SlideShare a Scribd company logo
จัดทำโดย
นำงสำวรัชฎำพร สมบัติศรี 635050124-5
สำขำกำรศึกษำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
 ควำมสำคัญ
การคิดวิเคราะห์มีความสาคัญมากทางเคมี ซึ่งใช้ในกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ โดยสิ่งแรกคือการคิดปัญหาจากการที่เราได้สังเกตแล้ว
นาไปตั้งสมมติฐาน จากนั้นนาไปออกแบบการทดลองเพื่อหาผลการ
ทดลองในการนาไปใช้แก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลองว่า
เป็นไปตามที่ได้ตั้งสมมติฐานและเกี่ยวข้องกับผลงานวิจัยที่สอดคล้อง
กับปัญหา สุดท้ายนาไปสรุปผลการทดลอง ซึ่งในการปฏิบัติการทดลอง
จะต้องผ่านขั้นตอนในการวิเคราะห์อีกหลายขั้นตอน เช่นใช้ในการ
คานวณมวลของสาร วัดหาปริมาตรและผลที่ได้จากการทดลองโดย
ตรวจวัดจากเครื่องมือทางเคมีหรือการวิเคราะห์จากการคานวณ และใช้
ในการวิเคราะห์โครงสร้างของสารที่ได้จากการทดลอง
“คิดวิเครำะห์” เป็นกระบวนการทางปัญญา เป็นการคิดอย่าง
รอบคอบตามหลักของการประเมิน และมีหลักฐานอ้างอิงเพื่อหา
ข้อสรุปที่น่าเป็นไปได้เป็นการคิดแบบตรึกตรองและมีเหตุผลเป็น
ความสามารถในการคิดแยกแยะส่วนย่อยออกจากองค์ประกอบโดย
การใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดอย่างรอบคอบว่าประกอบไปด้วยสิ่งใด มี
ความสาคัญอย่างไร และสามารถบอกได้ว่า เรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่าง
ๆ เป็นอย่างไร มีแนวโน้มไปในทางใด เพื่อประกอบการตัดสินใจอย่าง
สมเหตุสมผล
สังเกต ตั้งสมมติฐำน
ออกแบบกำร
ทดลอง
วิเครำะห์ผล
กำรทดลอง
สรุปผลกำร
ทดลอง
1. การคิดวิเคราะห์ทางเคมี
ประเภทของกำรวิเครำะห์ทำงเคมี
การวิเคราะห์ทางเคมีโดยทั่วไปสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ
คือ การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ และการวิเคราะห์เชิงปริมาณดังนี้
1. การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (qualitativeanalysis)คือ การวิเคราะห์
ที่ต้องการตรวจสอบชนิดหรือรูปแบบของสารต่างๆที่เป็นองค์ประกอบ
ว่าประกอบด้วยไอออน โมเลกุล ธาตุ สารประกอบ หมู่ฟังก์ชัน รวมไป
ถึงลักษณะทางโครงสร้างของสารเหล่านั้นด้วย
2. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (quantitativeanalysis)คือ การวิเคราะห์
ที่ต้องการตรวจสอบหาปริมาณของธาตุที่เป็นองค์ประกอบต่างๆที่มีใน
สารตัวอย่าง
 วิธีกำรวิเครำะห์ทำงเคมี
1. วิธีการวิเคราะห์แบบดั้งเดิม (classicalmethod) คือ วิธีการวิเคราะห์ที่ใช้
อุปกรณ์พื้นฐานทางเคมี เช่น กระบอกตวง ปิเปต ขวดวัดปริมาตร และเครื่องชั่ง
เป็นต้น สาหรับหามวลของสารตัวอย่าง ได้แก่ การวิเคราะห์โดยปริมาตร เช่น การ
วิเคราะห์แบบการไทเตรต และการวิเคราะห์โดยน้าหนัก เช่น การวิเคราะห์แบบ
ตกตะกอน
2. วิธีเคราะห์แบบใช้เครื่องมือ (instrumentalmethod) คือ เป็นการวิเคราะห์
ที่อาศัยเครื่องมือที่ทันสมัย ซึ่งการวิเคราะห์อาจจะใช้เครื่องมือช่วยวิเคราะห์ใน
บางขั้นตอนหรืออาจะใช้ทั้งหมดขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของการทดลอง
2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ทางเคมี
กำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ “ critical thinking”
หมายถึง การรู้จักใช้ความคิดพิจารณาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ
ประเมินผลในเนื้อหาหรือเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาหรือข้อขัดแย้ง
โดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์ของตน เพื่อ
นาไปสู่การตัดสินในการปฏิบัติด้วยความเหมาะสมอัน
สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล
 ควำมสำคัญ
สามารถเชื่อมโยงเหตุและผลของสิ่งที่กาลังทาการทดลอง
หรือสิ่งที่ศึกษา โดยผ่านการพิสูจน์ให้เห็นหรือรับรู้ได้ด้วยข้อมูล
หรือองค์ความรู้ที่เชื่อถือได้ก่อนนาไปสู่การประเมิน และตัดสินใจ
ว่าจะเชื่อหรือเห็นแย้งในสิ่งนั้นๆเช่น การอ่านผลงานวิจัยทางเคมี
โดยการสังเคราะห์ว่างานวิจัยใดมีความน่าเชื่อถือที่สุด จากนั้น
นาไปออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาผลการทดลองที่สอดคล้องกับ
งานวิจัยที่ศึกษา
3. การคิดสร้างสรรค์ทางเคมี
ควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงวิทยำศำสตร์ คือ ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์เป็น
กระบวนการคิดและการกระทาในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และเจตคติทางวิทยาศาสตร์อันจะก่อให้เกิดผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งเป็นนามธรรมหรือ
รูปธรรม โดยเน้นถึงประโยชน์และคุณค่าต่อสังคมและส่งผลผลักดันให้โลกเจริญไป
ข้างหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป องค์ประกอบของกระบวนการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ จาแนก
ได้4 ลักษณะตามคือ
 ความคิดคล่องทางวิทยาศาสตร์ (Fluency)
 ความคิดยืดหยุ่นทางวิทยาศาสตร์ (Flexibility)
 ความคิดริเริ่มทางวิทยาศาสตร์ (Originality)
 ความคิดละเอียดอ่อนทางวิทยาศาสตร์ (Elaboration)
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการตั้งสมมติฐานและทักษะการ
ทดลองมาใช้แก้ปัญหาในลักษณะหลายแนวทางต่อการเรียนรู้การแก้ปัญหา การค้นพบ
ความรู้ใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ การทดลองที่แปลกใหม่เกี่ยวกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ
แล้วเผยแพร่ให้ผู้อื่นรู้ ตลอดจนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ได้ผลผลิตใหม่ทาง
วิทยาศาสตร์ที่มีคุณค่า และมีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิมมาใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม
ตั้งสมมติ
ฐำน
ออกแบบ
กำร
ทดลอง
4. การคิดแก้ปัญหาทางเคมี
ทักษะกำรคิดแก้ปัญหำ คือ ความสามารถในการนาความรู้ ทักษะ
และศักยภาพของผู้เรียนที่คิดอย่างมีเหตุผลรวมทั้งสามารถสร้างความรู้และใช้
วิธีหลากหลายในการแก้ปัญหา เป็นการคิดทางแก้ไขอุปสรรคที่เกิดขึ้นเพื่อให้
บรรลุถึงจุดมุ่งหมายการคิดแก้ปัญหาทางเคมีจะอ่านจากงานวิจัยโดย
1. ค้นหาต้นเหตุของปัญหา เป็นการศึกษาถึงต้นเหตุหรือปัจจัยของปัญหา
2. ค้นหาวิธีการแก้ปัญหา เป็นการแสวงหาแนวทางและทางเลือกที่
เหมาะสมในการแก้ปัญหานั้นๆ เพื่อการประเมินหาทางเลือกที่เหมาะสม
ที่สุด
3. ควบคุมกากับการทดลอง เป็นการติดตามผลการปฏิบัติเป็นระยะๆ
เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดได้
ค้นหาต้นเหตุ
ค้นหาวิธีการ
แก้ปัญหา
ควบคุมการ
ทดลอง
5. การคิดเชิงคานวณทางเคมี
กำรคิดเชิงคำนวณ (computational thinking)เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้แนว
ทางการหาคาตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถนาไปปฏิบัติได้โดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและแม่นยาช่วย
ให้สามารถสื่อสารแนวคิดกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในทางวิทยาศาสตร์การคิดเชิงคานวณได้ถูกใช้ในการวัดที่
ใช้เครื่องมือและการคานวณค่าของผลการทดลองเพื่อเกิดความแม่นยา มี 4 เสาหลักของการคิดเชิงคานวณคือ
 Decomposition(กำรย่อยปัญหำ)หมายถึงการย่อยปัญหาหรือระบบที่ซับซ้อนออกเป็นส่วนเล็กๆเพื่อให้ง่ายต่อ
การจัดการและแก้ปัญหา
 Pattern Recognition (กำรจดจำรูปแบบ) คือการหารูปแบบหรือลักษณะที่เหมือนกันของปัญหาเล็กๆที่ถูกย่อย
ออกมา
 Abstraction(ควำมคิดด้ำนนำมธรรม) คือการมุ่งความคิดไปที่ข้อมูลสาคัญ และคัดกรองส่วนที่ไม่เกี่ยวข้อง
ออกไป เพื่อให้จดจ่อเฉพาะสิ่งที่เราต้องการจะทา
 AlgorithmDesign(กำรออกแบบอัลกอริทึ่ม)คือการพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนหรือสร้าง
หลักเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อดาเนินตามทีละขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา
การคิด
วิเคราะห์
การคิดอย่าง
วิจารณญาณ
การคิด
สร้างสรรค์
การคิดแก้ปัญหา
การคิดเชิง
คานวณ
ความสำคัญของการคิด

More Related Content

What's hot

การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
NU
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศThank Chiro
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
Somporn Amornwech
 
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนKhemjira Plongsawai
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6somjit003
 
โครงงานคอมพิวเตอร์PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์PDFโครงงานคอมพิวเตอร์PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์PDF
nuttavorn kesornsiri
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
Manas Panjai
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkSani Satjachaliao
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
GolFy Faint Smile
 
Hypotheses
HypothesesHypotheses
Hypotheses
iamthesisTH
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
It1
It1It1

What's hot (15)

การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
การสร้างแบบทดสอบอัตนัยประยุกต์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
3.ประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์
 
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนการเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอน
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
โครงงานคอมพิวเตอร์PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์PDFโครงงานคอมพิวเตอร์PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์PDF
 
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net การงานฯ ม.3 ชุด 1
 
Research11 conceptual framework
Research11 conceptual frameworkResearch11 conceptual framework
Research11 conceptual framework
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
Hypotheses
HypothesesHypotheses
Hypotheses
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
เทคโนโลยีกับการแก้ปัญหา ป.6 ง3.1
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
It1
It1It1
It1
 
ชุดที่50
ชุดที่50ชุดที่50
ชุดที่50
 

Similar to ความสำคัญของการคิด

วิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapวิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapนิพ พิทา
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
จงดี จันทร์เรือง
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Paranee Srikhampaen
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
Software Park Thailand
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
Aj Ob Panlop
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
JeeraJaree Srithai
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
sudaphud
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
rubtumproject.com
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2Utsani Yotwilai
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Okสถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
Chanakan Sojayapan
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
Chanakan Sojayapan
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศน้อย วิภาภรณ์
 

Similar to ความสำคัญของการคิด (20)

วิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapวิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design map
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..ข้อสอบวิช..
ข้อสอบวิช..
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
แผนการเรียนรู้งานช่าง 2
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Okสถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย Ok
 
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
สถิติประยุกต์สำหรับงานวิจัย 169
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

ความสำคัญของการคิด

  • 2.  ควำมสำคัญ การคิดวิเคราะห์มีความสาคัญมากทางเคมี ซึ่งใช้ในกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ โดยสิ่งแรกคือการคิดปัญหาจากการที่เราได้สังเกตแล้ว นาไปตั้งสมมติฐาน จากนั้นนาไปออกแบบการทดลองเพื่อหาผลการ ทดลองในการนาไปใช้แก้ปัญหา วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการทดลองว่า เป็นไปตามที่ได้ตั้งสมมติฐานและเกี่ยวข้องกับผลงานวิจัยที่สอดคล้อง กับปัญหา สุดท้ายนาไปสรุปผลการทดลอง ซึ่งในการปฏิบัติการทดลอง จะต้องผ่านขั้นตอนในการวิเคราะห์อีกหลายขั้นตอน เช่นใช้ในการ คานวณมวลของสาร วัดหาปริมาตรและผลที่ได้จากการทดลองโดย ตรวจวัดจากเครื่องมือทางเคมีหรือการวิเคราะห์จากการคานวณ และใช้ ในการวิเคราะห์โครงสร้างของสารที่ได้จากการทดลอง “คิดวิเครำะห์” เป็นกระบวนการทางปัญญา เป็นการคิดอย่าง รอบคอบตามหลักของการประเมิน และมีหลักฐานอ้างอิงเพื่อหา ข้อสรุปที่น่าเป็นไปได้เป็นการคิดแบบตรึกตรองและมีเหตุผลเป็น ความสามารถในการคิดแยกแยะส่วนย่อยออกจากองค์ประกอบโดย การใคร่ครวญ ไตร่ตรอง คิดอย่างรอบคอบว่าประกอบไปด้วยสิ่งใด มี ความสาคัญอย่างไร และสามารถบอกได้ว่า เรื่องราวหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ เป็นอย่างไร มีแนวโน้มไปในทางใด เพื่อประกอบการตัดสินใจอย่าง สมเหตุสมผล สังเกต ตั้งสมมติฐำน ออกแบบกำร ทดลอง วิเครำะห์ผล กำรทดลอง สรุปผลกำร ทดลอง 1. การคิดวิเคราะห์ทางเคมี
  • 3. ประเภทของกำรวิเครำะห์ทำงเคมี การวิเคราะห์ทางเคมีโดยทั่วไปสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ลักษณะ คือ การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ และการวิเคราะห์เชิงปริมาณดังนี้ 1. การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (qualitativeanalysis)คือ การวิเคราะห์ ที่ต้องการตรวจสอบชนิดหรือรูปแบบของสารต่างๆที่เป็นองค์ประกอบ ว่าประกอบด้วยไอออน โมเลกุล ธาตุ สารประกอบ หมู่ฟังก์ชัน รวมไป ถึงลักษณะทางโครงสร้างของสารเหล่านั้นด้วย 2. การวิเคราะห์เชิงปริมาณ (quantitativeanalysis)คือ การวิเคราะห์ ที่ต้องการตรวจสอบหาปริมาณของธาตุที่เป็นองค์ประกอบต่างๆที่มีใน สารตัวอย่าง  วิธีกำรวิเครำะห์ทำงเคมี 1. วิธีการวิเคราะห์แบบดั้งเดิม (classicalmethod) คือ วิธีการวิเคราะห์ที่ใช้ อุปกรณ์พื้นฐานทางเคมี เช่น กระบอกตวง ปิเปต ขวดวัดปริมาตร และเครื่องชั่ง เป็นต้น สาหรับหามวลของสารตัวอย่าง ได้แก่ การวิเคราะห์โดยปริมาตร เช่น การ วิเคราะห์แบบการไทเตรต และการวิเคราะห์โดยน้าหนัก เช่น การวิเคราะห์แบบ ตกตะกอน 2. วิธีเคราะห์แบบใช้เครื่องมือ (instrumentalmethod) คือ เป็นการวิเคราะห์ ที่อาศัยเครื่องมือที่ทันสมัย ซึ่งการวิเคราะห์อาจจะใช้เครื่องมือช่วยวิเคราะห์ใน บางขั้นตอนหรืออาจะใช้ทั้งหมดขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของการทดลอง
  • 4. 2. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ ทางเคมี กำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ “ critical thinking” หมายถึง การรู้จักใช้ความคิดพิจารณาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และ ประเมินผลในเนื้อหาหรือเหตุการณ์ที่เป็นปัญหาหรือข้อขัดแย้ง โดยอาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์ของตน เพื่อ นาไปสู่การตัดสินในการปฏิบัติด้วยความเหมาะสมอัน สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล  ควำมสำคัญ สามารถเชื่อมโยงเหตุและผลของสิ่งที่กาลังทาการทดลอง หรือสิ่งที่ศึกษา โดยผ่านการพิสูจน์ให้เห็นหรือรับรู้ได้ด้วยข้อมูล หรือองค์ความรู้ที่เชื่อถือได้ก่อนนาไปสู่การประเมิน และตัดสินใจ ว่าจะเชื่อหรือเห็นแย้งในสิ่งนั้นๆเช่น การอ่านผลงานวิจัยทางเคมี โดยการสังเคราะห์ว่างานวิจัยใดมีความน่าเชื่อถือที่สุด จากนั้น นาไปออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาผลการทดลองที่สอดคล้องกับ งานวิจัยที่ศึกษา
  • 5. 3. การคิดสร้างสรรค์ทางเคมี ควำมคิดสร้ำงสรรค์ทำงวิทยำศำสตร์ คือ ความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์เป็น กระบวนการคิดและการกระทาในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทางวิทยาศาสตร์อันจะก่อให้เกิดผลผลิตทางวิทยาศาสตร์ทั้งเป็นนามธรรมหรือ รูปธรรม โดยเน้นถึงประโยชน์และคุณค่าต่อสังคมและส่งผลผลักดันให้โลกเจริญไป ข้างหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป องค์ประกอบของกระบวนการคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ จาแนก ได้4 ลักษณะตามคือ  ความคิดคล่องทางวิทยาศาสตร์ (Fluency)  ความคิดยืดหยุ่นทางวิทยาศาสตร์ (Flexibility)  ความคิดริเริ่มทางวิทยาศาสตร์ (Originality)  ความคิดละเอียดอ่อนทางวิทยาศาสตร์ (Elaboration) โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ทักษะการตั้งสมมติฐานและทักษะการ ทดลองมาใช้แก้ปัญหาในลักษณะหลายแนวทางต่อการเรียนรู้การแก้ปัญหา การค้นพบ ความรู้ใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ การทดลองที่แปลกใหม่เกี่ยวกับปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ แล้วเผยแพร่ให้ผู้อื่นรู้ ตลอดจนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ได้ผลผลิตใหม่ทาง วิทยาศาสตร์ที่มีคุณค่า และมีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิมมาใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม ตั้งสมมติ ฐำน ออกแบบ กำร ทดลอง
  • 6. 4. การคิดแก้ปัญหาทางเคมี ทักษะกำรคิดแก้ปัญหำ คือ ความสามารถในการนาความรู้ ทักษะ และศักยภาพของผู้เรียนที่คิดอย่างมีเหตุผลรวมทั้งสามารถสร้างความรู้และใช้ วิธีหลากหลายในการแก้ปัญหา เป็นการคิดทางแก้ไขอุปสรรคที่เกิดขึ้นเพื่อให้ บรรลุถึงจุดมุ่งหมายการคิดแก้ปัญหาทางเคมีจะอ่านจากงานวิจัยโดย 1. ค้นหาต้นเหตุของปัญหา เป็นการศึกษาถึงต้นเหตุหรือปัจจัยของปัญหา 2. ค้นหาวิธีการแก้ปัญหา เป็นการแสวงหาแนวทางและทางเลือกที่ เหมาะสมในการแก้ปัญหานั้นๆ เพื่อการประเมินหาทางเลือกที่เหมาะสม ที่สุด 3. ควบคุมกากับการทดลอง เป็นการติดตามผลการปฏิบัติเป็นระยะๆ เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดได้ ค้นหาต้นเหตุ ค้นหาวิธีการ แก้ปัญหา ควบคุมการ ทดลอง
  • 7. 5. การคิดเชิงคานวณทางเคมี กำรคิดเชิงคำนวณ (computational thinking)เป็นกระบวนการวิเคราะห์ปัญหา เพื่อให้ได้แนว ทางการหาคาตอบอย่างเป็นขั้นตอนที่สามารถนาไปปฏิบัติได้โดยบุคคลหรือคอมพิวเตอร์อย่างถูกต้องและแม่นยาช่วย ให้สามารถสื่อสารแนวคิดกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในทางวิทยาศาสตร์การคิดเชิงคานวณได้ถูกใช้ในการวัดที่ ใช้เครื่องมือและการคานวณค่าของผลการทดลองเพื่อเกิดความแม่นยา มี 4 เสาหลักของการคิดเชิงคานวณคือ  Decomposition(กำรย่อยปัญหำ)หมายถึงการย่อยปัญหาหรือระบบที่ซับซ้อนออกเป็นส่วนเล็กๆเพื่อให้ง่ายต่อ การจัดการและแก้ปัญหา  Pattern Recognition (กำรจดจำรูปแบบ) คือการหารูปแบบหรือลักษณะที่เหมือนกันของปัญหาเล็กๆที่ถูกย่อย ออกมา  Abstraction(ควำมคิดด้ำนนำมธรรม) คือการมุ่งความคิดไปที่ข้อมูลสาคัญ และคัดกรองส่วนที่ไม่เกี่ยวข้อง ออกไป เพื่อให้จดจ่อเฉพาะสิ่งที่เราต้องการจะทา  AlgorithmDesign(กำรออกแบบอัลกอริทึ่ม)คือการพัฒนาแนวทางแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนหรือสร้าง หลักเกณฑ์ขึ้นมาเพื่อดาเนินตามทีละขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา