SlideShare a Scribd company logo
หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
โดยครูเพชรลดา สายหยุด
ส่วนประกอบของรถบังคับแบบใช้
สายก็ไม่มีอะไรมาก มีแค่ มอเตอร์
ฟันเฟื องทดรอบ แบตเตอรี่ ล้อ
ปุ่มกดสาหรับบังคับ เดินหน้า ถอย
หลัง เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา ทั้งหมด
ประกอบเข้าด้วยกัน โดยอาศัย
หลักการทางไฟฟ้าอย่างง่าย ไม่
ซับซ้อน
รถบังคับทำงำนอย่ำงไร
เมื่อกดสวิตช์ตัวบน มอเตอร์ตัวบนจะหมุน เมื่อกดสวิตช์ตัวล่างมอเตอร์ตัวล่างจะหมุน ถ้ากดสวิตช์สองตัวพร้อมกันมอเตอร์ก็จะหมุนพร้อมกัน แต่หมุนในทิศทางที่
ตรงข้ามกัน ด้วยหลักการดังกล่าว เราก็สามารถสร้างรถบังคับแบบใช้สายอย่างง่ายได้แล้ว
.
เปลี่ยนรถบังคับให้เป็ น
หุ่นยนต์
หุ่นยนต์ หรือ โรบอท (robot) คือเครื่องจักรกลชนิดหนึ่ง มีลักษณะโครงสร้าง
และรูปร่างแตกต่างกัน หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทางานในด้านต่าง ๆ ตาม
การควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคุมระบบต่างๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และ
มนุษย์ สามารถทาได้โดยมนุษย์เป็นผู้ควบคุมและทางานแบบอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์
ถูกสร้างขึ้นสาหรับงานที่มีความยากลาบากแทนมนุษย์ จากคานิยามเราสามารถกดสวิตช์
ให้รถเดินหน้า เลี้ยวซ้าย ขวา เพื่อให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่เราต้องการได้เช่นกัน
ดังนั้นจากความหมายข้างต้น ถ้ากาหนดงานที่ชัดเจนให้กับรถบังคับ เราก็สามารถเรียกได้
ว่ารถบังคับก็ทาหน้าที่เป็นหุ่นยนต์ ประเภทหนึ่งได้เหมือนกัน
.
วงจรหุ่นยนต์บังคับมืออย่ำง
ง่ำย
จากวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายของรถบังคับ
แบบใช้สาย เราสามารถปรับปรุงเพิ่มเติม
วงจรไฟฟ้าอีกเล็กน้อย ก็จะได้ วงจร
หุ่นยนต์บังคับมือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้น
บังคับให้เดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยวซ้าย เลี้ยว
ขวา รวมถึงถอยหลังและเลี้ยวซ้ายหรือ
เลี้ยวขวาได้คล่องตัว และรองรับการ
ควบคุมได้ดีขึ้น
ข้อควรระวัง เนื่องจากวงจรออกแบบให้ประกอบได้ง่ายจึงไม่มีระบบป้องกันการลัดวงจร ระหว่างควบคุมควรระวังอย่ากดปุ่มพร้อมกันมากกว่า 2 ปุ่ม จะทาให้เกิดการลัดวงจรขึ้นได้ จะทาให้แบตเตอรี่ร้อนและอายุการ
ใช้งานสั้นลง
ส่วนควบคุม จะประกอบไปด้วยแบตเตอรี่ และสวิตช์ควบคุม
.
วงจรไฟฟ
้ ำ
วงจรไฟฟ้า หมายถึง ทางเดินของกระแสไฟฟ้าซึ่งไหลมาจากแหล่งกาเนิดผ่านตัวนา และเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือ
โหลด แล้วไหลกลับไปยังแหล่งกาเนิดเดิม
จากปรากฏการณ์ทางไฟฟ้าต่างๆ ที่เกิดขึ้น จะพบว่ามีสาเหตุมาจากการไหลของไฟฟ้า สายไฟทั่วไปทาด้วยลวด
ตัวนา คือ โลหะทองแดงและอะลูมิเนียม อะตอมของโลหะมีอิเล็กตรอนอิสระ ไม่ยึดแน่นกับอะตอม จึงเคลื่อนไหว
ได้อย่างอิสระ
ถ้ามีประจุลบเพิ่มขึ้นในสายไฟ อิเล็กตรอนอิสระ 1 ตัวจะถูกดึงเข้าหาประจุไฟฟ้าบวก แล้วรวมตัวกับประจุไฟฟ้า
บวกเพื่อเป็นกลาง
ดังนั้น อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ เมื่อเกิดสภาพขาดอิเล็กตรอนจึงจ่ายประจุไฟฟ้าลบออกไปแทนที่ ทาให้เกิดการไหล
ของอิเล็กตรอนในสายไฟจนกว่าประจุไฟฟ้าบวกจะถูกทาให้เป็นกลางหมด การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือการ
ไหลของอิเล็กตรอนในสายไฟนี้เรียกว่า กระแสไฟฟ
้ ำ (Electric Current)
. ส ำ ห รับใ น ตัว น ำ ที่ เ ป็ น
ของแข็ง กระแสไฟฟ้าเกิดจากการไหล
ของอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะไหลจากขั้ว
ลบไปหาขั้วบวกเสมอ ในตัวนำที่เป็ น
ของเหลวและก๊ำซ กระแสไฟฟ้า
เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนกับ
โปรตอน โดยจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วไฟฟ้าที่มี
ประจุตรงข้าม ถ้าจะเรียกว่า กระแสไฟฟ้าคือ
การไหลของอิเล็กตรอนก็ได้ แต่ทิศทางของ
กระแสไฟฟ้าจะตรงข้ามกับการไหลของ
อิเล็กตรอน
.
ควำมหมำยของสัญลักษณ์
ทำงไฟฟ
้ ำ
.
1. แบบอนุกรม ( Series
Circuit )
เป็นการนาเอาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดหลายๆ อันมาต่อเรียงกันไปเหมือนลูกโซ่ กล่าวคือ ปลายของ
เครื่องใช้ไฟฟ้าตัวที่ 1 นาไปต่อกับต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวที่ 2 และต่อเรียงกันไปเรื่อยๆ จนหมด แล้วนาไปต่อ
เข้ากับแหล่งกาเนิด
การต่อวงจรแบบอนุกรมจะมีทางเดินของกระแสไฟฟ้าได้ทางเดียวเท่านั้น ถ้าเกิดเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวใดตัวหนึ่งเปิด
วงจรหรือขาด จะทาให้วงจรทั้งหมดไม่ทางาน
คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรอนุกรม
1.1 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเท่ากันและมีทิศทางเดียวกันตลอดทั้งวงจร
1.2 ความต้านทานรวมของวงจรจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต้านทานแต่ละตัวในวงจรรวมกัน
1.3 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร เมื่อนามารวมกันแล้วจะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกาเนิด
.
1. แบบอนุกรม ( Series
Circuit )
.
2. แบบขนำน ( Parallel
Circuit )
เป็นการนาเอาต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกๆ ตัวมาต่อรวมกัน และต่อเข้ากับแหล่งกาเนิดที่จุดหนึ่ง นาปลายสายของ
ทุกๆ ตัวมาต่อรวมกันและนาไปต่อกับแหล่งกาเนิดอีกจุดหนึ่งที่เหลือ
ซึ่งเมื่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละอันต่อเรียบร้อยแล้วจะกลายเป็นวงจรย่อย กระแสไฟฟ้าที่ไหลจะสามารถไหลได้หลาย
ทางขึ้นอยู่กับตัวของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นามาต่อขนานกัน ถ้าเกิดในวงจรมีเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวหนึ่งขาดหรือเปิดวงจร
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เหลือก็ยังสามารถทางานได้ ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัยปัจจุบันจะเป็นการต่อวงจรแบบนี้ทั้งสิ้น
คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรขนำน
2.1 กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าย่อยที่ไหลในแต่ละสาขาของวงจรรวมกัน
2.2 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร จะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกาเนิด
2.3 ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าน้อยกว่าความต้านทานตัวที่น้อยที่สุดที่ต่ออยู่ในวงจร
.
2. แบบขนำน ( Parallel
Circuit )
.
3. แบบผสม ( Compound
Circuit )
การต่อวงจรทั้งแบบอนกรมและแบบขนานเข้าไปในวงจรเดียว การต่อแบบนี้โดยทั่วไปไม่นิยมใช้กัน
เพราะเกิดความยุ่งยาก จะใช้กันแต่ในทางด้านอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่ เช่น ตัวต้านทานตัวหนึ่งต่อ
อนุกรมกับตัวต้านทานอีกตัวหนึ่ง แล้วนาตัวต้านทานทั้งสองไปต่อตัวต้านทานอีกชุดหนึ่ง
จะสังเกตเห็นได้ว่าการต่อวงจรแบบผสมนี้เป็นการนาเอาวงจรอนุกรมกับขนานมารวมกัน และสามารถ
ประยุกต์เป็นรูปแบบอื่นๆได้ ข้นอยู่กับการนาไปใช้ให้เหมาะสม เพราะการต่อแบบผสมนี้ไม่ม่ กฏเกณฑ์
ตายตัว เป็นการต่อเพื่อนาค่าที่ได้ไปใช้กับงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ในวงจรอิเล็กทรอิกส์ เป็นต้น
.
3. แบบผสม ( Compound
Circuit )
.
สรุป
ลักษณะกำรต่อวงจร
1. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม คือ การนาขั้วของอุปกรณ์มาต่อเรียงกัน เหมือนการต่อโบกิ้หรือตู้รถไฟ
2. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน คือ การนาขั้วของอุปกรณ์ทั้งหมด ที่เป็นขั้วด้านเดียวกันมาต่อรวมกัน
3. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม คือ การต่อวงจรทั้งสองแบบรวมเข้าด้วยกัน การต่อแบบนี้ต้องมีความระมัดระวัง และ
เลือกใช้ให้ถูกกับลักษณะงาน
การต่อวงจรแบบอนุกรม การต่อวงจรแบบขนาน
.
หุ่นยนต์ต้องมีหน้ำที่
รถบังคับจะเป็นหุ่นยนต์ได้จะต้องมีการ
กาหนดภาระกิจหน้าที่ให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง
ดังนั้นเพื่อให้เป็นหุ่นยนต์บังคับมือที่สมบูรณ์
จาเป็นต้องมีการพัฒนาต่อเพื่อให้หุ่นยนต์สามารถ
ทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เช่นถ้าต้องการหุ่นยนต์ที่มี
ความสามารถในการเคลื่อนย้ายสิ่งของจากที่หนึ่งไป
อีกที่หนึ่ง โดยที่สิ่งของที่หุ่นยนต์จะต้องเคลื่อนย้ายมี

More Related Content

What's hot

วิธีการสร้างสรรค์ผลงาน AR ผ่าน Zappar
วิธีการสร้างสรรค์ผลงาน AR ผ่าน Zappar วิธีการสร้างสรรค์ผลงาน AR ผ่าน Zappar
วิธีการสร้างสรรค์ผลงาน AR ผ่าน Zappar
Suwichai Phunsa
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
Pacharee Nammon
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
Pinutchaya Nakchumroon
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
Wijitta DevilTeacher
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Thaweekoon Intharachai
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
soysuwanyuennan
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณพัน พัน
 
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
MaMuiiApinya
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
Terapong Piriyapan
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
พัน พัน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 

What's hot (20)

วิธีการสร้างสรรค์ผลงาน AR ผ่าน Zappar
วิธีการสร้างสรรค์ผลงาน AR ผ่าน Zappar วิธีการสร้างสรรค์ผลงาน AR ผ่าน Zappar
วิธีการสร้างสรรค์ผลงาน AR ผ่าน Zappar
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียนแบบทดสอบก่อน – หลัง  เรียน
แบบทดสอบก่อน – หลัง เรียน
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณสื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
สื่อประกอบการสอนวิชาโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ว30104 โดยครูนิติมา รุจิเรขาสุวรรณ
 
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 

More from ssuser5adb53

การออกแบบ Portfolio
การออกแบบ Portfolioการออกแบบ Portfolio
การออกแบบ Portfolio
ssuser5adb53
 
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
ssuser5adb53
 
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlashชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
ssuser5adb53
 
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
ssuser5adb53
 
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlashแนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
ssuser5adb53
 
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ssuser5adb53
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
ssuser5adb53
 
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
ssuser5adb53
 
ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ssuser5adb53
 

More from ssuser5adb53 (9)

การออกแบบ Portfolio
การออกแบบ Portfolioการออกแบบ Portfolio
การออกแบบ Portfolio
 
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิกความรู้เรื่องงานกราฟิก
ความรู้เรื่องงานกราฟิก
 
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlashชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
ชนิดของการเคลื่อนไหวในโปรแกรมFlash
 
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
การสร้างงานแอนนิเมชั่น Ep.1
 
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlashแนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
แนวการสร้างภาพแอนนิเมชั่น+การใช้โปรแกรมFlash
 
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
ประเภทของภาพกราฟิก และไฟล์ภาพ
 
ความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซีความรู้ภาษาซี
ความรู้ภาษาซี
 
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
ส่วนประกอบของหุ่นยนต์
 
ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์ความเป็นมาของหุ่นยนต์
ความเป็นมาของหุ่นยนต์
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (6)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 

หุ่นยนต์ควบคุมด้วยมือ

  • 2. ส่วนประกอบของรถบังคับแบบใช้ สายก็ไม่มีอะไรมาก มีแค่ มอเตอร์ ฟันเฟื องทดรอบ แบตเตอรี่ ล้อ ปุ่มกดสาหรับบังคับ เดินหน้า ถอย หลัง เลี้ยวซ้าย เลี้ยวขวา ทั้งหมด ประกอบเข้าด้วยกัน โดยอาศัย หลักการทางไฟฟ้าอย่างง่าย ไม่ ซับซ้อน รถบังคับทำงำนอย่ำงไร เมื่อกดสวิตช์ตัวบน มอเตอร์ตัวบนจะหมุน เมื่อกดสวิตช์ตัวล่างมอเตอร์ตัวล่างจะหมุน ถ้ากดสวิตช์สองตัวพร้อมกันมอเตอร์ก็จะหมุนพร้อมกัน แต่หมุนในทิศทางที่ ตรงข้ามกัน ด้วยหลักการดังกล่าว เราก็สามารถสร้างรถบังคับแบบใช้สายอย่างง่ายได้แล้ว
  • 3. . เปลี่ยนรถบังคับให้เป็ น หุ่นยนต์ หุ่นยนต์ หรือ โรบอท (robot) คือเครื่องจักรกลชนิดหนึ่ง มีลักษณะโครงสร้าง และรูปร่างแตกต่างกัน หุ่นยนต์ในแต่ละประเภทจะมีหน้าที่การทางานในด้านต่าง ๆ ตาม การควบคุมโดยตรงของมนุษย์ การควบคุมระบบต่างๆ ในการสั่งงานระหว่างหุ่นยนต์และ มนุษย์ สามารถทาได้โดยมนุษย์เป็นผู้ควบคุมและทางานแบบอัตโนมัติ โดยทั่วไปหุ่นยนต์ ถูกสร้างขึ้นสาหรับงานที่มีความยากลาบากแทนมนุษย์ จากคานิยามเราสามารถกดสวิตช์ ให้รถเดินหน้า เลี้ยวซ้าย ขวา เพื่อให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่เราต้องการได้เช่นกัน ดังนั้นจากความหมายข้างต้น ถ้ากาหนดงานที่ชัดเจนให้กับรถบังคับ เราก็สามารถเรียกได้ ว่ารถบังคับก็ทาหน้าที่เป็นหุ่นยนต์ ประเภทหนึ่งได้เหมือนกัน
  • 4. . วงจรหุ่นยนต์บังคับมืออย่ำง ง่ำย จากวงจรไฟฟ้าอย่างง่ายของรถบังคับ แบบใช้สาย เราสามารถปรับปรุงเพิ่มเติม วงจรไฟฟ้าอีกเล็กน้อย ก็จะได้ วงจร หุ่นยนต์บังคับมือที่มีความสามารถเพิ่มขึ้น บังคับให้เดินหน้า ถอยหลัง เลี้ยวซ้าย เลี้ยว ขวา รวมถึงถอยหลังและเลี้ยวซ้ายหรือ เลี้ยวขวาได้คล่องตัว และรองรับการ ควบคุมได้ดีขึ้น ข้อควรระวัง เนื่องจากวงจรออกแบบให้ประกอบได้ง่ายจึงไม่มีระบบป้องกันการลัดวงจร ระหว่างควบคุมควรระวังอย่ากดปุ่มพร้อมกันมากกว่า 2 ปุ่ม จะทาให้เกิดการลัดวงจรขึ้นได้ จะทาให้แบตเตอรี่ร้อนและอายุการ ใช้งานสั้นลง ส่วนควบคุม จะประกอบไปด้วยแบตเตอรี่ และสวิตช์ควบคุม
  • 5. . วงจรไฟฟ ้ ำ วงจรไฟฟ้า หมายถึง ทางเดินของกระแสไฟฟ้าซึ่งไหลมาจากแหล่งกาเนิดผ่านตัวนา และเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือ โหลด แล้วไหลกลับไปยังแหล่งกาเนิดเดิม จากปรากฏการณ์ทางไฟฟ้าต่างๆ ที่เกิดขึ้น จะพบว่ามีสาเหตุมาจากการไหลของไฟฟ้า สายไฟทั่วไปทาด้วยลวด ตัวนา คือ โลหะทองแดงและอะลูมิเนียม อะตอมของโลหะมีอิเล็กตรอนอิสระ ไม่ยึดแน่นกับอะตอม จึงเคลื่อนไหว ได้อย่างอิสระ ถ้ามีประจุลบเพิ่มขึ้นในสายไฟ อิเล็กตรอนอิสระ 1 ตัวจะถูกดึงเข้าหาประจุไฟฟ้าบวก แล้วรวมตัวกับประจุไฟฟ้า บวกเพื่อเป็นกลาง ดังนั้น อิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ เมื่อเกิดสภาพขาดอิเล็กตรอนจึงจ่ายประจุไฟฟ้าลบออกไปแทนที่ ทาให้เกิดการไหล ของอิเล็กตรอนในสายไฟจนกว่าประจุไฟฟ้าบวกจะถูกทาให้เป็นกลางหมด การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือการ ไหลของอิเล็กตรอนในสายไฟนี้เรียกว่า กระแสไฟฟ ้ ำ (Electric Current)
  • 6. . ส ำ ห รับใ น ตัว น ำ ที่ เ ป็ น ของแข็ง กระแสไฟฟ้าเกิดจากการไหล ของอิเล็กตรอน โดยอิเล็กตรอนจะไหลจากขั้ว ลบไปหาขั้วบวกเสมอ ในตัวนำที่เป็ น ของเหลวและก๊ำซ กระแสไฟฟ้า เกิดจากการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนกับ โปรตอน โดยจะเคลื่อนที่เข้าหาขั้วไฟฟ้าที่มี ประจุตรงข้าม ถ้าจะเรียกว่า กระแสไฟฟ้าคือ การไหลของอิเล็กตรอนก็ได้ แต่ทิศทางของ กระแสไฟฟ้าจะตรงข้ามกับการไหลของ อิเล็กตรอน
  • 8. . 1. แบบอนุกรม ( Series Circuit ) เป็นการนาเอาเครื่องใช้ไฟฟ้าหรือโหลดหลายๆ อันมาต่อเรียงกันไปเหมือนลูกโซ่ กล่าวคือ ปลายของ เครื่องใช้ไฟฟ้าตัวที่ 1 นาไปต่อกับต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวที่ 2 และต่อเรียงกันไปเรื่อยๆ จนหมด แล้วนาไปต่อ เข้ากับแหล่งกาเนิด การต่อวงจรแบบอนุกรมจะมีทางเดินของกระแสไฟฟ้าได้ทางเดียวเท่านั้น ถ้าเกิดเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวใดตัวหนึ่งเปิด วงจรหรือขาด จะทาให้วงจรทั้งหมดไม่ทางาน คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรอนุกรม 1.1 กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านเท่ากันและมีทิศทางเดียวกันตลอดทั้งวงจร 1.2 ความต้านทานรวมของวงจรจะมีค่าเท่ากับผลรวมของความต้านทานแต่ละตัวในวงจรรวมกัน 1.3 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร เมื่อนามารวมกันแล้วจะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกาเนิด
  • 10. . 2. แบบขนำน ( Parallel Circuit ) เป็นการนาเอาต้นของเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกๆ ตัวมาต่อรวมกัน และต่อเข้ากับแหล่งกาเนิดที่จุดหนึ่ง นาปลายสายของ ทุกๆ ตัวมาต่อรวมกันและนาไปต่อกับแหล่งกาเนิดอีกจุดหนึ่งที่เหลือ ซึ่งเมื่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละอันต่อเรียบร้อยแล้วจะกลายเป็นวงจรย่อย กระแสไฟฟ้าที่ไหลจะสามารถไหลได้หลาย ทางขึ้นอยู่กับตัวของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นามาต่อขนานกัน ถ้าเกิดในวงจรมีเครื่องใช้ไฟฟ้าตัวหนึ่งขาดหรือเปิดวงจร เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เหลือก็ยังสามารถทางานได้ ในบ้านเรือนที่อยู่อาศัยปัจจุบันจะเป็นการต่อวงจรแบบนี้ทั้งสิ้น คุณสมบัติที่สำคัญของวงจรขนำน 2.1 กระแสไฟฟ้ารวมของวงจรขนาน จะมีค่าเท่ากับกระแสไฟฟ้าย่อยที่ไหลในแต่ละสาขาของวงจรรวมกัน 2.2 แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมส่วนต่างๆ ของวงจร จะเท่ากับแรงดันไฟฟ้าที่แหล่งกาเนิด 2.3 ความต้านทานรวมของวงจร จะมีค่าน้อยกว่าความต้านทานตัวที่น้อยที่สุดที่ต่ออยู่ในวงจร
  • 11. . 2. แบบขนำน ( Parallel Circuit )
  • 12. . 3. แบบผสม ( Compound Circuit ) การต่อวงจรทั้งแบบอนกรมและแบบขนานเข้าไปในวงจรเดียว การต่อแบบนี้โดยทั่วไปไม่นิยมใช้กัน เพราะเกิดความยุ่งยาก จะใช้กันแต่ในทางด้านอิเล็กทรอนิกส์เป็นส่วนใหญ่ เช่น ตัวต้านทานตัวหนึ่งต่อ อนุกรมกับตัวต้านทานอีกตัวหนึ่ง แล้วนาตัวต้านทานทั้งสองไปต่อตัวต้านทานอีกชุดหนึ่ง จะสังเกตเห็นได้ว่าการต่อวงจรแบบผสมนี้เป็นการนาเอาวงจรอนุกรมกับขนานมารวมกัน และสามารถ ประยุกต์เป็นรูปแบบอื่นๆได้ ข้นอยู่กับการนาไปใช้ให้เหมาะสม เพราะการต่อแบบผสมนี้ไม่ม่ กฏเกณฑ์ ตายตัว เป็นการต่อเพื่อนาค่าที่ได้ไปใช้กับงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ในวงจรอิเล็กทรอิกส์ เป็นต้น
  • 13. . 3. แบบผสม ( Compound Circuit )
  • 14. . สรุป ลักษณะกำรต่อวงจร 1. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม คือ การนาขั้วของอุปกรณ์มาต่อเรียงกัน เหมือนการต่อโบกิ้หรือตู้รถไฟ 2. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน คือ การนาขั้วของอุปกรณ์ทั้งหมด ที่เป็นขั้วด้านเดียวกันมาต่อรวมกัน 3. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม คือ การต่อวงจรทั้งสองแบบรวมเข้าด้วยกัน การต่อแบบนี้ต้องมีความระมัดระวัง และ เลือกใช้ให้ถูกกับลักษณะงาน การต่อวงจรแบบอนุกรม การต่อวงจรแบบขนาน
  • 15. . หุ่นยนต์ต้องมีหน้ำที่ รถบังคับจะเป็นหุ่นยนต์ได้จะต้องมีการ กาหนดภาระกิจหน้าที่ให้ทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนั้นเพื่อให้เป็นหุ่นยนต์บังคับมือที่สมบูรณ์ จาเป็นต้องมีการพัฒนาต่อเพื่อให้หุ่นยนต์สามารถ ทางานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เช่นถ้าต้องการหุ่นยนต์ที่มี ความสามารถในการเคลื่อนย้ายสิ่งของจากที่หนึ่งไป อีกที่หนึ่ง โดยที่สิ่งของที่หุ่นยนต์จะต้องเคลื่อนย้ายมี