SlideShare a Scribd company logo
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์
“ความสาคัญของวิทยาศาสตร์”
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โรงเรียนประชานิเวศน์
สานักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร
วิทยาศาสตร์คืออะไร?
ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
รวมทั้งเป็นองค์ความรู้ทฤษฎีและปฏิบัติ เกี่ยวกับธรรมชาติของโลก
และจักรวาล วิทยาศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ได้รับการค้นพบและต่อยอด
โดยนักวิทยาศาสตร์จากรุ่นสู่รุ่น โดยอาศัย
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
ความสาคัญของวิทยาศาสตร์
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งในสังคมโลกปัจจุบันและอนาคต
เพราะวิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับชีวิตของทุกคนทั้งในการดารงชีวิตประจาวัน
และในงานอาชีพต่างๆ เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนผลผลิตต่างๆเพื่อใช้
อานวยความสะดวกในชีวิตและการทางาน สามารถช่วยให้เกิดการพัฒนา
เทคโนโลยี นอกจากนั้น วิทยาศาสตร์ทาให้คนได้พัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิด
เป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าหา
ความรู้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ และที่สาคัญยิ่งคือ
ความรู้วิทยาศาสตร์ช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการพัฒนาเศรษฐกิจ
เพื่อดาเนินชีวิตร่วมกันในสังคมโลกได้อย่างมีความสุข
นักวิทยาศาสตร์โลก
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ (Albert Einstein)
นักฟิสิกส์ทฤษฎีชาวเยอรมันเชื้อสายยิวถือสัญชาติสวิสและ
อเมริกัน เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีสัมพัทธภาพ กลศาสตร์ควอนตัม
ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์จากการอธิบายปรากฏการณ์
โฟโตอิเล็กทริกและจากการทาประโยชน์แก่ฟิสิกส์ทฤษฎี
ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton)
นักฟิสิกส์ นักคณิตศาสตร์ และนักดาราศาสตร์ชาวอังกฤษ
ผู้คิดค้นกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน คิดค้นกฎแรงโน้มถ่วง
คิดค้นทฤษฎีสี
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
นิโคลา เทสลา (Nikola Tesla) เป็นนักประดิษฐ์ นักฟิสิกส์
และวิศวกรไฟฟ้าชาวเซอร์เบียน-อเมริกัน เป็นผู้สร้างนวัตกรรมล้ายุคที่
ยิ่งใหญ่ที่สุดคนหนึ่ง สิทธิบัตรของเทสลาและผลงานเชิงทฤษฎีของเขา
กลายเป็นพื้นฐานของระบบไฟฟ้ากระแสสลับที่ใช้งานทั่วโลกในปัจจุบัน
ได้แก่ ระบบจ่ายกาลังหลายเฟส และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ
กาลิเลโอ กาลิเลอี (Galileo Galilei)
นักคณิตศาสตร์ นักดาราศาสตร์ และนักวิทยาศาสตร์ชาว
อิตาลีผู้มีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งในการปฏิวัติวิทยาศาสตร์
สมัยใหม่ คิดค้นกฎเพนดูลัม พิสูจน์ทฤษฎีวัตถุหนักหรือเบา
ตกถึงพื้นพร้อมกันเสมอ พัฒนากล้องโทรทรรศน์ให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้นจนส่องดูดาวได้
ค้นพบดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี 4 ดวง
ค้นพบวงแหวนดาวเสาร์
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
หลุยส์ ปาสเตอร์ (Louis Pasteur)
นักเคมีและนักจุลชีววิทยาชาวฝรั่งเศส
– คิดค้นวัคซีนป้องกันพิษสุนัขบ้า
– ค้นพบจุลินทรีย์เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการเน่าเสีย
– คิดค้นวิธีการทาพาสเจอร์ไรซ์
มารี คูรี (Marie Curie) นักฟิสิกส์และนักเคมีชาว
โปแลนด์ เป็นผู้บุกเบิกงานวิจัยด้านกัมมันตภาพรังสี
และเป็นผู้ค้นพบธาตุเรเดียมที่ใช้รักษาโรคมะเร็ง
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
โทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison)
เป็นยอดนักประดิษฐ์คนสาคัญของโลก เขาแทบจะไม่เคย
ได้เรียนหนังสือในโรงเรียน แต่ทาการศึกษาค้นคว้าทดลอง
ด้วยตัวเองตั้งแต่วัยเด็กจนถึงบั้นปลายของชีวิต
ผลงานเด่น – ประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า – ประดิษฐ์เครื่องบันทึกเสียง
– ประดิษฐ์เครื่องถ่ายภาพเคลื่อนไหว – ประดิษฐ์แบตเตอรี่
ชาลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin)
เป็นนักธรรมชาติวิทยา นักธรณีวิทยา และนักชีววิทยาชาว
อังกฤษ เป็นผู้ที่มีผลงานโดดเด่นในเรื่องวิวัฒนาการของ
สิ่งมีชีวิต เสนอทฤษฎีซึ่งเป็นทั้งรากฐานของทฤษฎีวิวัฒนา
การสมัยใหม่ และหลักการพื้นฐานของกลไกการคัดเลือก
โดยธรรมชาติ
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
อริสโตเติล (Aristotle)เป็นนักปรัชญาคนสาคัญในยุคกรีก
โบราณ ในสมัยที่อริสโตเติลมีชีวิตอยู่นั้นวิทยาศาสตร์ไม่ค่อยได้รับ
ความสนใจ เขาได้ศึกษาทฤษฎีทางด้านชีววิทยาและการจาแนก
สัตว์ออกเป็น 2 พวกใหญ่คือพวกมีกระดูกสันหลัง และพวกไม่มี
กระดูกสันหลัง
อาร์คิมิดีส (Archimedes) เป็นนักคณิตศาสตร์
นักดาราศาสตร์ นักปรัชญา นักฟิสิกส์ และวิศวกรชาวกรีก
ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในบรรดานักวิทยาศาสตร์ชั้นยอด
และเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ อาร์คิมิดีสมี
ผลงานด้านวิทยาศาสตร์มากมาย เป็นผู้วางรากฐานให้แก่วิชา
สถิตยศาสตร์, สถิตยศาสตร์ของไหล และกลศาสตร์
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
ประวัติความเป็นมาของวันวิทยาศาสตร์ไทย
วันวิทยาศาสตร์แห่งชาติได้เริ่มมีขึ้นเป็น
ครั้งแรกเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2525
เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติแด่
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ 4 ) ทรงเป็น
“พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย”
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นนักดาราศาสตร์ไทยผู้ยิ่งใหญ่
ทรงการคานวณการเกิดสุริยุปราคาเต็มดวงได้อย่างแม่นยา
จุดเริ่มต้นของวันวิทยาศาสตร์แห่งชาตินี้
เพราะพระองค์ทรงคานวณการเกิด สุริยุปราคา
ที่ตาบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2411
ทรงได้ทอดพระเนตรสุริยุปราคาเต็มดวง
ที่ทรงคานวณพยากรณ์ไว้ล่วงหน้า 2 ปี ว่าจะ
เกิดในวันอังคาร ขึ้น 1 ค่า เดือน 10 ปีมะโรง
จุลศักราช 1230 โดยจะเห็นหมดดวงและชัดเจน
ที่สุด คือ ที่หมู่บ้านหัววาฬ ต.หว้ากอ อ.เมือง
จ.ประจวบคีรีขันธ์
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์
“อุทยานวิทยาศาสตร์” ที่ อาเภอบ้านหว้ากอ
กิจกรรม วันวิทยาศาสตร์ เนื่องในสัปดาห์วิทยาศาสตร์ โรงเรียนประชานิเวศน์

More Related Content

What's hot

ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
Preeyapat Lengrabam
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
Wan Ngamwongwan
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
naleesaetor
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
Ponpirun Homsuwan
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Supaluk Juntap
 

What's hot (20)

สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
ใบงานการย่อยอาหาร Version นักเรียนค่ะ
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 

Similar to วันวิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
Satapon Yosakonkun
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
วันวิทยาศาสตร์ 2556
วันวิทยาศาสตร์ 2556 วันวิทยาศาสตร์ 2556
วันวิทยาศาสตร์ 2556
ณิชัชฌา อาโยวงษ์
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช
Wichai Likitponrak
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงแผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงWichai Likitponrak
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
PornpenInta
 
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Attapon Phonkamchon
 
Brochure 2007 thai
Brochure 2007 thaiBrochure 2007 thai
Brochure 2007 thai
aoysumatta
 
Bodhi Research Journal
Bodhi Research Journal Bodhi Research Journal
Bodhi Research Journal
satisamadhi
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
Dew Thamita
 

Similar to วันวิทยาศาสตร์ (20)

วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
วิทยาศาสตร์เพื่ออะไร?
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
thesis 1
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
วันวิทยาศาสตร์ 2556
วันวิทยาศาสตร์ 2556 วันวิทยาศาสตร์ 2556
วันวิทยาศาสตร์ 2556
 
วันวิทยาศาสตร์ 2556
วันวิทยาศาสตร์ 2556 วันวิทยาศาสตร์ 2556
วันวิทยาศาสตร์ 2556
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช3ติวข้อสอบสสวทพืช
3ติวข้อสอบสสวทพืช
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริงแผ่นพับแข่งพงษ์จริง
แผ่นพับแข่งพงษ์จริง
 
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
สาระวิทย์ ฉบับที่ 41 ประจำเดือนสิงหาคม 2559
 
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
แบบรายงานประกวดสื่อปี2564
 
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
 
Brochure 2007 thai
Brochure 2007 thaiBrochure 2007 thai
Brochure 2007 thai
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
Bodhi Research Journal
Bodhi Research Journal Bodhi Research Journal
Bodhi Research Journal
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 ประจำเดือนตุลาคม 2564
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
NSTDA Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2566
 
เนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยาเนื้อหาชีววิทยา
เนื้อหาชีววิทยา
 

วันวิทยาศาสตร์