนค่าออกมา การทำางานจะทำางานเป็นโปรแกรม ย่อย ถ้ามีการคืนค่ากลับออกมาจะ ทำางานเป็นฟังก์ชั่น ถ้าหากผู้เขียน โปรแกรมทำาความเข้าใจวิธีการ สร้างคำาใหม่หรือการสร้างฟังก์ชั่นนี้
  • 11. จะทำาให้โปรแกรมทำางานได้อย่างมี ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น - การสร้างฟังก์ชั่นในภาษาซี  การสร้างฟังก์ชั่น  โปรโตไทป์  ตัวแปรทั่วไปและตัวแปร เฉพาะที่  ฟังก์ชั่นประเภทต่างๆ  ฟังก์ชั่นมาตรฐาน 9. เข้าใจการประกาศตัวแปร - การเขียนโปรแกรม และค่าคงที่ การตั้งชื่อ ตัว คอมพิวเตอร์นั้นจะต้องมีการ ดำาเนินการ, do-while ประมวลผลกับข้อมูล โดยข้อมูลจะ ถูกเก็บอยู่ในหน่วยความจำาของ คอมพิวเตอร์ในรูปแบบของตัวแปร ได้แก่ ตัวแปรทั่วไปและตัวแปร เฉพาะที่ การประกาศตัวแปรต่างๆ จะใช้หน่วยความจำาไม่เท่ากัน และ มีช่วงของการเก็บข้อมูลไม่เท่ากัน ในการประมวลผลจะต้องมีการกระ ทำากับตัวแปรต่างๆ ตัวที่นำามากระ ทำาเรียกว่าตัวดำาเนินการซึ่งมีทั้ง การดำาเนินการทางคณิตศาสตร์และ ทางลอจิก 10. นักเรียนสามารถใช้คำาสั่ง - การเลือกทำาตามเงื่อนไข เลือกเลือกทำาตามเงื่อนไขต่าง ๆ  คำาสั่งเลือกทำาแบบทาง ได้อย่างมีจิตสำานึกและความรับ เดียว ผิดชอบ  คำาสั่งเลือกทำาอย่างใด อย่างหนึ่ง  การเลือกทำาแบบ Switch- case  การทำาซำ้าด้วยคำาสั่ง For  การเขียนโปรแกรมทำาซำ้า ด้วยคำาสั่ง For  การทำาซำ้าด้วยคำาสั่ง Do While  การเขียนโปรแกรมทำาซำ้า ด้วยคำาสั่ง Do While
  • 12. คำา อธิบ ายรายวิช าเพิ่ม เติม ง ๓๐๒๒๙ การโปรแกรมและการประยุกต์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาหลักการและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เครื่องมือการออกแบบ โปรแกรม ความเป็นมาของภาษาคอมพิวเตอร์ โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะเด่นและลักษณะด้อยของภาษา คอมพิวเตอร์ ประเภทข้อมูล องค์ประกอบของคำาสั่ง การคำานวณการ เปรียบเทียบ ขันตอนในการทำางานของโอเปอเรชั่น คำานวณ คำาสั่ง ้ ต่าง ๆ ในภาษาคอมพิวเตอร์ ฟังก์ชันเบื้องต้น การเขียนโปรแกรมงาน ต่างๆโดยใช้คำาสั่งและฟังก์ชันเบื้องต้นในภาษาใดภาษาหนึ่งกับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ วางแผน สามารถแก้ปัญหา ออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรมด้วยคำาสั่งภาษาคอมพิวเตอร์
  • 13. เพื่อให้สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีทักษะชีวิตใน การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา สามารถแก้ปัญหา ปรับปรุงประเมินผลเกี่ยว กับงาน จนสามารถนำาความรู้ทางเทคโนโลยีการออกแบบโปรแกรมไป ใช้พัฒนาตนเอง และสังคม ในชีวิตประจำาวันได้ เพื่อให้เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เห็นคุณค่าและมีเจ ตนคติที่ดีตองานที่ทำา ตลอดจน ่ มีคุณธรรม จริยธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซือสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่น ในการทำางาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี ผลการเรีย นรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธิบายหลักการทำางาน บทบาท ประโยชน์ของ โปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นได้ ๒. นักเรียนสามารถใช้คำาสั่งพื้นฐานของโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้นได้ ๓. นักเรียนสามารถเขียนผังงาน(Flowchart) และอธิบายประเภทของ ผังงาน (Flowchart) ได้ ๔. นักเรียนสามารถอธิบายสัญลักษณ์ที่ใช้ในผังงาน(Flowchart) รูป แบบการจัดภาพของผังงาน(Flowchart) ได้ ๕. นักเรียนสามารถอธิบายโครงสร้างโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น และ ใช้โครงสร้างข้อมูลกับภาษาซีได้ ๖. นักเรีนสามารถอธิบายประเภทของข้อมูลและการเก็บข้อมูลของ ตัวแปรได้ ๗. นักเรีนสามารถรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้นได้ ๘. นักเรียนสามารถใช้งานฟังก์ชันต่าง ๆ ได้ ๙. เข้าใจการประกาศตัวแปรและค่าคงที่ การตั้งชื่อ ตัวดำาเนินการ, do-while ๑๐. นักเรียนสามารถใช้คำาสั่งเลือกเลือกทำาตามเงื่อนไขต่าง ๆ ได้ อย่างมีจิตสำานึกและความรับผิดชอบ รวมทั้ง หมด 10 ผลการเรียนรู้ โครงสร้า งรายวิช า
  • 14. ง ๓๐๒๒๙ การโปรแกรมและการประยุกต์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต นำ้า ลำา เวลา หนัก ชื่อ หน่ว ย ผลการเรีย น ดับ สาระการเรีย นรู้ (ชั่ว โม ก การเรีย นรู้ รู้ ที่ ง) คะแ นน ๑ ปฐมนิเทศ ทำาความรู้จักและ ๒ - แนะนำาถึง เนื้อหา การเก็บ คะแนน การวัดและประเมินผล ๒ แนะนำาภาษา 11. นักเ - ประวัติความเป็นมา ๒ ๕ ซี รียนสามารถ ของภาษาซี อธิบายหลัก - ขั้นตอนการพัฒนา การทำางาน โปรแกรมภาษาซี บทบาท - หลักการทำางาน ประโยชน์ของ บทบาท ประโยชน์ โปรแกรม ของโปรแกรมภาษา ภาษาซีเบื้อง ซี ต้นได้ ๓ คำาสั่งพื้นฐาน 12. นักเ - ความหมายภาษาซี ๒ ๕ โปรแกรม รียนสามารถ - ข้อมูลคำาสั่งพื้นฐาน ภาษาซี ใช้คำาสั่งพื้น และตัวดำาเนิน ฐานของ การในภาษาซี โปรแกรม - ฝึกใช้คำาสั่งพื้นฐาน ภาษาซีเบื้อง ภาษาซี ต้นได้
  • 15. 13.นักเรียน ๔ การเขียนผัง สามารถเขียน - การเขียนผังงาน ๒ ๖ งาน (Flow ผัง (Flow Chat) ของ Chat) งาน(Flowcha โปรแกรม เป็นการจัด rt) และอธิบาย เรียงลำาดับการทำางาน ประเภทของผัง ของโปรแกรม เพื่อ งาน ทำาให้สามารถตรวจ (Flowchart) สอบความครบถ้วน ได้ สมบูรณ์ของลำาดับการ ทำางานก่อนเริ่มเขียน โปรแกรมจริง - ประเภทของผังงาน แบ่งได้ 2 ประเภท คือ ผังงานระบบ และผัง งานโปรแกรม ๕ สัญลักษณ์ที่ 14. นักเรียน - สัญลักษณ์ Flow ๖ ๑๐ ใช้ในผัง สามารถอธิบาย Chat กระบวนการทำา งาน(Flow สัญลักษณ์ที่ใช้ Flow Chat การ ในผัง Chat) ประยุกต์ใช้ Flow งาน(Flowcha rt) รูปแบบการ Chat กับการเขียนผัง จัดภาพของผัง งานตามโครงสร้าง งาน(Flowcha แบบเป็นลำาดับ rt) ได้ โครงสร้างแบบมีการ เลือก และโครงสร้าง แบบทำาซำ้า ๖ โครงสร้าง 15.นักเรียน - การเขียน ๔ ๘ โปรแกรม สามารถอธิบาย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ภาษาซี โครงสร้าง นั้นผู้เขียนโปรแกรม โปรแกรม จะต้องทราบหลักการ ภาษาซีเบื้อง และรูปแบบของการ ต้น และใช้ เขียนโปรแกรมภาษา โครงสร้าง นั้นๆ ภาษาซีก็เช่น ข้อมูลกับภาษา เดียวกันรูปแบบของ ซีได้ ภาษานี้ประกอบด้วย ส่วนต่าง ๆ 5 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่เป็นปรี โปรเซวเซอร์ไดเร็ก
  • 16. ทีฟ ส่วนกำาหนดค่า ส่วนฟังก์ชั่นหลัก (main) การสร้างฟัง ก์ชั่น และส่วนอธิบาย โปรแกรม - โครงสร้างของ โปรแกรมภาษาซี ดังนี้ โครงสร้างของ โปรแกรมภาษาซีและ คอมเมนต์ในภาษาซี ๗ ประเภทของ 16. นัก - ประเภทของข้อมูล ๔ ๘ ข้อมูล เรีนสามารถ - การเก็ บ ข้ อ มู ล ของ การเก็บข้อมูล อธิบายประเภท ตัวแปร ของข้อมูลและ ของ การเก็บข้อมูล ของตัวแปรได้ ตัวแปร การ 17. นักเรีน ก า ร รั บ แ ล ะ พิ ม พ์ - รับและการ สามารถรับและ ข้ อ มู ล เ บื้ อ ง ต้ น พิมพ์ข้อมูล พิมพ์ข้อมูล โ ป ร แ ก ร ม อิ น เ ต อ ร์ เบื้องต้นได้ แรคทีฟ เบื้องต้น - คำา สั่ ง พื้ น ฐานการ รับและแสดงผลข้อมูล - ก า ร ตั้ ง ชื่ อ ตั ว ดำาเนินการ - การเปลี่ยนประเภท ของข้อมูล ๘ การใช้งานฟัง 18. นักเรียน - การเขียน ๖ ๑๐ ก์ชั่น สามารถใช้งาน โปรแกรม ฟังก์ชันต่าง ๆ คอมพิวเตอร์นั้น ได้ สามารถสร้างคำาใหม่ ขึ้นมาได้ และสามารถ เรียกใช้ได้เมื่อ ต้องการโดยคำาใหม่ที่ สร้างขึ้นจะประกอบ ด้วยฟังก์ชั่นต่าง ๆ รวมกันอยู่ ถ้าหากคำา ใหม่ที่สร้างขึ้นนี้ไม่มี
  • 17. การคืนค่าออกมาการ ทำางานจะทำางานเป็น โปรแกรมย่อย ถ้ามี การคืนค่ากลับออกมา จะทำางานเป็นฟังก์ชั่น ถ้าหากผู้เขียน โปรแกรมทำาความ เข้าใจวิธีการสร้างคำา ใหม่หรือการสร้างฟัง ก์ชั่นนี้จะทำาให้ โปรแกรมทำางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ยิ่งขึ้น - การสร้างฟัง ก์ชั่นในภาษาซี  การสร้างฟัง ก์ชั่น  โปรโตไทป์  ตัวแปรทั่วไป และตัวแปรเฉพาะที่  ฟังก์ชั่น ประเภทต่างๆ  ฟังก์ชั่นมาตร ฐาน ๙ ตัวแปรและค่า 19. เข้าใจการ - การเขียน ๔ ๘ คงที่ ประกาศตัวแปร โปรแกรม และค่าคงที่ คอมพิวเตอร์นั้นจะ การตั้งชื่อ ตัว ต้องมีการประมวลผล ดำาเนินการ, กับข้อมูล โดยข้อมูล do-while จะถูกเก็บอยู่ในหน่วย ความจำาของ คอมพิวเตอร์ในรูป แบบของตัวแปร ได้แก่ ตัวแปรทั่วไป และตัวแปรเฉพาะที่ การประกาศตัวแปร ต่างๆ จะใช้หน่วย ความจำาไม่เท่ากัน
  • 18. และมีช่วงของการเก็บ ข้อมูลไม่เท่ากัน ใน การประมวลผลจะต้อง มีการกระทำากับ ตัวแปรต่างๆ ตัวที่นำา มากระทำาเรียกว่าตัว ดำาเนินการซึ่งมีทั้ง การดำาเนินการทาง คณิตศาสตร์และทาง ลอจิก ๑๐ การทำางานด้วย 20. นัก - การเลือกทำาตาม ๖ ๑๐ เงื่อนไข เรียนสามารถ เงื่อนไข ใช้คำาสั่งเลือก  คำาสั่งเลือก เลือกทำาตาม ทำาแบบทางเดียว เงื่อนไขต่าง ๆ  คำาสั่งเลือก ได้อย่างมี ทำาอย่างใดอย่างหนึ่ง จิตสำานึกและ  การเลือกทำา ความรับผิด แบบ Switch-case ชอบ  การทำาซำ้า ด้วยคำาสั่ง For  การเขียน โปรแกรมทำาซำ้าด้วย คำาสั่ง For  การทำาซำ้า ด้วยคำาสั่ง Do While  การเขียน โปรแกรมทำาซำ้าด้วย คำาสั่ง Do While คุณ ลัก ษณะที่พ ึง ๑๐ ประสงค์ รวมระหว่า งเรีย น ๓๘ ๘๐ ปลายภาค ๒ ๒๐ รวม ๔๐ ๑๐๐
  • 19. ผลการเรีย นรู้ และสาระการเรีย รู้ (รายวิช าเพิ่ม เติม ) วิชา ง ๓๐๒๓๒ การเขียนเว็บด้วยภาษา HTML กลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ความ 1. ความเข้าใจเบื้องต้นเกียวกับ เข้าใจเบื้องต้นเกียวกับ อินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต 1.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ อินเทอร์เน็ต 1.2 ศัพท์ทางอินเทอร์เน็ต 1.3 เครื่องมือที่ใช้ในการสร้าง เว็บ 1.4 เครื่องมือในการอ่านเว็บเพจ 1.5 การออกแบบเว็บเพจ 2. นักเรียนมีความรู้ความ 2. ภาษา HTML เข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างภาษา 2.1 ส่วนประกอบของไฟล์ HTML และสามารถสร้าง HTML เว็บเพจ ด้วยภาษา HTML ได้ 2.2 โครงสร้างหลักของภาษา HTML (Hypert Text Markup Lanuage) 3. นักเรียนมีความรู้ความ 3. การจัดตกแต่งข้อความ เข้าใจเกี่ยวกับการจัดและ 3.1 ตัวหนา ,เอียง และขีดเส้น ตกแต่งข้อความ และสามารถ ใต้ นำาไปประยุกต์ได้ 3.2 การใส่สีอักษร 3.3 การกำาหนดขนาดตัวอักษร
  • 20. 3.4 การกำาหนดรูปแบบอักษร 3.5 ตัวอักษรกับหัวข้อรายการ 3.6 เส้นแบ่งคั่นหน้า 3.7 การตัดคำาขึ้นบรรทัดใหม่ 3.8 กำาหนดการเว้นวรรค 3.9 การย่อหน้าให้กับข้อความ 3.10 การวางตำาแหน่งข้อความ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ 4. นักเรียนมีความรู้ความ 4. คำาสั่งหลักที่ใช้ในการสร้าง เข้าใจเกี่ยวกับการสร้างตาราง ตารางของภาษา HTML และสามารถนำาไปประยุกต์ได้ <table>...........</table> <caption>............</caption> <tr>............</tr> <th>...........</th> <td>...........</td> 5. นักเรียนมีความรู้ความ 5. การจัดการกับรูปภาพ เข้าใจเกี่ยวกับการจัดการ 5.1 การใช้คำาสั่ง <img src> รูปภาพ และสามารถนำาไป 5.2 การใช้คำาสั่ง <body ประยุกต์ได้ background> 6. นักเรียนมีความรู้ความ 6. การเชื่อมโยงหน้าเว็บเพจ เข้าใจเกี่ยวกับการเชื่อมโยง เว็บไซต์ อีเมล หน้าเว็บเพจ และสามารถนำาไป 6.1 คำาสั่งในการสร้างจุดเชื่อม ประยุกต์ได้ โยงโดยใช้ข้อความ 6.2 การกำาหนดสีให้กับจุดเชื่อม โยง 6.3 การสร้างจุดเชื่อมโยงโดย รูปภาพ 7. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ 7. การจัดสร้างเฟรม การสร้างเฟรม และสามารถนำา 7.1 คำาสั่งหลักที่ใช้ในการจัด ไปประยุกต์ได้
  • 21. สร้างเฟรม 7.2 คำาสั่งต่างๆ ที่ใช้ในการปรับ แต่งเฟรม 8. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ 8. การสร้างแบบฟอร์มรูปแบบต่าง การสร้างแบบฟอร์ม และ ๆ สามารถนำาไปประยุกต์ได้ 9. นักเรียนสามารถสร้างเว็บ 9. ออกแบบเว็บไซต์ด้วยภาษา เพ็จด้วยภาษา HTML อย่าง HTML สร้างสรรค์ มีคุณธรรม และ จริยธรรม คำา อธิบ ายรายวิช าเพิ่ม เติม ง ๓๐๒๓๒ การเขียนเว็บด้วยภาษา HTML กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาการใช้โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ในการพัฒนาเว็บเพจ หลักการสร้างงาน การนำาเสนอชิ้นงาน การวางแผนและออกแบบ ได้อย่างสร้างสรรค์ นำาข้อมูลจากแหล่งความรู้ ในโรงเรียน และท้องถิ่นมาจัดทำา ออกแบบเว็บเพจและนำาเสนอผลงาน จัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ การบำารุงรักษาโปรแกรมอย่างมี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมีจริยธรรมและคุณธรรมเกี่ยวกับการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ ปฏิบัติการสร้างงานเว็บเพจด้วยโปรแกรมสำาเร็จรูปโดย ประยุกต์ใช้คำาสั่งพื้นฐาน HTML ในด้านการวางแผน ออกแบบและพัฒนาเว็บเพจ การแก้ปัญหา ใน การนำาเสนอผลงานด้วยคอมพิวเตอร์ สร้างเว็บเพจด้วยโปรแกรมภาษา HTML และโปรแกรมสำาเร็จรูป จัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ ประยุกต์ ใช้งานด้านต่าง ๆ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ ในการใช้โปรแกรมสร้างเว็บเพจ มี ทักษะเบื้องต้นในการใช้
  • 22. โปรแกรมภาษา HTML และโปรแกรมสำาเร็จรูปสร้างเว็บเพจ เพื่อสร้าง งานนำาเสนอ บูรณาการทักษะ ความรู้ในงานอาชีพ วัฒนธรรม ภูมิปัญญาในท้องถิ่น และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำาวันได้อย่างสร้างสรรค์ มีคุณธรรมและจริยธรรม เพื่อให้เกิดทักษะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำาเสนองาน และใช้ คอมพิวเตอร์ในการสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมีจิตสำานึกและ วัฒนธรรม มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีทักษะการคิดเพื่อการ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีความ มุ่งมั่นในการทำางานและรักความเป็นไทย และดำาเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลการเรีย นรู้ 1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกียวกับอินเทอร์เน็ต 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโครงสร้างภาษา HTML และสามารถสร้างเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML ได้ 3. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดและตกแต่ง ข้อความ และสามารถนำาไปประยุกต์ได้ 4. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างตาราง และ สามารถนำาไปประยุกต์ได้ 5. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการรูปภาพ และ สามารถนำาไปประยุกต์ได้ 6. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเชื่อมโยงหน้า เว็บเพจ และสามารถนำาไปประยุกต์ได้ 7. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเฟรม และสามารถนำา ไปประยุกต์ได้ 8. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างแบบฟอร์ม และ สามารถนำาไปประยุกต์ได้ 9. นักเรียนสามารถสร้างเว็บเพ็จด้วยภาษา HTML อย่าง สร้างสรรค์ มีคุณธรรม และจริยธรรม รวมทั้ง หมด 9 ผลการเรียนรู้
  • 23. โครงสร้า งรายวิช า ง ๓๐๒๓๒ การเขียนเว็บด้วยภาษา HTML กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๑ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต
  • 24. นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น 1 เบื้องต้นเกีย 1. นักเรียนมี 1. ความเข้าใจเบื้อง 2 5 วกับ ความรู้ความ ต้นเกียวกับ อินเทอร์เน็ต เข้าใจเบื้องต้น อินเทอร์เน็ต เกียวกับ 1.1 ความรู้เบื้อง อินเทอร์เน็ต ต้นเกี่ยวกับ อินเทอร์เน็ต 1.2 ศัพท์ทาง อินเทอร์เน็ต 1.3 เครื่องมือที่ใช้ ในการสร้างเว็บ 1.4 เครื่องมือใน การอ่านเว็บเพจ 1.5 การออกแบบ เว็บเพจ 2 โครงสร้าง 2. นักเรียนมี 2. ภาษา HTML 4 5 ภาษา HTML ความรู้ความ 2.1 ส่วนประกอบ เข้าใจเกี่ยวกับ ของไฟล์ HTML โครงสร้าง ภาษา HTML และสามารถ 2.2 โครงสร้าง สร้างเว็บเพจ หลักของภาษา HTML ด้วยภาษา HTML ได้ (Hypert Text Markup Lanuage)
  • 25. นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น 3 การจัดและ 3. นักเรียนมี 3. การจัดตกแต่ง 4 10 ตกแต่ง ความรู้ความ ข้อความ ข้อความ เข้าใจเกี่ยวกับ 3.1 ตัวหนา ,เอียง การจัดและ และขีดเส้นใต้ ตกแต่ง ข้อความ และ 3.2 การใส่สีอักษร สามารถนำาไป ประยุกต์ได้ 3.3 การกำาหนด ขนาดตัวอักษร 3.4 การกำาหนดรูป แบบอักษร 3.5 ตัวอักษรกับ หัวข้อรายการ 3.6 เส้นแบ่งคั่น หน้า 3.7 การตัดคำาขึ้น บรรทัดใหม่ 3.8 กำาหนดการ เว้นวรรค 3.9 การย่อหน้าให้ กับข้อความ 3.10 การวาง ตำาแหน่งข้อความ
  • 26. นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น 4 การสร้าง 4. นักเรียนมี 4. คำาสั่งหลักที่ใช้ใน 4 10 ตาราง ความรู้ความ การสร้างตารางของ เข้าใจเกี่ยวกับ ภาษา HTML การสร้าง ตาราง และ <table>...........</t สามารถนำาไป able> ประยุกต์ได้ <caption>............ </caption> <tr>............</tr> <th>...........</th> <td>...........</td> 5 การเชื่อมโยง 5. นักเรียนมี 5. การเชื่อมโยงหน้า 4 10 หน้าเว็บ ความรู้ความ เว็บเพจ เว็บไซต์ เข้าใจเกี่ยวกับ อีเมล การเชื่อมโยง 5.1 คำาสั่งในการ หน้าเว็บเพจ และสามารถนำา สร้างจุดเชื่อมโยงโดย ไปประยุกต์ได้ ใช้ข้อความ 5.2 การกำาหนดสี ให้กับจุดเชื่อมโยง 5.3 การสร้างจุด เชื่อมโยงโดยรูปภาพ 6 การสร้าง 6. มีความรู้ 6. การจัดสร้างเฟรม 6 15 เฟรม ความเข้าใจ 6.1 คำาสั่งหลักที่ เกี่ยวกับการ ใช้ในการจัดสร้าง สร้างเฟรม และ เฟรม สามารถนำาไป ประยุกต์ได้ 6.2 คำาสั่งต่างๆ ที่ ใช้ในการปรับแต่ง
  • 27. นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น เฟรม 7 การสร้างแบบ 7. มีความรู้ 7. การสร้างแบบ 4 10 ฟอร์ม ความเข้าใจ ฟอร์มรูปแบบต่าง ๆ เกี่ยวกับการ สร้างแบบ ฟอร์ม และ สามารถนำาไป ประยุกต์ได้ 8 สร้างเว็บเพ็จ 8. นักเรียน 9. ออกแบบเว็บไซต์ 12 15 ด้วยภาษา สามารถสร้าง ด้วยภาษา HTML HTML อย่าง เว็บเพ็จด้วย ภาษา HTML สร้างสรรค์ อย่าง สร้างสรรค์ มี คุณธรรม และ จริยธรรม สอบระหว่า งภาคและใบ ๘๐ งาน คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ ๑๐ สอบปลายภาค ๒๐ รวมทั้ง สิ้น ตลอดภาคเรีย น ๒๐ ๑๐๐
  • 28. ผลการเรีย นรู้ และสาระการเรีย รู้ (รายวิช าเพิ่ม เติม ) วิชา ง ๓๐๒๓๓ โครงงานคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียน รู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ 1. นักเรียนสามารถบอก 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ ความหมายและคุณค่าของการ 1.1 ความหมายและคุณค่าของ ทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ และ โครงงานคอมพิวเตอร์ จำาแนกประเภทของโครงงาน 1.2 ประเภทของโครงงาน คอมพิวเตอร์ได้ คอมพิวเตอร์ 1.3 ตัวอย่างชื่อโครงงาน คอมพิวเตอร์ 2. นักเรียนมีความรู้ 2. การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ ความเข้าใจในขั้นตอนการทำา 2.1 วิธีดำาเนินการทำาโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ 2.2 ตัวอย่างหัวข้อโครงงาน คอมพิวเตอร์ 3. นักเรียนสามารถจัดทำาและ 3. การจัดทำาและนำาเสนอข้อเสนอ นำาเสนอข้อเสนอโครงงาน โครงงาน คอมพิวเตอร์ได้ 3.1 เค้าโครงข้อเสนอโครงงาน 3.2 ตัวอย่างการเขียน ข้อเสนอ โครงงาน
  • 29. 4. นักเรียนสามารถอธิบายวิธี 4 แนวทางการทำาโครงงาน ทำาโครงงานอย่างเป็นระบบและ 4.1 การวางแผนการดำาเนินโครง วิธีทำาโครงงานให้ประสบความ งานให้สำาเร็จ สำาเร็จอย่างมีคุณภาพได้ 4.2 แนวทางการจัดระบบการทำา โครงงาน 5. นักเรียนสามารถทำารายงาน 5. รูปแบบและวิธีการเขียนรายงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ฉบับ โครงงาน สมบูรณ์ได้ 5.1 รูปแบบรายงานโครงงาน คอมพิวเตอร์ 5.2 การเขียนบทคัดย่อโครงงาน 6. นักเรียนสามารถนำาเสนอ 6. การนำาเสนอ และประเมินผล โครงงานและประเมินผลโครง โครงงาน งานคอมพิวเตอร์ได้ 6.1 การนำาเสนอโครงงาน 6.2 การประเมินผลโครงงาน คำา อธิบ ายรายวิช าเพิ่ม เติม ง ๓๐๒๓๓ โครงงานคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรีย นที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต ศึกษาพัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ การ ประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อสร้างงานในรูปแบบต่าง ๆ หลักการทำา โครงงานคอมพิวเตอร์ ลักษณะของการทำาโครงงาน จากปัญหาหรือ เรื่องที่สนใจจะศึกษา วิเคราะห์รูปแบบกระบวนการดำาเนินงานโครง งาน แนวทางการประยุกต์คอมพิวเตอร์กับโครงงาน ปฏิบัติการสร้างโครงงานโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ โดยใช้ความรู้ ความคิด จินตนาการ ทักษะ เหตุผล และกระบวนการ ต่างๆ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนประสบการณ์ด้าน คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ ในการแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีอยู่ มาเชื่อมโยง
  • 30. สัมพันธ์กันจนเกิดความรู้ใหม่ที่มีความหมายสอดคล้อง และเชื่อมโยง กันได้ โดยมีการบูรณาการความรู้ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมด้วย เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานทาง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และเกิดเจตคติที่ดีทำาให้สามารถใช้ คอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ได้ และสามารถนำาเอา คอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้อย่างมีจิตสำานึก และมีความรับผิดชอบ เพื่อให้เกิดทักษะใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนำาเสนองาน และใช้ คอมพิวเตอร์ในการสร้างชิ้นงานหรือโครงงานอย่างมีจิตสำานึกและ วัฒนธรรม มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีทักษะการคิดเพื่อการ แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีความมุ่ง มั่นในการทำางานและรักความเป็นไทย และดำาเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลการเรีย นรู้ 1. นักเรียนสามารถบอกความหมายและคุณค่าของการทำาโครง งานคอมพิวเตอร์ และจำาแนกประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ได้ 2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในขั้นตอนการทำาโครงงาน คอมพิวเตอร์ 3. นักเรียนสามารถจัดทำาและนำาเสนอข้อเสนอโครงงาน คอมพิวเตอร์ได้ 4. นักเรียนสามารถอธิบายวิธีทำาโครงงานอย่างเป็นระบบและ วิธีทำาโครงงานให้ประสบความสำาเร็จอย่างมีคุณภาพได้ 5. นักเรียนสามารถทำารายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ฉบับ สมบูรณ์ได้ 6. นักเรียนสามารถนำาเสนอโครงงานและประเมินผลโครงงาน คอมพิวเตอร์ได้ รวมทั้ง หมด 6 ผลการเรียนรู้
  • 31. โครงสร้า งรายวิช า ง ๓๐๒๓๓ โครงงานคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ภาคเรีย นที่ ๒ เวลา ๔๐ ชั่วโมง/ภาคเรียน/๑.๐ หน่วยกิต
  • 32. นำ้า ลำา เวลา( หนัก ชื่อ หน่ว ย ดับ ผลการเรีย นรู้ สาระการเรีย นรู้ ชั่ว โมง ก การเรีย นรู้ ที่ ) คะแน น 1 รู้จักโครงงาน นักเรียน 1. โครงงาน คอมพิวเตอร สามารถบอก คอมพิวเตอร์ ์์ ความหมายและ 1.1 ความหมาย คุณค่าของการ และคุณค่าของโครง ทำาโครงงาน งานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ 1.2 ประเภทของ และจำาแนก โครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทของ 1.3 ตัวอย่างชื่อ โครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ได้ 2 การพัฒนา นักเรียนมี 2. การพัฒนาโครง โครงงาน ความรู้ความ งาน คอมพิวเตอร์ เข้าใจในขั้น คอมพิวเตอร์ ตอนการทำา 2.1 วิธีดำาเนินการ โครงงาน ทำาโครงงาน คอมพิวเตอร์ 2.2 ตัวอย่าง หัวข้อโครงงาน คอมพิวเตอร์ 3 การจัดทำาและ นักเรียน 3. การจัดทำาและนำา นำาเสนอข้อ สามารถจัดทำา เสนอข้อเสนอ เสนอ และนำาเสนอข้อ โครงงาน เสนอโครงงาน 3.1 เค้าโครงข้อเสนอ โครงงาน คอมพิวเตอร์ได้ โครงงาน 3.2 ตัวอย่างการ เขียน ข้อเสนอโครง งาน