SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
ประมวลกฎหมายอาญา
ภาค 2 ความผิด
ลักษณะ 7 ความผิดเกียวกับการปลอม
่
และการแปลง

หมวด 3 ความผิดเกียวกับเอกสาร
่
ข้อควรจา
และ
ข้อแตกต่างระหว่าง
“เอกสารปลอม”และ“เอกสารเท็จ”
ข้อควรจา
“เอกสาร” คือ กระดาษหรือวัสดุอ่นใดซึงได้ทาให้ปรากฏความหมาย
ื
่
ด้ว ยตัว อัก ษร ตัว เลข ผัง หรือ แผนแบบอย่ า งอื่น จะเป็ น โดยวิธี พิ ม พ์
ถ่ายภาพ หรือวิธอ่นอันเป็ นหลักฐานแห่งความหมายนัน ม.1 (7)
ีื
้
“กระดาษหรือวัตถุอ่นใด” คือ สิงที่ใช้สาหรับทาให้ค วามหมายของ
ื
่
ถ้อยคาปรากฏขึนเอกสาร มิใช่ตวถ้อยคาทีแสดงความหมาย แต่ เป็ นวัตถุท่ี
้
ั
่
ทาให้ปรากฏความหมายขึน
้
ข้อควรจา (ต่อ)
“ทาให้ปรากฏ” คือ ต้องมีการกระทาของบุคคลให้ปรากฏความหมาย
ขึนบนกระดาษหรือวัตถุอ่น จะปรากฏชัวคราวหรือถาวรก็ได้ ถ้ าปรากฏขึน
้
ื
่
้
เองไม่เป็ นเอกสาร บุคคลผูทาเอกสารไม่จาเป็ นต้องลงลายมือชื่อไว้
้
“ความหมาย” คือ สิงที่ทาให้ปรากฏขึ้นนันต้องแสดงความคิดของ
่
้
ผูทาเอกสาร จะเป็ นทีเข้าใจได้หรือไม่กตาม ต้องเป็ นสือแสดงข้อความของ
้
่
็
่
บุคคล ข้อเท็จจริง หรือเรืองสมมุติ ต้องแสดงเหตุการณ์และแสดงความคิด
่
ของบุคคลผูเป็ นเจ้าของเอกสารนัน
้
้
ข้อควรจา (ต่อ)
“ด้วยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอย่างอื่น ” คือ อ่านหรือเห็น
ั
ความหมายได้โ ดยการสัม ผัส ทางตา (ป จ จุ บ ัน อัก ษรส าหรับ คนตาบอด
สัมผัสด้วยมือ ก็รวมถึงด้วย)
“โดยวิธพมพ์ ด้วยภาพหรือวิธอ่น ” คือ จารึกเครื่องหมายให้ปรากฏ
ี ิ
ีื
บนวัตถุดวยวิธใดๆ อาจเขียน ตีตรา แกะสลัก ฯลฯ
้
ี
“เป็ นหลักฐานแห่งความหมาย” คือ ต้องปรากฏคงทนอยู่ชวขณะ
ั่
หนึ่ง แม้ไม่นาน
ข้อแตกต่างระหว่าง “เอกสารปลอม” และ “เอกสารเท็จ”
“เอกสารปลอม” คือ เอกสารทีทาขึนโดยผูถูกกล่าวอ้างมิได้ทา หรือ
่ ้
้
มิได้ให้อานาจผูอ่นทาเอกสารนัน เท่ากับทาขึนโดยให้ เข้าใจว่าเป็ นเอกสาร
้ ื
้
้
ทีคนอื่นทา หรือหลอกในส่วนทีเกียวกับตัวผูทาเอกสาร โดยไม่ตองคานึงว่า
่
่ ่
้
้
ข้อความทีเขียนลงในเอกสารนันจะจริงหรือเท็จ
่
้
ตัวอย่าง
นายแดงกู้เงินนายดา 10,000 บาท แต่ไม่ได้ทาสัญญาไว้ นายดา
เกรงว่าจะฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ นายดาจึงทาสัญญากูขนมาฉบับหนึ่ง มี
้ ้ึ
ข้อความว่า นายแดงกู้เงินนายดาไป 10,000 บาทและลงลายมือชื่อนาย
แดงเช่นนี้ เป็ นเอกสารปลอม แม้จะตรงกับความเป็ นจริงก็ตาม (ปลอมแต่
ไม่เท็จ)
ข้อแตกต่างระหว่าง “เอกสารปลอม” และ “เอกสารเท็จ” (ต่อ)
“เอกสารเท็จ” หรือ “เอกสารซึงมีขอความอันเป็ นเท็จ” เป็ นเอกสารที่
่ ้
ทาขึนมีขอความเป็ นเท็จหรือไม่ตรงต่อความเป็ นจริง ซึงผูทาเอกสารเท็จจะ
้ ้
่ ้
กระทาโดยมีอานาจหน้าทีหรือไม่กได้ แต่สาระสาคัญคือ ไม่ มการกล่าวอ้าง
่
็
ี
ว่าผูอ่นทาเอกสารนัน หรือเป็ นเอกสารของผูทาเอกสารเอง ไม่ ใช่เอกสาร
้ ื
้
้
ของผูอ่น
้ื
ในเรื่อ งเอกสารเท็จนัน ไม่มีบทบัญญัติทวไปกาหนดความผิดไว้
้
ั่
ดังเช่นกรณีปลอมเอกสาร แต่เอกสารเท็จนันมีบทบัญญัตกาหนดความผิด
้
ิ
ไว้โดยเฉพาะในบางมาตรา เช่น มาตรา 162 (เจ้าพนักงานทาเอกสารเท็จ)
มาตรา 267 (แจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความเท็จลงในเอกสาร) และมาตรา
269 (ผูมวชาชีพทาคารับรองเป็ นเอกสารเท็จ)
้ ีิ
ข้อแตกต่างระหว่าง “เอกสารปลอม” และ “เอกสารเท็จ” (ต่อ)
ข้อสังเกต
หากเป็ นเอกสารเท็จต้องเป็ นเอกสารทีอยู่ในอานาจของตนที่จะทา
่
เอกสารนันได้ แล้วทาขึนไม่ตรงต่อความจริง
้
้
แต่ถาเป็ นเอกสารปลอมต้องเป็ นเอกสารทีผูกระทาไม่มอานาจทีจะ
้
่ ้
ี
่
ทาได้ แต่ทาขึนในนามผูอ่น
้
้ื
ประมวลกฎหมาย
มาตรา 264
มาตรา 264 ผูใดทาเอกสารปลอมขึนทังฉบับหรือแต่ส่วนหนึ่งส่วน
้
้ ้
ใด เติมหรือตัดทอนข้อความหรือแก้ไขด้วยประการใดๆ ในเอกสารทีแท้จริง
่
หรือประทับ ตราปลอม หรือลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร โดยประการที่
น่ าจะเกิดความเสียหายแก่ผูอ่นหรือประชาชน ถ้าได้กระทาเพื่ อให้ผู้หนึ่ง
้ ื
ผูใดหลงเชือว่าเป็ นเอกสารทีแท้จริง ผูนนกระทาความผิดฐานปลอมเอกสาร
้
่
่
้ ั้
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทังจาทัง
้ ้
ปรับ
ผูใดกรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษหรือวัตถุอ่นใด ซึงมีลายมือชื่อ
้
ื
่
่
ของผูอ่นโดยไม่ได้รบความยินยอม หรือโดยฝาฝื นคาสังของผูอ่นนัน ถ้าได้
้ ื
ั
่
้ ื ้
กระทาเพือนาเอาเอกสารนันไปใช้ในกิจการทีอาจเกิดเสียหายแก่ผหนึ่งผูใด
่
้
่
ู้
้
หรือประชาชน ให้ถอว่าผูนนปลอมเอกสาร ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
ื
้ ั้
มาตรา 264 (ข้อสังเกต)
1. “ทาเอกสารปลอมขึ้นทังฉบับหรือแต่ส่วนหนึ่งส่วนใด” .....ไม่
้
จาเป็ นต้องมีเอกสารทีแท้จริงอยูก่อน.....
่
่
- ทาสัญญาเงินกู้ข้นมาเอง ทังที่ไม่เคยมีการกู้เ งินกันมาก่อน
ึ
้
เป็ นการปลอมทังฉบับ (ฎีกาที่ 769/2540)
้
- ถ่ายสาเนาเอกสารแผ่นป้ายแสดงการเสียภาษีรถยนต์ประจาปี
ให้เหมือนฉบับทีแท้จริง เป็ นปลอมทังฉบับ (ฎีกาที่ 2463/2548)
่
้
- มีการทาเอกสารที่แท้จริงขึ้น แต่ยงไม่เสร็จครบถ้ วน ถ้าผู้ใด
ั
ปลอมข้อความต่อไปจนครบถ้วน หรือแม้จะยังไม่เสร็จครบถ้วนก็ตาม (ถ้า
ส่วนทีทาขึนมีลกษณะเป็ นเอกสารแล้ว) ก็เป็ นการปลอมแต่บางส่วน
่ ้ ั
มาตรา 264 (ข้อสังเกต)
2. “เติม หรือ ตัด ทอนข้อ ความ หรือ แก้ ไ ขด้ว ยประการใดๆ ใน
เอกสารทีแท้จริง”
่
- แก้ไขเอกสารชาระหนี้ของเจ้าหนี้ให้มจานวนมากกว่ าทีตนได้
ี
่
ชาระหนี้ไป เป็ นการแก้ไขด้วยประการใดๆ (ฎีกาที่ 825/2506)
- ลบบันทึกการชาระหนี้ออกไปจากเอกสาร ทาให้เหลือเฉพาะ
หลักฐานการกู้เงิน เป็ น การตัดทอนหรือ แก้ไ ขด้ว ยประการใดๆ (ฎีก าที่
2463/2548)
มาตรา 264 (ข้อสังเกต)
3. “ลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร” .....ลงลายมือชื่อเพื่อให้บุคคล
อื่นเข้าใจว่าเป็ นลายมือชือของผูอ่น.....
่
้ื
- การทีจาเลยปลอมหนังสือมอบอานาจของ หจก. ส. และปลอม
่
ใบเสนอราคารับจ้างเหมาก่อสร้างอาคาร โดยจาเลยลงลายมือชื่อปลอมลง
ลายมือชื่อปลอมของ ว. และลงประทับตรา หจก. ส. ปลอมลงในเอกสาร
หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิตบุคคล ส.
ิ
จาเลยมีความผิดตามมาตรา 264 (ฎีกาที่ 4024/2541)
มาตรา 264 (ข้อสังเกต)
4. “โดยประการทีน่าจะเกิดความเสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน”
่
ู้ ื
- ไม่ใช่การกระทาโดยแท้และไม่ใช่เจตนาพิเศษ จึงไม่เกี่ยวกับ
เจตนา แต่เป็ นพฤติการณ์ทประกอบการกระทาทีน่าจะเกิดความเสียหายได้
่ี
่
แม้จะไม่เกิดความเสียหายขึนจริง (ฎีกาที่ 3873/2551)
้
มาตรา 264 (ข้อสังเกต)
5. “ถ้าได้กระทาเพื่อให้ผหนึ่งผูใดหลงเชื่อว่าเป็ น เอกสารทีแท้จริง”
ู้
้
่
.....ทาเพือให้บุคคลอื่นเชือว่าเป็ นเอกสารทีแท้จริงของผูอ่น.....
่
่
่
้ ื
- เป็ น เจตนาพิเ ศษ เพื่อ ให้ผู้อ่ืน เชื่อ ว่ า เอกสารที่ท า ขึ้น เป็ น
เอกสารทีแท้จริง แม้ยงไม่ได้นาไปใช้กตาม (ฎีกาที่ 769/2540)
่
ั
็
- หากไม่มเจตนาเพื่อให้ผอ่นเชื่อว่าเป็ นเอกสารที่แท้จริง ไม่ผด
ี
ู้ ื
ิ
ปลอมเอกสาร เช่น ท าแผ่น ป้ า ยทะเบีย นเพื่อ ใช้ใ นการโฆษณา (ฎีก าที่
2995/2537)
- ร่วมกันทาเอกสารกู้เท็จเพื่อโกงเจ้าหนี้ ลงลายมือชื่อจริงของ
ตนเอง ไม่ได้ปลอมเอกสารผูใด ไม่ผดปลอมเอกสาร (ฎีกาที่ 654/2480)
้
ิ
มาตรา 264 (ข้อสังเกต)
6. “เมือไม่ได้ปลอมอะไรเกียวกับตัวเอกสารนัน ก็ไม่ผดปลอมเอกสาร”
่
่
้
ิ
- น าคัส ซีท่ีแ ท้จ ริง ออก แล้ว ใส่ ค ัส ซีท่ีแ ท้จ ริง อีก อัน ลงไป ซึ่ง ไม่
ปรากฏว่า ขูดลบ แก้ไข เปลียนแปลงตัวอักษร ตัวเลข คัสซีแต่อย่างใด จึง
่
ไม่ เ ป็ น ควา ม ผิ ด ฐ าน ป ลอ มแป ล งเอ ก สาร ตั ว อั ก ษ ร ตั ว เลขคั ส ซี
(ฎีกาที่ 3997/2548)
- การทาลายเอกสารราชการไปเลยไม่ใช่การปลอมเอกสาร เพราะ
ไม่ม ีเ อกสารเหลือ อยู่ใ ห้ผู้ใ ดหลงเชื่อ ว่าเป็ น เอกสารที่แท้จริ ง ไม่ผ ิดฐาน
ปลอมเอกสารราชการ แต่ผดฐานทาลายเอกสาร (ฎีกาที่ 6266/2545)
ิ
มาตรา 264 (ข้อสังเกต)
7. “กรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษหรือวัตถุอ่นใด ซึงมีลายมือชือ
ื
่
่
ของผู้อ่ืน โดยไม่ ไ ด้ร ับ ความยิน ยอม หรือ โดยฝ่า ฝื น ค าสัง ของผู้อ่ืน นั น ”
่
้
(มาตรา 264 วรรค 2)
- มอบอานาจให้มาจดทะเบียนจานอง แต่กรอกข้อความว่าขาย
ให้ ผิดปลอมเอกสาร (ฎีกาที่ 769/2540)
- หากกรอกโดยได้รบความยินยอม ผูกรอกไม่ผดปลอมเอกสาร
ั
้
ิ
(ฎีกาที่ 1300/2539)
- มอบหมายให้ผู้รบมอบอานาจกรอกข้อ ความ เมื่อผู้ร ั บมอบ
ั
อานาจตาย ผูอ่นมากรอกแทนแล้วเกิดความเสียหาย ผูกรอกข้อความผิด
้ ื
้
ปลอมเอกสาร (ฎีกาที่ 6898/2539)
มาตรา 265 และมาตรา 266
มาตรา 265 ผู้ใ ดปลอมเอกสารสิท ธิ หรือ เอกสารราชการ ต้อ ง
ระวางโทษจาคุกตังแต่หกเดือนถึงห้าปี และปรับตังแต่หนึ่ งพันบาทถึงหนึ่ง
้
้
หมืนบาท
่
มาตรา 266 ผูใดปลอมเอกสารดังต่อไปนี้
้
(1) เอกสารสิทธิอนเป็ นเอกสารราชการ
ั
(2) พินยกรรม
ั
(3) ใบหุน ใบหุนกู้ หรือใบสาคัญของใบหุนหรือใบหุนกู้
้
้
้
้
(4) ตั ๋วเงิน หรือ
(5) บัตรเงินฝาก
ต้องระวางโทษจาคุกตังแต่หนึ่งปี ถงสิบปี และปรับตังแต่สอง
้
ึ
้
หมืนบาท ถึงสองแสนบาท
่
มาตรา 265 และมาตรา 266 (ข้อสังเกตุ)
1. “เอกสารสิทธิ” เช่น
- สลากกินแบ่งรัฐบาล (ฎีกาที่ 1835/2533)
- ตั ๋วเครืองบิน (ฎีกาที่ 1508/2538)
่
- แบบแจ้งการครอบครองทีดน หรือ ส.ค.1(ฎีกาที่ 456/2506)
่ ิ
- ใบกากับภาษี (ฎีกาที่ 10959/2553)
- นาแบบพิมพ์ใบถอนเงินมากรอกข้อความและลงลายมือชื่อปลอม
เป็ นการปลอมเอกสารสิทธิ ์ (ฎีกาที่ 2227/2547)
- หากยังมีสภาพเป็ นแบบพิมพ์หรือแบบคาขอ โดยยังไม่มการกรอก
ี
ข้อความ ยังไม่ถอว่าเป็ นเอกสารสิทธิ ์ (ฎีกาที่ 2227/2547)
ื
มาตรา 265 และมาตรา 266 (ข้อสังเกตุ)
- เอกสารทียงไม่ก่อให้เกิดสิทธิอะไร ไม่ถอว่าเป็ นเอกสารสิทธิ เช่น
่ ั
ื
- หนังสือมอบอานาจ (ฎีกาที่ 3448/2551)
- แบบพิมพ์ หรือแบบคาขอใช้บริการ (ฎีกาที่ 2227/2547)
- เอกสารใดก็ตามอยูในลักษณะคาเสนอ ยังไม่มความแน่นอนว่าจะ
่
ี
มีผสนองรับหรือไม่ ย่อมไม่เป็ นเอกสารสิทธิ เช่น
ู้
- ใบเสนอราคา (ฎีกาที่ 3512/2537)
- ใบสังซือสินค้า (ฎีกาที่ 1762/2552)
่ ้
มาตรา 265 และมาตรา 266 (ข้อสังเกตุ)
2. “เอกสารราชการ” .....เอกสารซึงเจ้าพนักงานได้ทาขึน หรือรับรอง
่
้
ในหน้าที.่ ....
- บัตรประจาตัวประชาชน (ฎีกาที่ 2409/2534)
- ใบขับขี่ (ฎีกาที่ 2667/2536)
- หนังสือรับรองราคาทีดน (ฎีกาที่ 5969/2530)
่ ิ
- บันทึกรายงานการประชุมของหน่วยงานราชการ
(ฎีกาที่ 4532/2548)
- เอกสารประเภทใบมอบอานาจ หรือแบบพิมพ์ต่างๆ ของหน่ วย
งานราชการ ไม่เป็ น เอกสารราชการ (ไม่เป็ น เอกสารสิทธิด้ว ย) (ฎีกาที่
10617/2546)
มาตรา 265 และมาตรา 266 (ข้อสังเกตุ)
3. “(1) เอกสารสิทธิอนเป็ นเอกสารราชการ” เช่น
ั
- โฉนดทีดนหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์หรือ น.ส.3ก.
่ ิ
(ฎีกาที่ 1385/2522)
- ใบเสร็จรับเงินทีทางราชการออกให้เป็ นค่าชาระภาษีรถ
่
(ฎีกาที่ 226-278/2519)
“(4) ตั ๋วเงิน” คือ เช็ค ตั ๋วแลกเงิน ตั ๋วสัญญาใช้เงิน
มาตรา 267
มาตรา 267 ผู้ ใ ดแจ้ ง ให้ เ จ้ า พนั ก งานผู้ ก ระท าการตามหน้ า ที่
จดข้อ ความอัน เป็ น เท็จ ลงในเอกสารมหาชนหรือ เอกสารราชการ ซึ่ง มี
วัตถุประสงค์สาหรับ ใช้เป็ นพยานหลักฐาน โดยประการที่น่าจะเกิดความ
เสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับ
ู้ ื
ไม่เกินหกพันบาทหรือทังจาทังปรับ
้ ้
มาตรา 267 (ข้อสังเกต)
1. “แจ้ง” .....แจ้งให้จด.....
แต่ การเบิก ความต่ อ ศาล ศาลมีดุ ล พินิ จ ที่จ ะจดหรือ ไม่ ก็ไ ด้
ไม่ตองจดตามทีจาเลยเบิกความทุกคาไป
้
่
ดังนัน การเบิกความต่อศาลจึงไม่ใช่การแจ้งให้พนั กงานจด
้
ข้อความอันเป็ นเท็จตามมาตรา 267 (ฎีกาที่ 769/2540)
มาตรา 267 (ข้อสังเกต)
2. “เจ้าพนักงานผูกระทาการตามหน้าที” .....เจ้าพนักงานนันต้องมี
้
่
้
หน้าทีตามทีรบแจ้งด้วย.....
่
่ั
- ตารวจเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าทีรบแจ้งความ (ฎีกาที่ 950/2537)
่ั
- ผูอานวยการการเลือกตัง เป็ นเจ้าพนักงานในการสมัครรับ
้
้
เลือกตัง จาเลยแจ้งเท็จว่าไม่เคยถูกพิทกษ์ทรัพย์เด็ดขาด ผิดมาตรา 267
้
ั
(ฎีกาที่ 357/2551)
- หากแจ้งต่อเจ้าพนักงานซึงไม่มอานาจหน้าที่ ผูแจ้งก็ไม่ผด
่
ี
้
ิ
(ฎีกาที่ 2839/2541)
มาตรา 267 (ข้อสังเกต)
3. “เอกสารมหาชนซึงมีวตถุประสงค์สาหรับใช้เป็ นพยานหลักฐาน”
่ ั
- การทีจาเลยแจ้งให้เจ้าพนักงานผูกระทาตามหน้าที่จดข้อความ
่
้
อัน เป็ น เท็จ ลงในเอกสารมหาชน ซึ่ง มีว ัต ถุ ป ระสงค์เ พื่อ ใช้เ ป็ น พยาน
หลักฐานโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้ถือหุ้นและประชาชน
ผิดตามมาตรา 267 (ฎีกาที่ 1430/2537)
มาตรา 267 (ข้อสังเกต)
4. “เอกสารราชการซึงมีวตถุประสงค์สาหรับใช้เป็ นพยานหลักฐาน”
่ ั
- สาเนาประจาวันรับแจ้งเป็ นเอกสารของตารวจ หรือบันทึกการ
แจ้งความต่างๆ ทีตองนาไปอ้างอิงในกิจการอื่นๆ (ฎีกาที่ 950/2537)
่ ้
มาตรา 267 (ข้อสังเกต)
5. “โดยประการทีน่าจะเสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน” .....แม้แจ้งเท็จ
่
ู้ ื
แต่หากไม่น่าจะเกิดความเสียหาย ผูแจ้งก็ไม่ผด.....
้
ิ
- ไปแจ้งนามสกุลของบุตรที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายว่าใช้นามสกุ ลของ
ตัวเอง กรณีเป็ นคุณแก่มารดาและบุตร ไม่ผดมาตรานี้ (ฎีกาที่ 2696/2521)
ิ

- จดทะเบียนหย่าแล้ว แต่แจ้งว่าไม่เคยจดทะเบียนสมรส ไม่เกิ ด
ความเสียหายกับใคร (เว้นแต่เคยจดทะเบียนแล้วไม่หย่า แต่แจ้งว่ าหย่า
แล้ว ผิดมาตรานี้ได้) (ฎีกาที่ 1237/2544)
มาตรา 268
มาตรา 268 ผูใดใช้หรืออ้างเอกสารอันเกิดจากการกระทาความผิด
้
ตาม มาตรา 264 มาตรา 265 มาตรา 266 หรือ มาตรา 267 ในประการที่
น่ าจะเกิดความเสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน ต้องระวางโทษดังที่บญญัติ
ู้ ื
ั
ไว้ในมาตรานันๆ
้
ถ้าผูกระทาความผิดตามวรรคแรกเป็ นผูปลอมเอกสาร
้
้
นัน หรือเป็ นผูแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความนันเองให้ลงโทษตามมาตรานี้
้
้
้
แต่กระทงเดียว
มาตรา 268 (ข้อสังเกต)
1. “กระทาโดยเจตนา” ....รู้ขอเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบความผิด
้
กล่าวคือ รูวาเป็ นเอกสารปลอม หากไม่รู้ ย่อมไม่ผด...
้่
ิ
- ผูกระทาจะมีความผิดฐานใช้เอกสารปลอมต่อเมื่อได้รูข้ อเท็จจริง
้
้
ว่าเอกสารนันปลอม เมื่อปรากฏว่าจาเลยมิได้รู้ว่าเอกสารดังกล่าวปลอม
้
การที่จาเลยใช้เอกสารนันย่อมขาดเจตนาในการกาทาผิด จึงไม่ เป็ นฐาน
้
ความผิดใช้เอกสารปลอม (ฎีกาที่ 7464/2541)
- แม้จาเลยจะมิได้นาเอกสารที่จาเลยปลอมไปยื่นด้วยตนเอง แต่
มอบอานาจให้ ส. ไปดาเนินการแทน โดย ส. ไม่ทราบว่าเป็ นเอกสารปลอม
มีผลเท่ากับจาเลยดาเนินการด้วยตนเอง (ฎีกาที่ 5659/2544)
มาตรา 268 (ข้อสังเกต)
2. “ใช้หรืออ้าง”
- ใช้ น.ส. 3 ปลอม เพือขอออกโฉนดทีดน (ฎีกาที่ 950/2537)
่
่ ิ
- ใช้ใ บรับ รองแพทย์ป ลอมแสดงต่ อ ผู้บ ัง คับ บัญ ชาเพื่อ ประกอบ
รายงานการทีจาเลยขาดราชการ (ฎีกาที่ 2275/2533)
่

- นาพินยกรรมปลอมไปแสดงต่อทีดนอาเภอเพือขอรับมรดก (ฎีกาที่
ั
่ ิ
่
1407/2510)
- แต่มเี หมือนกันทีใช้เอกสารปลอมแล้วไม่ผด คือ ใช้ต่อสูคดีในฐานะ
่
ิ
้
ผูตองหา (ฎีกาที่ 2987/2547)
้ ้
มาตรา 268 (ข้อสังเกต)
3. “ถ้าผูกระทาความผิดตามวรรคแรกเป็ นผูปลอมเอกสารนัน หรือเป็ น
้
้
้
ผูแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความนันเองให้ลงโทษตามมาตรานี้แ ต่กระทง
้
้
เดียว” (วรรคสอง) .....ความผิดฐานใช้เอกสารปลอมแต่ละกระทงนัน ถ้าผูใช้
้
้
เป็ น ผู้ป ลอมเอง ก็ใ ห้ล งโทษฐานเป็ น ผู้ใ ช้เ พีย งกระทงเดีย วตามจ านวน
กระทงทีปลอม.....
่
มาตรา 268 (ข้อสังเกต)
- การปลอมบัตรประจาตัวประชาชน ใบสาคัญทะเบียนทหารและ
ส าเนาทะเบีย นบ้า นคนเกิด ซึ่ง เป็ น เอกสารราชการต่ า งวาระกัน เป็ น
ความผิดหลายกรรมต่างกัน รวม 3 กระทง เมื่อจาเลยนาเอกสารดังกล่ าว
ไปใช้ ต้องลงโทษจาเลยฐานเป็ นผูใช้แต่ละกระทงทีปลอม แม้จาเลยจะได้ใช้
้
่
เอกสารปลอมดังกล่าวในคราวเดียวกัน แต่เป็ นการใช้เอกสารคนละประเภท
กัน ต้องมีความผิดฐานเป็ นผูใช้เอกสารราชการปลอมรวม 3 กระทง (ฎีกาที่
้
3121/2530)
มาตรา 269
มาตรา 269 ผู้ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์ กฎหมาย
บัญชีหรือวิชาชีพอื่นใด ทาคารับรองเป็ นเอกสารอันเป็ นเท็จ โดยประการที่
น่ าจะเกิดความเสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน ต้องระวางโทษจาคุ กไม่เกิน
ู้ ื
สองปี หรือปรับไม่เกินสีพนบาท หรือทังจาทังปรับ
่ ั
้ ้
ผูใดโดยทุจริตใช้หรืออ้างคารับรองอันเกิดจากการกระทาความผิด
้
ตามวรรคแรก ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
มาตรา 269 (ข้อสังเกต)
1. “ความผิดวรรคแรก” เป็ นของผูทาคารับรอง
้
2. “ความผิดวรรคสอง” เป็ นของผูนาไปใช้
้
3. “วิชาชีพ” หมายถึง อาชีพทีตองใช้ความรูพเิ ศษ ผูกระทาผิดคือ ผูท่ี
่ ้
้
้
้
ต้องใช้ความรูพเศษในการประกอบอาชีพ ซึงนอกจากแพทย์ นักกฎหมาย
้ ิ
่
นักบัญชีแล้ว ยังรวมถึงสถาปนิก หรือวิศวกรด้วย
มาตรา 269 (ข้อสังเกต)
4. “การรับรองเอกสารอันเป็ นเท็จ”
่
่
่
- แพทย์ออกใบรับรองว่าไม่ปวย ความจริงปวย หรือรับรองว่าปวย
่
แต่แท้จริงไม่ปวย
- จาเลยที่ 1 เป็ นเจ้าของที่ดนและเป็ นผู้กู้เงินจากธนาคาร ไม่ได้
ิ
ประกอบวิชาชีพการประเมินราคาทรัพย์ ส่วนจาเลยที่ 3 เป็ นเพีย งผู้ทา
รายงานการตรวจสอบทีดนเสนอต่อ ผ. โดย ผ. เป็ นผูลงลายมือชื่อรับรอง
่ ิ
้
ในฐานะผูประเมิน จาเลยที่ 3 ไม่ได้เป็ นผูทาคารับรองในเอกสารดังกล่าวอัน
้
้
เป็ น เท็จ จ าเลยที่ 1และ 3 จึง ไม่ ม ีค วามผิด ตามมาตรา 269 (ฎี ก าที่
2696/2521)
มาตรา 269 (ข้อสังเกต)
5. “ผูใดโดยทุจริต” (วรรคสอง) ...ผูใช้หรืออ้างคารับรองอันเป็ นเท็จนัน..
้
้
้
- นาย ก. ต้องการเงินประกันโรคมะเร็งทีทาไว้ จึงให้ นาย ข. ซึงมี
่
่
อาชีพ เป็ น แพทย์ อ อกหนั ง สือ ตรวจโรคให้ว่ า นาย ก. เป็ น โรคมะเร็ง
ซึ่งนาย ข. รู้อยู่แล้วว่า นาย ก. จะเอาหนังสือนันไปหลอกเอาเงินบริษัท
้
ประกัน ภายหลังบริษัท ประกันเชื่อตามหนังสือที่ นาย ข. ออกรับรองให้
จึงให้เงินประกันแก่ นาย ก. ไป
ดังนัน
้

นาย ก. จึงมีความผิดตามมาตรา 269 วรรคสอง
และนาย ข. มีความผิดตามมาตรา 269 วรรคหนึ่ง
รายชือสมาชิก
่
กศ.บป. รุน 27 รปศ. ห้อง 2
่
1. ด.ต.กัณฑพงศ์
2. นายก้องตระกูล
3. น.ส.เกศรินทร์
4. น.ส.จริยา
5. น.ส.ทองพรรณ
6. นางนารี
7. นายนิคม

พัฒนานุรกษ์พงศ์
ั
โกมลโรจน์
ดอกไม้หอม
ท้าววรรณชาติ
ถาวรรณา
จันต้ะมา
บุญเรือง

55223330201
55223330204
55223330205
55223330206
55223330210
55223330219
55223330220
กศ.บป. รุน 27 รปศ. ห้อง 2 (ต่อ)
่
8. น.ส.บุษราคัม
9. นายประกาศิต
10. ส.ต.สันติภาพ
11. นางพรไพลิน
12. นายอุดร

กาสา
เอียมสอาด
่
ภู่สาร
ขัดธิพงษ์
เทจโสด

55223330222
55223330223
55223330233
55223330242
55223330243
กศ.บป. รุน 28 รปศ. ห้อง 1
่
1. น.ส.นิศาชล

จันทฆาฏ

56223330133

More Related Content

What's hot

วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
Tongnapadon
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
Wijitta DevilTeacher
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
Kruthai Kidsdee
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
Tanchanok Pps
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
kruood
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
Chattichai
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
Rapheephan Phola
 

What's hot (20)

คู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUpคู่มือ SketchUp
คู่มือ SketchUp
 
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
สรุปผลงานดีเด่น 1 ข้อ (จรรยาบรรณข้อ 3)
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3
 
Guitar
GuitarGuitar
Guitar
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
บทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรมบทที่ 2 นิติกรรม
บทที่ 2 นิติกรรม
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
เศรษฐศาสตร์บทที่ 5
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 1
 
สมการและอสมการ
สมการและอสมการสมการและอสมการ
สมการและอสมการ
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 

งานนำเสนอ

  • 1. ประมวลกฎหมายอาญา ภาค 2 ความผิด ลักษณะ 7 ความผิดเกียวกับการปลอม ่ และการแปลง หมวด 3 ความผิดเกียวกับเอกสาร ่
  • 3. ข้อควรจา “เอกสาร” คือ กระดาษหรือวัสดุอ่นใดซึงได้ทาให้ปรากฏความหมาย ื ่ ด้ว ยตัว อัก ษร ตัว เลข ผัง หรือ แผนแบบอย่ า งอื่น จะเป็ น โดยวิธี พิ ม พ์ ถ่ายภาพ หรือวิธอ่นอันเป็ นหลักฐานแห่งความหมายนัน ม.1 (7) ีื ้ “กระดาษหรือวัตถุอ่นใด” คือ สิงที่ใช้สาหรับทาให้ค วามหมายของ ื ่ ถ้อยคาปรากฏขึนเอกสาร มิใช่ตวถ้อยคาทีแสดงความหมาย แต่ เป็ นวัตถุท่ี ้ ั ่ ทาให้ปรากฏความหมายขึน ้
  • 4. ข้อควรจา (ต่อ) “ทาให้ปรากฏ” คือ ต้องมีการกระทาของบุคคลให้ปรากฏความหมาย ขึนบนกระดาษหรือวัตถุอ่น จะปรากฏชัวคราวหรือถาวรก็ได้ ถ้ าปรากฏขึน ้ ื ่ ้ เองไม่เป็ นเอกสาร บุคคลผูทาเอกสารไม่จาเป็ นต้องลงลายมือชื่อไว้ ้ “ความหมาย” คือ สิงที่ทาให้ปรากฏขึ้นนันต้องแสดงความคิดของ ่ ้ ผูทาเอกสาร จะเป็ นทีเข้าใจได้หรือไม่กตาม ต้องเป็ นสือแสดงข้อความของ ้ ่ ็ ่ บุคคล ข้อเท็จจริง หรือเรืองสมมุติ ต้องแสดงเหตุการณ์และแสดงความคิด ่ ของบุคคลผูเป็ นเจ้าของเอกสารนัน ้ ้
  • 5. ข้อควรจา (ต่อ) “ด้วยตัวอักษร ตัวเลข ผัง หรือแผนแบบอย่างอื่น ” คือ อ่านหรือเห็น ั ความหมายได้โ ดยการสัม ผัส ทางตา (ป จ จุ บ ัน อัก ษรส าหรับ คนตาบอด สัมผัสด้วยมือ ก็รวมถึงด้วย) “โดยวิธพมพ์ ด้วยภาพหรือวิธอ่น ” คือ จารึกเครื่องหมายให้ปรากฏ ี ิ ีื บนวัตถุดวยวิธใดๆ อาจเขียน ตีตรา แกะสลัก ฯลฯ ้ ี “เป็ นหลักฐานแห่งความหมาย” คือ ต้องปรากฏคงทนอยู่ชวขณะ ั่ หนึ่ง แม้ไม่นาน
  • 6. ข้อแตกต่างระหว่าง “เอกสารปลอม” และ “เอกสารเท็จ” “เอกสารปลอม” คือ เอกสารทีทาขึนโดยผูถูกกล่าวอ้างมิได้ทา หรือ ่ ้ ้ มิได้ให้อานาจผูอ่นทาเอกสารนัน เท่ากับทาขึนโดยให้ เข้าใจว่าเป็ นเอกสาร ้ ื ้ ้ ทีคนอื่นทา หรือหลอกในส่วนทีเกียวกับตัวผูทาเอกสาร โดยไม่ตองคานึงว่า ่ ่ ่ ้ ้ ข้อความทีเขียนลงในเอกสารนันจะจริงหรือเท็จ ่ ้ ตัวอย่าง นายแดงกู้เงินนายดา 10,000 บาท แต่ไม่ได้ทาสัญญาไว้ นายดา เกรงว่าจะฟ้องร้องบังคับคดีไม่ได้ นายดาจึงทาสัญญากูขนมาฉบับหนึ่ง มี ้ ้ึ ข้อความว่า นายแดงกู้เงินนายดาไป 10,000 บาทและลงลายมือชื่อนาย แดงเช่นนี้ เป็ นเอกสารปลอม แม้จะตรงกับความเป็ นจริงก็ตาม (ปลอมแต่ ไม่เท็จ)
  • 7. ข้อแตกต่างระหว่าง “เอกสารปลอม” และ “เอกสารเท็จ” (ต่อ) “เอกสารเท็จ” หรือ “เอกสารซึงมีขอความอันเป็ นเท็จ” เป็ นเอกสารที่ ่ ้ ทาขึนมีขอความเป็ นเท็จหรือไม่ตรงต่อความเป็ นจริง ซึงผูทาเอกสารเท็จจะ ้ ้ ่ ้ กระทาโดยมีอานาจหน้าทีหรือไม่กได้ แต่สาระสาคัญคือ ไม่ มการกล่าวอ้าง ่ ็ ี ว่าผูอ่นทาเอกสารนัน หรือเป็ นเอกสารของผูทาเอกสารเอง ไม่ ใช่เอกสาร ้ ื ้ ้ ของผูอ่น ้ื ในเรื่อ งเอกสารเท็จนัน ไม่มีบทบัญญัติทวไปกาหนดความผิดไว้ ้ ั่ ดังเช่นกรณีปลอมเอกสาร แต่เอกสารเท็จนันมีบทบัญญัตกาหนดความผิด ้ ิ ไว้โดยเฉพาะในบางมาตรา เช่น มาตรา 162 (เจ้าพนักงานทาเอกสารเท็จ) มาตรา 267 (แจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความเท็จลงในเอกสาร) และมาตรา 269 (ผูมวชาชีพทาคารับรองเป็ นเอกสารเท็จ) ้ ีิ
  • 8. ข้อแตกต่างระหว่าง “เอกสารปลอม” และ “เอกสารเท็จ” (ต่อ) ข้อสังเกต หากเป็ นเอกสารเท็จต้องเป็ นเอกสารทีอยู่ในอานาจของตนที่จะทา ่ เอกสารนันได้ แล้วทาขึนไม่ตรงต่อความจริง ้ ้ แต่ถาเป็ นเอกสารปลอมต้องเป็ นเอกสารทีผูกระทาไม่มอานาจทีจะ ้ ่ ้ ี ่ ทาได้ แต่ทาขึนในนามผูอ่น ้ ้ื
  • 10. มาตรา 264 มาตรา 264 ผูใดทาเอกสารปลอมขึนทังฉบับหรือแต่ส่วนหนึ่งส่วน ้ ้ ้ ใด เติมหรือตัดทอนข้อความหรือแก้ไขด้วยประการใดๆ ในเอกสารทีแท้จริง ่ หรือประทับ ตราปลอม หรือลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร โดยประการที่ น่ าจะเกิดความเสียหายแก่ผูอ่นหรือประชาชน ถ้าได้กระทาเพื่ อให้ผู้หนึ่ง ้ ื ผูใดหลงเชือว่าเป็ นเอกสารทีแท้จริง ผูนนกระทาความผิดฐานปลอมเอกสาร ้ ่ ่ ้ ั้ ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทังจาทัง ้ ้ ปรับ ผูใดกรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษหรือวัตถุอ่นใด ซึงมีลายมือชื่อ ้ ื ่ ่ ของผูอ่นโดยไม่ได้รบความยินยอม หรือโดยฝาฝื นคาสังของผูอ่นนัน ถ้าได้ ้ ื ั ่ ้ ื ้ กระทาเพือนาเอาเอกสารนันไปใช้ในกิจการทีอาจเกิดเสียหายแก่ผหนึ่งผูใด ่ ้ ่ ู้ ้ หรือประชาชน ให้ถอว่าผูนนปลอมเอกสาร ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน ื ้ ั้
  • 11. มาตรา 264 (ข้อสังเกต) 1. “ทาเอกสารปลอมขึ้นทังฉบับหรือแต่ส่วนหนึ่งส่วนใด” .....ไม่ ้ จาเป็ นต้องมีเอกสารทีแท้จริงอยูก่อน..... ่ ่ - ทาสัญญาเงินกู้ข้นมาเอง ทังที่ไม่เคยมีการกู้เ งินกันมาก่อน ึ ้ เป็ นการปลอมทังฉบับ (ฎีกาที่ 769/2540) ้ - ถ่ายสาเนาเอกสารแผ่นป้ายแสดงการเสียภาษีรถยนต์ประจาปี ให้เหมือนฉบับทีแท้จริง เป็ นปลอมทังฉบับ (ฎีกาที่ 2463/2548) ่ ้ - มีการทาเอกสารที่แท้จริงขึ้น แต่ยงไม่เสร็จครบถ้ วน ถ้าผู้ใด ั ปลอมข้อความต่อไปจนครบถ้วน หรือแม้จะยังไม่เสร็จครบถ้วนก็ตาม (ถ้า ส่วนทีทาขึนมีลกษณะเป็ นเอกสารแล้ว) ก็เป็ นการปลอมแต่บางส่วน ่ ้ ั
  • 12. มาตรา 264 (ข้อสังเกต) 2. “เติม หรือ ตัด ทอนข้อ ความ หรือ แก้ ไ ขด้ว ยประการใดๆ ใน เอกสารทีแท้จริง” ่ - แก้ไขเอกสารชาระหนี้ของเจ้าหนี้ให้มจานวนมากกว่ าทีตนได้ ี ่ ชาระหนี้ไป เป็ นการแก้ไขด้วยประการใดๆ (ฎีกาที่ 825/2506) - ลบบันทึกการชาระหนี้ออกไปจากเอกสาร ทาให้เหลือเฉพาะ หลักฐานการกู้เงิน เป็ น การตัดทอนหรือ แก้ไ ขด้ว ยประการใดๆ (ฎีก าที่ 2463/2548)
  • 13. มาตรา 264 (ข้อสังเกต) 3. “ลงลายมือชื่อปลอมในเอกสาร” .....ลงลายมือชื่อเพื่อให้บุคคล อื่นเข้าใจว่าเป็ นลายมือชือของผูอ่น..... ่ ้ื - การทีจาเลยปลอมหนังสือมอบอานาจของ หจก. ส. และปลอม ่ ใบเสนอราคารับจ้างเหมาก่อสร้างอาคาร โดยจาเลยลงลายมือชื่อปลอมลง ลายมือชื่อปลอมของ ว. และลงประทับตรา หจก. ส. ปลอมลงในเอกสาร หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิตบุคคล ส. ิ จาเลยมีความผิดตามมาตรา 264 (ฎีกาที่ 4024/2541)
  • 14. มาตรา 264 (ข้อสังเกต) 4. “โดยประการทีน่าจะเกิดความเสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน” ่ ู้ ื - ไม่ใช่การกระทาโดยแท้และไม่ใช่เจตนาพิเศษ จึงไม่เกี่ยวกับ เจตนา แต่เป็ นพฤติการณ์ทประกอบการกระทาทีน่าจะเกิดความเสียหายได้ ่ี ่ แม้จะไม่เกิดความเสียหายขึนจริง (ฎีกาที่ 3873/2551) ้
  • 15. มาตรา 264 (ข้อสังเกต) 5. “ถ้าได้กระทาเพื่อให้ผหนึ่งผูใดหลงเชื่อว่าเป็ น เอกสารทีแท้จริง” ู้ ้ ่ .....ทาเพือให้บุคคลอื่นเชือว่าเป็ นเอกสารทีแท้จริงของผูอ่น..... ่ ่ ่ ้ ื - เป็ น เจตนาพิเ ศษ เพื่อ ให้ผู้อ่ืน เชื่อ ว่ า เอกสารที่ท า ขึ้น เป็ น เอกสารทีแท้จริง แม้ยงไม่ได้นาไปใช้กตาม (ฎีกาที่ 769/2540) ่ ั ็ - หากไม่มเจตนาเพื่อให้ผอ่นเชื่อว่าเป็ นเอกสารที่แท้จริง ไม่ผด ี ู้ ื ิ ปลอมเอกสาร เช่น ท าแผ่น ป้ า ยทะเบีย นเพื่อ ใช้ใ นการโฆษณา (ฎีก าที่ 2995/2537) - ร่วมกันทาเอกสารกู้เท็จเพื่อโกงเจ้าหนี้ ลงลายมือชื่อจริงของ ตนเอง ไม่ได้ปลอมเอกสารผูใด ไม่ผดปลอมเอกสาร (ฎีกาที่ 654/2480) ้ ิ
  • 16. มาตรา 264 (ข้อสังเกต) 6. “เมือไม่ได้ปลอมอะไรเกียวกับตัวเอกสารนัน ก็ไม่ผดปลอมเอกสาร” ่ ่ ้ ิ - น าคัส ซีท่ีแ ท้จ ริง ออก แล้ว ใส่ ค ัส ซีท่ีแ ท้จ ริง อีก อัน ลงไป ซึ่ง ไม่ ปรากฏว่า ขูดลบ แก้ไข เปลียนแปลงตัวอักษร ตัวเลข คัสซีแต่อย่างใด จึง ่ ไม่ เ ป็ น ควา ม ผิ ด ฐ าน ป ลอ มแป ล งเอ ก สาร ตั ว อั ก ษ ร ตั ว เลขคั ส ซี (ฎีกาที่ 3997/2548) - การทาลายเอกสารราชการไปเลยไม่ใช่การปลอมเอกสาร เพราะ ไม่ม ีเ อกสารเหลือ อยู่ใ ห้ผู้ใ ดหลงเชื่อ ว่าเป็ น เอกสารที่แท้จริ ง ไม่ผ ิดฐาน ปลอมเอกสารราชการ แต่ผดฐานทาลายเอกสาร (ฎีกาที่ 6266/2545) ิ
  • 17. มาตรา 264 (ข้อสังเกต) 7. “กรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษหรือวัตถุอ่นใด ซึงมีลายมือชือ ื ่ ่ ของผู้อ่ืน โดยไม่ ไ ด้ร ับ ความยิน ยอม หรือ โดยฝ่า ฝื น ค าสัง ของผู้อ่ืน นั น ” ่ ้ (มาตรา 264 วรรค 2) - มอบอานาจให้มาจดทะเบียนจานอง แต่กรอกข้อความว่าขาย ให้ ผิดปลอมเอกสาร (ฎีกาที่ 769/2540) - หากกรอกโดยได้รบความยินยอม ผูกรอกไม่ผดปลอมเอกสาร ั ้ ิ (ฎีกาที่ 1300/2539) - มอบหมายให้ผู้รบมอบอานาจกรอกข้อ ความ เมื่อผู้ร ั บมอบ ั อานาจตาย ผูอ่นมากรอกแทนแล้วเกิดความเสียหาย ผูกรอกข้อความผิด ้ ื ้ ปลอมเอกสาร (ฎีกาที่ 6898/2539)
  • 18. มาตรา 265 และมาตรา 266 มาตรา 265 ผู้ใ ดปลอมเอกสารสิท ธิ หรือ เอกสารราชการ ต้อ ง ระวางโทษจาคุกตังแต่หกเดือนถึงห้าปี และปรับตังแต่หนึ่ งพันบาทถึงหนึ่ง ้ ้ หมืนบาท ่ มาตรา 266 ผูใดปลอมเอกสารดังต่อไปนี้ ้ (1) เอกสารสิทธิอนเป็ นเอกสารราชการ ั (2) พินยกรรม ั (3) ใบหุน ใบหุนกู้ หรือใบสาคัญของใบหุนหรือใบหุนกู้ ้ ้ ้ ้ (4) ตั ๋วเงิน หรือ (5) บัตรเงินฝาก ต้องระวางโทษจาคุกตังแต่หนึ่งปี ถงสิบปี และปรับตังแต่สอง ้ ึ ้ หมืนบาท ถึงสองแสนบาท ่
  • 19. มาตรา 265 และมาตรา 266 (ข้อสังเกตุ) 1. “เอกสารสิทธิ” เช่น - สลากกินแบ่งรัฐบาล (ฎีกาที่ 1835/2533) - ตั ๋วเครืองบิน (ฎีกาที่ 1508/2538) ่ - แบบแจ้งการครอบครองทีดน หรือ ส.ค.1(ฎีกาที่ 456/2506) ่ ิ - ใบกากับภาษี (ฎีกาที่ 10959/2553) - นาแบบพิมพ์ใบถอนเงินมากรอกข้อความและลงลายมือชื่อปลอม เป็ นการปลอมเอกสารสิทธิ ์ (ฎีกาที่ 2227/2547) - หากยังมีสภาพเป็ นแบบพิมพ์หรือแบบคาขอ โดยยังไม่มการกรอก ี ข้อความ ยังไม่ถอว่าเป็ นเอกสารสิทธิ ์ (ฎีกาที่ 2227/2547) ื
  • 20. มาตรา 265 และมาตรา 266 (ข้อสังเกตุ) - เอกสารทียงไม่ก่อให้เกิดสิทธิอะไร ไม่ถอว่าเป็ นเอกสารสิทธิ เช่น ่ ั ื - หนังสือมอบอานาจ (ฎีกาที่ 3448/2551) - แบบพิมพ์ หรือแบบคาขอใช้บริการ (ฎีกาที่ 2227/2547) - เอกสารใดก็ตามอยูในลักษณะคาเสนอ ยังไม่มความแน่นอนว่าจะ ่ ี มีผสนองรับหรือไม่ ย่อมไม่เป็ นเอกสารสิทธิ เช่น ู้ - ใบเสนอราคา (ฎีกาที่ 3512/2537) - ใบสังซือสินค้า (ฎีกาที่ 1762/2552) ่ ้
  • 21. มาตรา 265 และมาตรา 266 (ข้อสังเกตุ) 2. “เอกสารราชการ” .....เอกสารซึงเจ้าพนักงานได้ทาขึน หรือรับรอง ่ ้ ในหน้าที.่ .... - บัตรประจาตัวประชาชน (ฎีกาที่ 2409/2534) - ใบขับขี่ (ฎีกาที่ 2667/2536) - หนังสือรับรองราคาทีดน (ฎีกาที่ 5969/2530) ่ ิ - บันทึกรายงานการประชุมของหน่วยงานราชการ (ฎีกาที่ 4532/2548) - เอกสารประเภทใบมอบอานาจ หรือแบบพิมพ์ต่างๆ ของหน่ วย งานราชการ ไม่เป็ น เอกสารราชการ (ไม่เป็ น เอกสารสิทธิด้ว ย) (ฎีกาที่ 10617/2546)
  • 22. มาตรา 265 และมาตรา 266 (ข้อสังเกตุ) 3. “(1) เอกสารสิทธิอนเป็ นเอกสารราชการ” เช่น ั - โฉนดทีดนหรือหนังสือรับรองการทาประโยชน์หรือ น.ส.3ก. ่ ิ (ฎีกาที่ 1385/2522) - ใบเสร็จรับเงินทีทางราชการออกให้เป็ นค่าชาระภาษีรถ ่ (ฎีกาที่ 226-278/2519) “(4) ตั ๋วเงิน” คือ เช็ค ตั ๋วแลกเงิน ตั ๋วสัญญาใช้เงิน
  • 23. มาตรา 267 มาตรา 267 ผู้ ใ ดแจ้ ง ให้ เ จ้ า พนั ก งานผู้ ก ระท าการตามหน้ า ที่ จดข้อ ความอัน เป็ น เท็จ ลงในเอกสารมหาชนหรือ เอกสารราชการ ซึ่ง มี วัตถุประสงค์สาหรับ ใช้เป็ นพยานหลักฐาน โดยประการที่น่าจะเกิดความ เสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสามปี หรือปรับ ู้ ื ไม่เกินหกพันบาทหรือทังจาทังปรับ ้ ้
  • 24. มาตรา 267 (ข้อสังเกต) 1. “แจ้ง” .....แจ้งให้จด..... แต่ การเบิก ความต่ อ ศาล ศาลมีดุ ล พินิ จ ที่จ ะจดหรือ ไม่ ก็ไ ด้ ไม่ตองจดตามทีจาเลยเบิกความทุกคาไป ้ ่ ดังนัน การเบิกความต่อศาลจึงไม่ใช่การแจ้งให้พนั กงานจด ้ ข้อความอันเป็ นเท็จตามมาตรา 267 (ฎีกาที่ 769/2540)
  • 25. มาตรา 267 (ข้อสังเกต) 2. “เจ้าพนักงานผูกระทาการตามหน้าที” .....เจ้าพนักงานนันต้องมี ้ ่ ้ หน้าทีตามทีรบแจ้งด้วย..... ่ ่ั - ตารวจเป็ นเจ้าพนักงานมีหน้าทีรบแจ้งความ (ฎีกาที่ 950/2537) ่ั - ผูอานวยการการเลือกตัง เป็ นเจ้าพนักงานในการสมัครรับ ้ ้ เลือกตัง จาเลยแจ้งเท็จว่าไม่เคยถูกพิทกษ์ทรัพย์เด็ดขาด ผิดมาตรา 267 ้ ั (ฎีกาที่ 357/2551) - หากแจ้งต่อเจ้าพนักงานซึงไม่มอานาจหน้าที่ ผูแจ้งก็ไม่ผด ่ ี ้ ิ (ฎีกาที่ 2839/2541)
  • 26. มาตรา 267 (ข้อสังเกต) 3. “เอกสารมหาชนซึงมีวตถุประสงค์สาหรับใช้เป็ นพยานหลักฐาน” ่ ั - การทีจาเลยแจ้งให้เจ้าพนักงานผูกระทาตามหน้าที่จดข้อความ ่ ้ อัน เป็ น เท็จ ลงในเอกสารมหาชน ซึ่ง มีว ัต ถุ ป ระสงค์เ พื่อ ใช้เ ป็ น พยาน หลักฐานโดยประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้ถือหุ้นและประชาชน ผิดตามมาตรา 267 (ฎีกาที่ 1430/2537)
  • 27. มาตรา 267 (ข้อสังเกต) 4. “เอกสารราชการซึงมีวตถุประสงค์สาหรับใช้เป็ นพยานหลักฐาน” ่ ั - สาเนาประจาวันรับแจ้งเป็ นเอกสารของตารวจ หรือบันทึกการ แจ้งความต่างๆ ทีตองนาไปอ้างอิงในกิจการอื่นๆ (ฎีกาที่ 950/2537) ่ ้
  • 28. มาตรา 267 (ข้อสังเกต) 5. “โดยประการทีน่าจะเสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน” .....แม้แจ้งเท็จ ่ ู้ ื แต่หากไม่น่าจะเกิดความเสียหาย ผูแจ้งก็ไม่ผด..... ้ ิ - ไปแจ้งนามสกุลของบุตรที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายว่าใช้นามสกุ ลของ ตัวเอง กรณีเป็ นคุณแก่มารดาและบุตร ไม่ผดมาตรานี้ (ฎีกาที่ 2696/2521) ิ - จดทะเบียนหย่าแล้ว แต่แจ้งว่าไม่เคยจดทะเบียนสมรส ไม่เกิ ด ความเสียหายกับใคร (เว้นแต่เคยจดทะเบียนแล้วไม่หย่า แต่แจ้งว่ าหย่า แล้ว ผิดมาตรานี้ได้) (ฎีกาที่ 1237/2544)
  • 29. มาตรา 268 มาตรา 268 ผูใดใช้หรืออ้างเอกสารอันเกิดจากการกระทาความผิด ้ ตาม มาตรา 264 มาตรา 265 มาตรา 266 หรือ มาตรา 267 ในประการที่ น่ าจะเกิดความเสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน ต้องระวางโทษดังที่บญญัติ ู้ ื ั ไว้ในมาตรานันๆ ้ ถ้าผูกระทาความผิดตามวรรคแรกเป็ นผูปลอมเอกสาร ้ ้ นัน หรือเป็ นผูแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความนันเองให้ลงโทษตามมาตรานี้ ้ ้ ้ แต่กระทงเดียว
  • 30. มาตรา 268 (ข้อสังเกต) 1. “กระทาโดยเจตนา” ....รู้ขอเท็จจริงอันเป็ นองค์ประกอบความผิด ้ กล่าวคือ รูวาเป็ นเอกสารปลอม หากไม่รู้ ย่อมไม่ผด... ้่ ิ - ผูกระทาจะมีความผิดฐานใช้เอกสารปลอมต่อเมื่อได้รูข้ อเท็จจริง ้ ้ ว่าเอกสารนันปลอม เมื่อปรากฏว่าจาเลยมิได้รู้ว่าเอกสารดังกล่าวปลอม ้ การที่จาเลยใช้เอกสารนันย่อมขาดเจตนาในการกาทาผิด จึงไม่ เป็ นฐาน ้ ความผิดใช้เอกสารปลอม (ฎีกาที่ 7464/2541) - แม้จาเลยจะมิได้นาเอกสารที่จาเลยปลอมไปยื่นด้วยตนเอง แต่ มอบอานาจให้ ส. ไปดาเนินการแทน โดย ส. ไม่ทราบว่าเป็ นเอกสารปลอม มีผลเท่ากับจาเลยดาเนินการด้วยตนเอง (ฎีกาที่ 5659/2544)
  • 31. มาตรา 268 (ข้อสังเกต) 2. “ใช้หรืออ้าง” - ใช้ น.ส. 3 ปลอม เพือขอออกโฉนดทีดน (ฎีกาที่ 950/2537) ่ ่ ิ - ใช้ใ บรับ รองแพทย์ป ลอมแสดงต่ อ ผู้บ ัง คับ บัญ ชาเพื่อ ประกอบ รายงานการทีจาเลยขาดราชการ (ฎีกาที่ 2275/2533) ่ - นาพินยกรรมปลอมไปแสดงต่อทีดนอาเภอเพือขอรับมรดก (ฎีกาที่ ั ่ ิ ่ 1407/2510) - แต่มเี หมือนกันทีใช้เอกสารปลอมแล้วไม่ผด คือ ใช้ต่อสูคดีในฐานะ ่ ิ ้ ผูตองหา (ฎีกาที่ 2987/2547) ้ ้
  • 32. มาตรา 268 (ข้อสังเกต) 3. “ถ้าผูกระทาความผิดตามวรรคแรกเป็ นผูปลอมเอกสารนัน หรือเป็ น ้ ้ ้ ผูแจ้งให้เจ้าพนักงานจดข้อความนันเองให้ลงโทษตามมาตรานี้แ ต่กระทง ้ ้ เดียว” (วรรคสอง) .....ความผิดฐานใช้เอกสารปลอมแต่ละกระทงนัน ถ้าผูใช้ ้ ้ เป็ น ผู้ป ลอมเอง ก็ใ ห้ล งโทษฐานเป็ น ผู้ใ ช้เ พีย งกระทงเดีย วตามจ านวน กระทงทีปลอม..... ่
  • 33. มาตรา 268 (ข้อสังเกต) - การปลอมบัตรประจาตัวประชาชน ใบสาคัญทะเบียนทหารและ ส าเนาทะเบีย นบ้า นคนเกิด ซึ่ง เป็ น เอกสารราชการต่ า งวาระกัน เป็ น ความผิดหลายกรรมต่างกัน รวม 3 กระทง เมื่อจาเลยนาเอกสารดังกล่ าว ไปใช้ ต้องลงโทษจาเลยฐานเป็ นผูใช้แต่ละกระทงทีปลอม แม้จาเลยจะได้ใช้ ้ ่ เอกสารปลอมดังกล่าวในคราวเดียวกัน แต่เป็ นการใช้เอกสารคนละประเภท กัน ต้องมีความผิดฐานเป็ นผูใช้เอกสารราชการปลอมรวม 3 กระทง (ฎีกาที่ ้ 3121/2530)
  • 34. มาตรา 269 มาตรา 269 ผู้ใดในการประกอบการงานในวิชาแพทย์ กฎหมาย บัญชีหรือวิชาชีพอื่นใด ทาคารับรองเป็ นเอกสารอันเป็ นเท็จ โดยประการที่ น่ าจะเกิดความเสียหายแก่ผอ่นหรือประชาชน ต้องระวางโทษจาคุ กไม่เกิน ู้ ื สองปี หรือปรับไม่เกินสีพนบาท หรือทังจาทังปรับ ่ ั ้ ้ ผูใดโดยทุจริตใช้หรืออ้างคารับรองอันเกิดจากการกระทาความผิด ้ ตามวรรคแรก ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
  • 35. มาตรา 269 (ข้อสังเกต) 1. “ความผิดวรรคแรก” เป็ นของผูทาคารับรอง ้ 2. “ความผิดวรรคสอง” เป็ นของผูนาไปใช้ ้ 3. “วิชาชีพ” หมายถึง อาชีพทีตองใช้ความรูพเิ ศษ ผูกระทาผิดคือ ผูท่ี ่ ้ ้ ้ ้ ต้องใช้ความรูพเศษในการประกอบอาชีพ ซึงนอกจากแพทย์ นักกฎหมาย ้ ิ ่ นักบัญชีแล้ว ยังรวมถึงสถาปนิก หรือวิศวกรด้วย
  • 36. มาตรา 269 (ข้อสังเกต) 4. “การรับรองเอกสารอันเป็ นเท็จ” ่ ่ ่ - แพทย์ออกใบรับรองว่าไม่ปวย ความจริงปวย หรือรับรองว่าปวย ่ แต่แท้จริงไม่ปวย - จาเลยที่ 1 เป็ นเจ้าของที่ดนและเป็ นผู้กู้เงินจากธนาคาร ไม่ได้ ิ ประกอบวิชาชีพการประเมินราคาทรัพย์ ส่วนจาเลยที่ 3 เป็ นเพีย งผู้ทา รายงานการตรวจสอบทีดนเสนอต่อ ผ. โดย ผ. เป็ นผูลงลายมือชื่อรับรอง ่ ิ ้ ในฐานะผูประเมิน จาเลยที่ 3 ไม่ได้เป็ นผูทาคารับรองในเอกสารดังกล่าวอัน ้ ้ เป็ น เท็จ จ าเลยที่ 1และ 3 จึง ไม่ ม ีค วามผิด ตามมาตรา 269 (ฎี ก าที่ 2696/2521)
  • 37. มาตรา 269 (ข้อสังเกต) 5. “ผูใดโดยทุจริต” (วรรคสอง) ...ผูใช้หรืออ้างคารับรองอันเป็ นเท็จนัน.. ้ ้ ้ - นาย ก. ต้องการเงินประกันโรคมะเร็งทีทาไว้ จึงให้ นาย ข. ซึงมี ่ ่ อาชีพ เป็ น แพทย์ อ อกหนั ง สือ ตรวจโรคให้ว่ า นาย ก. เป็ น โรคมะเร็ง ซึ่งนาย ข. รู้อยู่แล้วว่า นาย ก. จะเอาหนังสือนันไปหลอกเอาเงินบริษัท ้ ประกัน ภายหลังบริษัท ประกันเชื่อตามหนังสือที่ นาย ข. ออกรับรองให้ จึงให้เงินประกันแก่ นาย ก. ไป ดังนัน ้ นาย ก. จึงมีความผิดตามมาตรา 269 วรรคสอง และนาย ข. มีความผิดตามมาตรา 269 วรรคหนึ่ง
  • 39. กศ.บป. รุน 27 รปศ. ห้อง 2 ่ 1. ด.ต.กัณฑพงศ์ 2. นายก้องตระกูล 3. น.ส.เกศรินทร์ 4. น.ส.จริยา 5. น.ส.ทองพรรณ 6. นางนารี 7. นายนิคม พัฒนานุรกษ์พงศ์ ั โกมลโรจน์ ดอกไม้หอม ท้าววรรณชาติ ถาวรรณา จันต้ะมา บุญเรือง 55223330201 55223330204 55223330205 55223330206 55223330210 55223330219 55223330220
  • 40. กศ.บป. รุน 27 รปศ. ห้อง 2 (ต่อ) ่ 8. น.ส.บุษราคัม 9. นายประกาศิต 10. ส.ต.สันติภาพ 11. นางพรไพลิน 12. นายอุดร กาสา เอียมสอาด ่ ภู่สาร ขัดธิพงษ์ เทจโสด 55223330222 55223330223 55223330233 55223330242 55223330243
  • 41. กศ.บป. รุน 28 รปศ. ห้อง 1 ่ 1. น.ส.นิศาชล จันทฆาฏ 56223330133