SlideShare a Scribd company logo
1 of 1360
Download to read offline
( . .   )




 . .
( . .         )
ISBN 978-616-7585-10-9


    .                         (                         ,                     ““       ””)
                     ..

                      ..
(       -                 =           )

    .                                                           (,        +              =    ,   )
                -     ..              -
                     ..
(                     )
                      ..
    .                                     (         .                ; [ ]+ ,        +[ ]+        = ,       )
                                  —                                                ..               ,
(                                                                )
-                   . .                                     (                                           )
-                                              ..                     .                      ..




            :
นิทานพจน
                            (ในการพิมพครั้งที่ ๑ ของฉบับขอมูลคอมพิวเตอร)

        หนังสือ พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย นี้ ก็คือ พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ นั่นเอง แต
ในการพิมพครั้งใหมนี้ ไดตัดปรับชื่อใหสั้นเขา เพื่อจํางายเรียกไดสะดวก
        นับแตคณะระดมธรรม และธรรมสถานจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดพิมพหนังสือนี้ขึ้นเปนครั้ง
แรก เสร็จเมื่อวันวิสาขบูชา พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึงบัดนี้ เกือบเต็ม ๓๐ ป ระหวางกาลที่ผานมา ไดมีการ
พิมพซ้ําหลายครั้ง แตพิมพไดเพียงซ้ําตามเดิม และการพิมพมีคุณภาพดอย เนื่องจากเมื่อแรกพิมพ
นั้น การพิมพอยางกาวหนาที่สุด มีเพียงระบบคอมพิวกราฟก ที่จัดทําเปนแผนอารตเวิรค ซึ่งคงอยูไม
นานก็ผพังไป แลวตอจากนั้น ตองใชวิธีถายภาพจากหนังสือรุนเกา โดยเลือกหนังสือเลมที่เห็นวาอาน
         ุ
ชัดที่สุดเทาที่จะหาไดมาถายแบบพิมพใชกันอยางพอใหเปนไป
        ระหวางนั้น ผูศรัทธามีน้ําใจหลายทาน หลายคณะ ไดพยายามนําขอมูลหนังสือ พุทธธรรม
ฉบับปรับปรุงและขยายความ นั้น จัดพิมพเปนขอมูลคอมพิวเตอร และกาวไปไดมาก แตมีขอติดขัดที่
ซับซอนบางอยาง ที่ทําใหไมลุลวง จนกระทั่งวันหนึ่ง ไดทราบวา นายแพทยณรงค เลาหวิรภาพ กําลัง
ดําเนินการนําขอมูลหนังสือนี้ลงในคอมพิวเตอร ที่จังหวัดเชียงใหม แมวาตอมา สํานักคอมพิวเตอร
มหาวิทยาลัยมหิดลจะไดนําขอมูล พุทธธรรมฯ ลงในโปรแกรมพระไตรปฎกคอมพิวเตอร BUDSIR VI
เสร็จสิ้นอยางรวดเร็วใน พ.ศ. ๒๕๕๐ แตคุณหมอณรงคก็ยังทํางานของตนเปนอิสระตอไป
        ในที่สุด ณ วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ขณะที่ผูเขียนพํานักอยูที่สถานพํานักสงฆสหธรรม
วาสี อ.ดานชาง จ.สุพรรณบุรี นายแพทยณรงค เลาหวิรภาพ ไดเดินทางไปกับคุณสุรเดช พรทวีทัศน
(ผูตนคิดสายนี้) และคุณนริศ จรัสจรรยาวงศ นําขอมูลคอมพิวเตอรของหนังสือ พุทธธรรม ฉบับ
ปรับปรุงและขยายความ ที่จัดเรียงครบจบเลมแลว พรอมทั้งดัชนี ไปถวาย
        เวลาผานมา เมื่อผูเขียนพํานักอยูที่ศาลากลางสระ สถานพํานักสงฆสายใจธรรม เขาสําโรงดง
ยาง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ติดตอกันอีก ๒ พรรษา หลังสิ้นพรรษาแรกแลว ถึงวันที่ ๒๙
ธันวาคม ๒๕๕๓ จึงไดมีโอกาสเริ่มงานตรวจชําระขอมูลคอมพิวเตอรของหนังสือ พุทธธรรมฯ ที่ไดรับ
ถวายไวครึ่งปเศษแลวนั้น และเพิ่มเติมจัดปรับใหพรอมที่จะพิมพเปนเลมหนังสือ
        ประจวบวาตลอดชวงเวลาทํางานนี้ อาการอาพาธโรคตางๆ ทั้งเกาและใหม ไดรุนแรงขึ้น กับทั้ง
โรคติดเชื้อในกระแสโลหิตที่คอนขางเสี่ยงชีวิต ก็แทรกซอนเขามา เปนเหตุใหงานไมราบรื่นบางในบาง
ชวง แตในที่สุด งานตรวจชําระเนื้อหนังสือก็เสร็จจบเลมเมื่อขึ้นเดือนกันยายน ๒๕๕๔ และไดสง
ขอมูลเนื้อหนังสือไปใหคุณหมอณรงคจัดปรับ (update) ดัชนีใหลงตัว
        โดยทั่ ว ไป เนื้ อ หนั ง สื อ พุ ท ธธรรมฯ นี้ ก็ ค งตามเดิม แต เ มื่ อ ทํ า งานตรวจชํ า ระและใช ข อ มู ล
คอมพิวเตอร เปนโอกาสที่จะจัดปรับไดสะดวก จึงไดจัดรูปใหอานงายขึ้น โดยเฉพาะซอยยอหนาถี่ข้ึน
อยางมาก และไดแทรกเพิ่มคําอธิบายในที่ตางๆ ตามสมควร
ข                                                                                      พุทธธรรม

         ที่ควรสังเกตคือ ไดนํา “บทความประกอบ” ทั้งหมดของภาค ๑ แยกออกไปจัดรวมไวตางหาก
เปนภาค ๓ คืออยูทายเลม และไดเพิ่มบทความประกอบอีก ๑ บท (บทความประกอบที่ ๖: ความสุข
๒: ฉบับประมวลความ) เปนบทสุดทาย ทําใหหนังสือนี้มีจํานวนบททั้งเลมเพิ่มจาก ๒๒ เปน ๒๓ บท
         อนึ่ง ใน พุทธธรรมฯ นี้ มีตารางและภาพหลายแหง เมื่อถายภาพจากหนังสือเกา ก็ไมชัด พระ
ชัยยศ พุทฺธิวโร จึงไดเขียนตารางและภาพเหลานั้นแทนให ๒๔ หนวย อีกทั้งตอมาไดมาพักไมไกลกัน
บนภูเขา เมื่อเห็นภาพใดไมชด ก็ทําใหมให และเมื่อเนื้อหนังสือเสร็จ ก็ไดชวยอานพิสจนอักษรดวย
                                ั                                                   ู
         ในที่สุด เมื่อมองรวมทั้งเลม ชื่อเดิมของหนังสือที่วา พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ
นั้นยืดยาวเกินไป จึงเรียกใหมใหงายและสะดวกขึ้นเปน พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย
         มีความประจวบพอดีเปนศรีศุภกาล ที่ทุกอยางจําเพาะมาลงตัวกันเองใหหนังสือ พุทธธรรม
ฉบับปรับขยาย นี้เสร็จ ในชวงแหงมหามงคลสมัย เฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา ใน
วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔
         โดยเฉพาะงานนี้ ดังที่กลาวแลว เปนการจัดการเนื้อหนังสือที่เปนขอมูลคอมพิวเตอร ซึ่งตอง
อาศัยอุปกรณการทํางานที่มีราคาสูงเปนหมื่นๆ บาท คือ เครื่องคอมพิวเตอร พรอมทั้งสวนชุดคําสั่ง
หรือซอฟตแวร จําเพาะวา ในป ๒๕๕๓ ทั้งตัวเครื่องคอมพิวเตอรที่ไดใชมาก็เสีย คงหมดอายุ และ
ซอฟตแวรที่มีอยูก็ลาสมัยมาก ใชทํางานขอมูลคอมพิวเตอรที่คุณหมอณรงคจัดทําและนํามาถวาย
ไมได จึงไดอาศัยไวยาวัจกรคือลูกศิษย ผูถือบัญชีนิตยภัตหลวง จัดจายไดอุปกรณ ๒ อยางนั้นมา
เปนอันใหทํางานสําเร็จไดดวยพระบรมราชูปถัมภที่สืบมาตามราชประเพณี จึงถือความสําเร็จแหง
หนังสือธรรมทานนี้ เปนการถวายพระพรอนุโมทนาพระราชกุศล ในมหามงคลสมัยอันพิเศษที่มาถึง
         การทําหนังสืออันเปนสาระของงาน สําเร็จในชวงมหามงคลสมัย เฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๗
รอบ ดังไดกลาว สวนการพิมพหนังสืออันเปนขั้นที่จะทําสาระนั้นใหปรากฏและบังเกิดประโยชนแก
มหาชน เปนภารกิจตางหาก ซึ่งสืบตอออกไปจากความเสร็จสิ้นของสาระนั้น และการพิมพนั้นมา
ลุลวงใน พ.ศ. ๒๕๕๕ อันเปนกาละที่บรรจบ ๒๖ ศตวรรษแหงการประดิษฐานพระพุทธธรรม ที่นับ
แตการบรรลุโพธิญาณ และการทรงแสดงปฐมเทศนา ของพระสัมมาสัมพุทธเจา
         การพิมพหนังสือ พุทธธรรมฯ อันใชขอมูลที่ตรวจจัดในคอมพิวเตอรนี้ เปนธรรมทานครั้งพิเศษ
ซึ่งสําเร็จดวยทุนบริจาคตามพินัยกรรมของ น.ส. ชมพูนุท กมลโชติ ในกองทุน ป. อ. ปยุตฺโต เพื่อ
เชิด ชูธรรม ที่คุณหญิงกระจางศรี รักตะกนิษฐ ไดตั้งไว และทุนบริจาคตามมฤดกปณิธานของ
น.ส. ชุณหรัชน สวัสดิฤกษ ทั้งนี้ เปนกุศลกิริยาของผูศรัทธา ที่ไดขวนขวายสนองบุญเจตนาของทาน
ผูที่ไดตั้งมโนปณิธิไว นับวาเปนความรวมใจในการทํากุศลใหญครั้งสําคัญ
         บัดนี้ ในวาระลุปริโยสานแหงงานธรรมทานที่ตั้งไว ขอทุกทานผูเกื้อหนุนในบุญการ จงเจริญ
ดวยความเกษมสันตและสรรพกุศล ขอสัทธรรมจงรุงเรืองแผไพศาล เพื่อความเจริญไพบูลยแหง
ประโยชนสุขของปวงประชาตลอดกาลยืนนาน

                                               พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)
                                                   ๑๙ พ.ย. ๒๕๕๔ – ๕ ม.ค. ๒๕๕๕
 

                              คํานํา ในกา มพครังที่ ๑ นี้ ไดพิมพไวดวยในกา มพทุกครั้งตอจาก ้นตลอดมา
                                       การพิ ้                          ารพิ                ากนั
แมในการพิมพครั้งนี้ี ก็รักษาไว โดยถือต ่จําไดวา ศาสต
                                        ตามที             ตราจารย ดร. ระวี ภ ไล เคยกลาวเหมือนแสดงฉันทะ หรืรือบอกเลาบุญเจตนาไ
                                                                             ภาวิ            หมื                             าไว
                       ในคราวที่ทานและค มพ พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและข
                                        คณะพิ           รม                  ะขยายความ ครั้งแรก เมือ พ.ศ. ๒๕๒๕
                                                                                              ก ่           ๕
อักษรยอชื่อคัมภีร*
                                                เรียงตามอักขรวิธีแหงมคธภาษา
                                         (ที่พิมพตัวเอน คือ คัมภีรในพระไตรปฎก)

องฺ.อ.         องฺคุตฺตรนิกาย อฏฺฐกถา (มโนรถปูรณี)                 ขุทฺทก.อ.      ขุทฺทกปาฐ อฏฺฐกถา (ปรมตฺถโชติกา)
องฺ.อฏก.     องฺคตฺตรนิกาย อฏกนิปาต
                    ุ                                              จริยา.อ.       จริยาปิฏก อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี)
องฺ.เอก.       องฺคุตฺตรนิกาย เอกนิปาต                             ชา.อ.          ชาตกฏฺฐกถา
องฺ.เอกาทสก.   องฺคุตฺตรนิกาย เอกาทสกนิปาต                         เถร.อ.         เถรคาถา อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี)
องฺ.จตุกฺก.    องฺคุตฺตรนิกาย จตุกฺกนิปาต                          เถรี.อ.        เถรีคาถา อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี)
องฺ.ฉกฺก.      องฺคุตฺตรนิกาย ฉกฺกนิปาต                            ที.อ.          ทีฆนิกาย อฏฺฐกถา (สุมงฺคลวิลาสินี)
องฺ.ติก.       องฺคุตฺตรนิกาย ติกนิปาต                             ที.ปา.         ทีฆนิกาย ปาฏิกวคฺค
องฺ.ทสก.       องฺคุตฺตรนิกาย ทสกนิปาต                             ที.ม.          ทีฆนิกาย มหาวคฺค
องฺ.ทุก.       องฺคุตฺตรนิกาย ทุกนิปาต                             ที.สี.         ทีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺค
องฺ.นวก.       องฺคุตฺตรนิกาย นวกนิปาต                             ธ.อ.           ธมฺมปทฏฺฐกถา
องฺ.ปฺจก.     องฺคุตฺตรนิกาย ปฺจกนิปาต                           นิทฺ.อ.        นิทฺเทส อฏฺฐกถา (สทฺธมฺมปชฺโชติกา)
องฺ.สตฺตก.     องฺคุตฺตรนิกาย สตฺตกนิปาต                           ปญฺจ.อ.        ปญฺจปกรณ อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี)
อป.อ.          อปทาน อฏฺฐกถา (วิสุทฺธชนวิลาสินี)                   ปฏิสํ.อ.       ปฏิสมฺภิทามคฺค อฏฺฐกถา (สทฺธมฺมปกาสินี)
อภิ.ก.         อภิธมฺมปฏก กถาวตฺถุ                                เปต.อ.         เปตวตฺถุ อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี)
อภิ.ธา.        อภิธมฺมปฏก ธาตุกถา                                 พุทฺธ.อ.       พุทฺธวํส อฏฺฐกถา (มธุรตฺถวิลาสินี)
อภิ.ป.         อภิธมฺมปฏก ปฏาน                                  ม.อ.           มชฺฌิมนิกาย อฏฺฐกถา (ปปญฺจสูทนี)
อภิ.ปุ.        อภิธมฺมปฏก ปุคฺคลปฺตฺติ                          ม.อุ.          มชฺฌิมนิกาย อุปริปณฺณาสก
อภิ.ยมก.       อภิธมฺมปฏก ยมก                                     ม.ม.           มชฺฌิมนิกาย มชฺฌิมปณฺณาสก
อภิ.วิ.        อภิธมฺมปฏก วิภงฺค                                  ม.มู.          มชฺฌมนิกาย มูลปณฺณาสก
                                                                                      ิ
อภิ.สํ.        อภิธมฺมปฏก ธมฺมสงฺคณี                              มงฺคล.         มงฺคลตฺถทีปนี
อิติ.อ.        อิติวุตตก อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี)
                      ฺ                                            มิลินฺท.       มิลินฺทปญฺหา
อุ.อ.,อุทาน.อ. อุทาน อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี)    วินย.         วินยปฏก
ขุ.อป.        ขุทฺทกนิกาย อปทาน               วินย.อ.       วินย อฏฺฐกถา (สมนฺตปาสาทิกา)
ขุ.อิติ.      ขุทฺทกนิกาย อิติวุตฺตก          วินย.ฏีกา วินยฏฺฐกถา ฏีกา (สารตฺถทีปนี)
ขุ.อุ.        ขุทฺทกนิกาย อุทาน               วิภงฺค.อ.     วิภงฺค อฏฺฐกถา (สมฺโมหวิโนทนี)
ขุ.ขุ.        ขุทฺทกนิกาย ขุททกปา
                             ฺ                วิมาน.อ.      วิมานวตฺถุ อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี)
ขุ.จริยา.     ขุทฺทกนิกาย จริยาปฏก           วิสุทฺธิ.     วิสุทฺธิมคฺค
ขุ.จู.        ขุทฺทกนิกาย จูฬนิทฺเทส          วิสุทฺธิ.ฏีกา วิสุทฺธิมคฺค มหาฏีกา (ปรมตฺถมญฺชุสา)
ขุ.ชา.        ขุทฺทกนิกาย ชาตก                สงฺคณี อ. สงฺคณี อฏฺฐกถา (อฏฺฐสาลินี)
ขุ.เถร.       ขุทฺทกนิกาย เถรคาถา             สงฺคห.        อภิธมฺมตฺถสงฺคห
ขุ.เถรี.      ขุทฺทกนิกาย เถรีคาถา            สงฺคห.ฏีกา อภิธมฺมตฺถสงฺคห ฏีกา (อภิธมฺมตฺถวิภาวินี)
ขุ.ธ.         ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปท              สํ.อ.         สํยุตฺตนิกาย อฏฺฐกถา (สารตฺถปกาสินี)
ขุ.ปฏิ.       ขุทฺทกนิกาย ปฏิสมฺภิทามคฺค      สํ.ข.         สํยุตฺตนิกาย ขนฺธวารวคฺค
ขุ.เปต.       ขุทฺทกนิกาย เปตวตฺถุ            ส.นิ.         สํยุตฺตนิกาย นิทานวคฺค
ขุ.พุทฺธ.     ขุทฺทกนิกาย พุทฺธวํส            ส.ม.          สํยุตฺตนิกาย มหาวารวคฺค
ขุ.ม.,ขุ.มหา. ขุทฺทกนิกาย มหานิทฺเทส          ส.ส.          สํยุตฺตนิกาย สคาถวคฺค
ขุ.วิมาน.     ขุทฺทกนิกาย วิมานวตฺถุ          สํ.สฬ.        สํยุตฺตนิกาย สฬายตนวคฺค
ขุ.สุ.        ขุทฺทกนิกาย สุตฺตนิปาต          สุตฺต.อ.      สุตฺตนิปาต อฏฺฐกถา (ปรมตฺถโชติกา)
____________________________________________________________ 
* หลังจากพิมพหนังสือนี้เปนฉบับขยาย ครั้งแรก ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ แลว มีคัมภีรที่ตีพิมพในอักษรไทยทยอยเพิ่มขึ้นมาไมนอย
  แตในการพิมพครั้งนี้ ยังคงไวตามบัญชีเกา; สําหรับคัมภีรชั้นฎีกา แมที่ไมแสดงไว ก็พึงเขาใจไดเอง ตามแนววิธีในการใชคําวา
  “ฏีกา” หรืออักษรยอ “ฏี.” ไปตอทายอักษรยอของคัมภีรในพระไตรปฎก เปน ที.ฏีกา หรือ ที.ฏี. เปนตน ทํานองเดียวกับอรรถกถา ที่
  นํา อ. ไปตอทายเปน ที.อ., ม.อ., สํ.อ. ฯลฯ
สารบัญบท
ความนํา:                                                     ๑
    ๑
ภาค มัชเฌนธรรมเทศนา                                         ๑๑
ตอน ๑: ชีวิต คืออะไร?
บทที่ ๑ ขันธ ๕                                             ๑๓
บทที่ ๒ อายตนะ ๖                                            ๒๘
ตอน ๒: ชีวิต เป็นอย่างไร?
บทที่ ๓ ไตรลักษณ                                           ๖๒
ตอน ๓: ชีวิต เป็นไปอย่างไร?
บทที่ ๔ ปฏิจจสมุปบาท                                       ๑๕๒
บทที่ ๕ กรรม                                               ๒๓๔
ตอน ๔: ชีวิต ควรให้เป็นอย่างไร?
บทที่ ๖ วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน                 ๓๒๕
บทที่ ๗ ประเภทและระดับ แหงนิพพานและผูบรรลุนิพพาน         ๓๘๕
บทที่ ๘ ขอควรทราบเพิ่มเติม เพื่อเสริมความเขาใจ           ๔๒๖
บทที่ ๙ หลักการสําคัญ ของการบรรลุนิพพาน                    ๔๔๒
บทที่ ๑๐ บทสรุป เรื่องเกี่ยวกับนิพพาน                      ๔๘๗
    ๒
ภาค มัชฌิมาปฏิปทา                                          ๕๑๑
ตอน ๕: ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร?
บทที่ ๑๑ บทนํา ของมัชฌิมาปฏิปทา                            ๕๑๓
บทที่ ๑๒ บุพภาคของการศึกษา ๑: ปรโตโฆสะที่ดี = กัลยาณมิตร   ๕๖๓
บทที่ ๑๓ บุพภาคของการศึกษา ๒: โยนิโสมนสิการ                ๖๐๗
บทที่ ๑๔ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๑: หมวดปญญา           ๖๘๗
บทที่ ๑๕ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๒: หมวดศีล             ๗๑๐
บทที่ ๑๖ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๓: หมวดสมาธิ           ๗๕๔
บทที่ ๑๗ บทสรุป: อริยสัจ ๔                                 ๘๔๖
ฉ                                                                       พุทธธรรม

ภาค ๓ อารยธรรมวิถี                                                        ๘๗๙
ตอน ๖: ชีวิตที่ดี เป็นอย่างไร?
บทที่ ๑๘ บทความประกอบที่ ๑: ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน                 ๘๘๑
บทที่ ๑๙ บทความประกอบที่ ๒: ศีลกับเจตนารมณทางสังคม                         ๙๑๔
บทที่ ๒๐ บทความประกอบที่ ๓: เรื่องเหนือสามัญวิสัย: ปาฏิหาริย – เทวดา       ๙๔๑
บทที่ ๒๑ บทความประกอบที่ ๔: ปญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ                          ๙๗๑
บทที่ ๒๒ บทความประกอบที่ ๕: ความสุข ๑: ฉบับแบบแผน                          ๑๐๒๓
บทที่ ๒๓ บทความประกอบที่ ๖: ความสุข ๒: ฉบับประมวลความ                      ๑๐๖๙
                                 .............................
บรรณานุกรม                                                                  ๑๑๓๗
บันทึกของผูเขียน                                                          ๑๑๔๓
บันทึกการจัดทําขอมูล โดย นายแพทย ณรงค เลาหวิรภาพ                        ๑๑๕๑
บันทึกไวระลึก                                                             ๑๑๕๓
บันทึก (เรื่องทุนพิมพ)                                                    ๑๑๘๔
ดัชนี                                                                      ๑๑๘๙
สารบัญหัวขอ
นิทานพจน                                                    ก
ความนํา:
สิ่งที่ควรเขาใจกอน                                         ๑
ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม                                      ๖
ภาค ๑
มัชเฌนธรรมเทศนา                                             ๑๑
ตอน ๑: ชีวิต คืออะไร?
บทที่ ๑ ขันธ ๕                                             ๑๓
ตัวสภาวะ                                                    ๑๓
สัญญา - สติ – ความจํา                                       ๑๘
สัญญา - วิญญาณ – ปญญา                                      ๒๐
ความสัมพันธระหวางขันธตางๆ                               ๒๒
ขันธ ๕ กับอุปาทานขันธ ๕ หรือชีวิต กับชีวิตซึ่งเปนปญหา   ๒๔
บันทึกพิเศษทายบท
   บันทึกที่ ๑: เรื่อง ขันธ ๕                              ๒๖

บทที่ ๒ อายตนะ ๖                                            ๒๘
ตัวสภาวะ                                                    ๒๙
ประเภทของความรู                                            ๓๗
   ก. จําแนกโดยสภาวะ หรือโดยธรรมชาติของความรู              ๓๗
   ข. จําแนกโดยทางรับรู                                    ๔๐
   ค. จําแนกโดยพัฒนาการทางปญญา (ภายในบุคคล)                ๔๓
   ง. จําแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย                     ๔๗
ความถูกตองและผิดพลาดของความรู                             ๔๘
   ก. สัจจะ ๒ ระดับ                                         ๔๘
   ข. วิปลาส หรือวิปลลาส ๓                                 ๕๐
ซ                                                                              พุทธธรรม

พุทธพจนเกี่ยวกับอายตนะ                                                              ๕๑
คุณคาทางจริยธรรม                                                                    ๕๖
บันทึกพิเศษทายบท
    บันทึกที่ ๑: เรื่อง ปญญา ๓                                                      ๕๙

ตอน ๒: ชีวิต เป็นอย่างไร?
บทที่ ๓ ไตรลักษณ                                                                   ๖๒
ตัวกฎ หรือตัวสภาวะ                                                                  ๖๒
คําอธิบายไตรลักษณตามหลักวิชาในคัมภีร                                              ๖๕
๑. ความเขาใจเกี่ยวกับศัพทที่เกี่ยวของ                                             ๖๖
๑. สังขารทั้งปวง กับ ธรรมทั้งปวง                                                     ๖๖
๒. สังขารในขันธ ๕ กับ สังขารในไตรลักษณ                                            ๖๘
๒. สิ่งที่ปดบังไตรลักษณ                                                           ๗๑
๓. วิเคราะหความหมายของไตรลักษณ                                                    ๗๒
   ๑. อนิจจตา และอนิจจลักษณะ                                                        ๗๓
   ๒. ทุกขตา และทุกขลักษณะ                                                          ๗๔
        พิเศษ: ทุกขในอริยสัจ แยกใหชัด จากทุกขในไตรลักษณ                         ๗๖
          (ก) หมวดใหญของทุกข                                                      ๗๖
                ทุกขตา ๓                                                            ๗๘
          (ข) ไตรลักษณมี ๓ ไมใชแคทกข และทั้งสามเปนฐานของทุกขในอริยสัจ
                                        ุ                                           ๗๙
          (ค) ปญหาของมนุษย ที่มาในชื่อของทุกขมากมาย                              ๘๔
          ชุดที่ ๑ ทุกข ๑๒                                                         ๘๔
        ชุดที่ ๒ ทุกข ๒                                                            ๘๖
        ชุดที่ ๓ ทุกข ๒                                                            ๘๖
   ๓. อนัตตตา และอนัตตลักษณะ                                                        ๘๙
        ก) ขอบเขตความหมาย                                                            ๘๙
        ข) ความหมายพื้นฐาน                                                           ๙๐
        ค) ความหมายที่ไมตองอธิบาย                                                  ๙๑
        ง) ความหมายที่อธิบายทั่วไป                                                   ๙๓
    ๔. อัตตา – อนัตตา และ อัตตา – นิรัตตา                                          ๑๐๔
    อัตตา กับ มานะ                                                                  ๑๑๐
สารบัญ                                                                                 ฌ

คุณคาทางจริยธรรม                                                                     ๑๑๒
   ก. คุณคาที่ ๑: คุณคาดานการทําจิต หรือคุณคาเพือความหลุดพนเปนอิสระ
                                                    ่                                 ๑๑๔
   ข. คุณคาที่ ๒: คุณคาดานการทํากิจ หรือคุณคาเพือความไมประมาท
                                                      ่                               ๑๑๕
   ค. ความสําคัญและความสัมพันธของคุณคาทางจริยธรรม ๒ ดาน                            ๑๒๐
   ง. คุณคาเนื่องดวยความหลุดพน หรือคุณคาเพื่อความบริสุทธิ์บริบูรณแหงความดีงาม   ๑๒๖
   จ. คุณคาทางจริยธรรมของไตรลักษณตามลําดับขอ                                       ๑๒๗
       ๑. อนิจจตา                                                                     ๑๒๗
       ๒. ทุกขตา                                                                      ๑๓๐
       ๓. อนัตตตา                                                                     ๑๓๔
พุทธพจนเกี่ยวกับไตรลักษณ                                                            ๑๓๖
ก. ความรูเทาทันสภาวะของไตรลักษณ                                                    ๑๓๖
ข. คุณคาทางจริยธรรมของไตรลักษณ (ดานทําจิตเปนอิสระ และดานทํากิจโดยไมประมาท)      ๑๓๙
     - อนิจจตาแหงชีวิต และการเห็นคุณคาของกาลเวลา                                    ๑๓๙
     - เรงทํากิจ และเตรียมการเพื่ออนาคต                                              ๑๔๘

ตอน ๓: ชีวิต เป็นไปอย่างไร?
บทที่ ๔ ปฏิจจสมุปบาท                                                                  ๑๕๒
ตัวกฎหรือตัวสภาวะ
๑. ฐานะและความสําคัญ                                                                  ๑๕๒
๒. ตัวบทและแบบความสัมพันธ ในหลักปฏิจจสมุปบาท                                         ๑๕๔
๓. การแปลความหมายหลักปฏิจจสมุปบาท                                                     ๑๕๗
๔. ความหมายโดยสรุป เพื่อความเขาใจเบื้องตน                                           ๑๖๐
๕. คําอธิบายตามแบบ                                                                    ๑๗๐
    ก. หัวขอและโครงรูป                                                               ๑๗๐
    ข. คําจํากัดความองคประกอบ หรือหัวขอ ตามลําดับ                                   ๑๗๑
    ค. ตัวอยางคําอธิบายแบบชวงกวางที่สุด                                            ๑๗๒
๖. ความหมายในชีวตประจําวัน
                      ิ                                                               ๑๘๐
    ความหมายเชิงอธิบาย                                                                ๑๘๒
    คําอธิบายแสดงความสัมพันธอยางงาย                                                ๑๘๓
    คําอธิบายแสดงความสัมพันธเชิงขยายความ                                             ๑๘๔
    ตัวอยางกรณีปลีกยอยในชีวิตประจําวัน                                               ๑๙๑
ความหมายลึกลงไปขององคธรรมบางขอ                                                      ๑๙๓
ญ                                                            พุทธธรรม

ปฏิจจสมุปบาท ในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา                               ๒๐๑
ปฏิจจสมุปบาท ในฐานะปจจยาการทางสังคม                             ๒๐๗
หมายเหตุ: การตีความเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท                          ๒๑๑
บันทึกพิเศษทายบท
    บันทึกที่ ๑: ธรรมนิยาม ๑ และ ธรรมนิยาม ๓                     ๒๑๔
    บันทึกที่ ๒: ตัวเรา ของเรา ตัวกู ของกู                       ๒๒๓
    บันทึกที่ ๓: เกิดและตายแบบปจจุบัน                           ๒๒๖
    บันทึกที่ ๔: ปฏิจจสมุปบาทแนวอภิธรรม                          ๒๒๖
    บันทึกที่ ๕: ปญหาการแปลคําวา “นิโรธ”                       ๒๒๙
    บันทึกที่ ๖: ความหมายยอขององคธรรม ในปฏิจจสมุปบาท           ๒๓๐
    บันทึกที่ ๗: ความหมายของภวตัณหา และวิภวตัณหา                 ๒๓๐

บทที่ ๕ กรรม                                                    ๒๓๔
ความนํา                                                          ๒๓๔
ความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม                                   ๒๓๕
  ก. กรรม ในฐานะกฎธรรมชาติอยางหนึ่ง                             ๒๓๕
  ข. ความหมายของกรรม                                             ๒๔๐
  ค. ประเภทของกรรม                                               ๒๔๒
เกณฑตัดสิน ความดี–ความชั่ว                                      ๒๔๕
  ก) ปญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว                               ๒๔๕
  ข) ความหมายของกุศลและอกุศล                                     ๒๔๖
  ค) ขอควรทราบพิเศษบางอยางเกี่ยวกับกุศลและอกุศล                ๒๕๐
      ๑) กุศลและอกุศล เปนปจจัยแกกันได                         ๒๕๐
      ๒) บุญและบาป กับ กุศลและอกุศล                               ๒๕๐
  ง) เกณฑวินิจฉัยกรรมดี – กรรมชั่ว                              ๒๕๔
  จ) หลักคําสอนเพื่อเปนเกณฑวนิจฉัย
                                ิ                                ๒๖๓
การใหผลของกรรม                                                  ๒๖๙
  ก) ผลกรรมในระดับตางๆ                                          ๒๖๙
  ข) องคประกอบที่สงเสริมและขัดขวางการใหผลของกรรม              ๒๗๒
  ค) ผลกรรมในชวงกวางไกล                                        ๒๗๕
  ง) ขอพิจารณาเกี่ยวกับการพิสูจนเรื่องตายแลวเกิดหรือไม       ๒๗๗
  จ) ขอสรุป: การพิสูจนและทาทีปฏิบัติตอเรื่องชาติหนา         ๒๗๙
  ฉ) ผลกรรมตามนัยแหงจูฬกรรมวิภังคสูตร                           ๒๘๒
สารบัญ                                                     ฎ

ขอควรศึกษายิ่งขึ้นไป เพื่อความเขาใจหลักกรรมใหชัดเจน   ๒๘๕
   ๑) สุขทุกข ใครทําให?                                ๒๘๕
   ๒) เชื่ออยางไร ผิดหลักกรรม?                          ๒๘๖
   ๓) กรรม ชําระลางไดอยางไร?                          ๒๘๘
   ๔) แกกรรม ดวยปฏิกรรม                                ๒๙๐
   ๕) กรรม ที่ทําใหสิ้นกรรม                             ๒๙๒
   ๖) กรรม ในระดับสังคม หรือกรรมของสังคม มีหรือไม?      ๒๙๙
   ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม หรือ กรรม ในกฎมนุษย            ๓๐๓
   ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม?                      ๓๑๑
คุณคาทางจริยธรรม                                        ๓๑๖
   ความหมายทั่วไป                                         ๓๑๖
   ความเปนคนมีเหตุผล ไมเชื่อถืองมงาย                   ๓๑๗
   การลงมือทํา ไมรอคอยความหวังจากการออนวอนปรารถนา      ๓๑๘
   การไมถือชาติชั้นวรรณะ ถือความประพฤติเปนประมาณ       ๓๑๙
   การพึ่งตนเอง                                          ๓๒๐
   ขอเตือนใจเพื่ออนาคต                                  ๓๒๐
บันทึกพิเศษทายบท
  บันทึกที่ ๑: กรรม ๑๒                                   ๓๒๑

ตอน ๔: ชีวิต ควรให้เป็นอย่างไร?
บทที่ ๖ วิชชา วิมุตติ วิสทธิ สันติ นิพพาน
                         ุ                               ๓๒๕
ความสุขที่ไมตองหา                                      ๓๒๕
กระบวนธรรมดับทุกข หรือ ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร             ๓๒๘
  ก. วงจรยาว                                             ๓๒๘
  ข. วงจรสั้น                                            ๓๒๙
ภาวะแหงนิพพาน                                           ๓๓๒
  คําแสดงคุณลักษณะของนิพพาน                               ๓๓๖
  ขอความบรรยายภาวะของของนิพพาน                          ๓๓๘
ภาวะของผูบรรลุนพพาน
               ิ                                        ๓๔๓
    ๑. ภาวิตกาย: มีกายที่ไดพัฒนาแลว                    ๓๕๕
    ๒. ภาวิตศีล: มีศีลที่ไดพัฒนาแลว                    ๓๖๒
    ๓. ภาวิตจิต: มีจิตที่ไดพัฒนาแลว                    ๓๗๑
    ๔. ภาวิตปญญา: มีปญญาที่ไดพัฒนาแลว                ๓๗๗
ฏ                                                                          พุทธธรรม

บันทึกพิเศษทายบท
    บันทึกที่ ๑: ภาวิต ๔ โยงไปหา ภาวนา ๔                                       ๓๘๓

บทที่ ๗ ประเภทและระดับ แหงนิพพานและผูบรรลุนิพพาน                             ๓๘๕
๑. ประเภทและระดับของนิพพาน                                                     ๓๘๕
   ประเภทของนิพพาน                                                             ๓๘๖
   ก) ลักษณะภายนอกและชีวิตหมู                                                 ๓๙๖
   ข) ความมีใจอิสระและมีความสุข                                                ๓๙๗
   ค) ความเปนเจาแหงจิต เปนนายของความคิด                                    ๓๙๗
   ง) ความเปนกันเอง กับชีวิต ความตาย การพลัดพราก และมีเมตตากรุณาตอทุกชีวิต   ๓๙๗
   ขั้นตอนหรือระดับแหงการเขาถึงนิพพาน                                        ๔๐๐
๒. ประเภทและระดับของผูบรรลุนิพพาน                                             ๔๐๓
   แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรือ อริยบุคคล ๘                                   ๔๐๘
   แบบที่ ๒ ทักขิไณยบุคคล ๗ หรือ อริยบุคคล ๗                                   ๔๑๑
   ก. พระเสขะ หรือ สอุปาทิเสสบุคคล                                             ๔๑๓
   ข. พระอเสขะ หรือ อนุปาทิเสสบุคคล                                            ๔๑๓
   ประเภทของพระอรหันต                                                         ๔๑๘
บันทึกพิเศษทายบท
    บันทึกที่ ๑: เรื่อง สอุปาทิเสส และ อนุปาทิเสส                              ๔๒๐
    บันทึกที่ ๒: เรื่องความหมายของ ทิฏฐธัมมิกะ และ สัมปรายิกะ                  ๔๒๐
    บันทึกที่ ๓: เรื่องจริมจิต                                                 ๔๒๑
    บันทึกที่ ๔: เรื่อง สีลัพพตปรามาส                                          ๔๒๑
    บันทึกที่ ๕: ความหมายของ ฌาน                                               ๔๒๔

บทที่ ๘ ขอควรทราบเพิ่มเติม เพื่อเสริมความเขาใจ                               ๔๒๖
๑. สมถะ – วิปสสนา                                                             ๔๒๖
๒. เจโตวิมุตติ – ปญญาวิมุตติ                                                  ๔๒๙
บันทึกพิเศษทายบท
    บันทึกที่ ๑: ความเขาใจสับสนเกี่ยวกับอนัตตา และนิพพาน                       ๔๔๐
สารบัญ                                                               ฐ

บทที่ ๙ หลักการสําคัญ ของการบรรลุนิพพาน                            ๔๔๒
ความเบื้องตน                                                      ๔๔๒
ก) หลักทั่วไป                                                      ๔๔๒
ข) หลักสมถะที่เปนฐาน                                              ๔๕๑
ค) หลักวิปสสนาที่เปนมาตรฐาน                                      ๔๖๐
   สํานวนสามัญ: พิจารณาขันธ ๕                                      ๔๖๓
   สํานวนสามัญ: พิจารณาอายตนะ และธรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่อง            ๔๖๕
   สํานวนแบบสืบคน                                                 ๔๖๗
   ตัวอยางธรรมที่พิจารณาไดทุกระดับ                               ๔๖๘
   สํานวนแนววิปสสนา แสดงความแตกตางระหวางพระอริยบุคคลหลายระดับ    ๔๖๙
    ก. พระเสขะ กับ พระอรหันต                                       ๔๖๙
    ข. ผูปฏิบัติเพื่อโสดาปตติผล กับ พระโสดาบัน                   ๔๗๑
    ค. พระโสดาบัน กับ พระอรหันต                                   ๔๗๑
    ง. พระอนาคามี กับ พระอรหันต                                   ๔๗๒
    จ. พระอรหันตปญญาวิมุต กับ พระอรหันตอุภโตภาควิมุต            ๔๗๔
    ฉ. พระพุทธเจา กับ พระปญญาวิมุต                               ๔๗๔
ง) หลักการปฏิบัติที่จัดเปนระบบ                                    ๔๗๕
   หลักการปฏิบัติตามนัยแหงคัมภีรวิสุทธิมัคค                      ๔๗๖
   ก. ระดับศีล (อธิศีลสิกขา)                                       ๔๗๖
   ข. ระดับสมาธิ (อธิจิตตสิกขา)                                    ๔๗๖
   ค. ระดับปญญา (อธิปญญาสิกขา)                                   ๔๗๗
      ๑) ญาตปริญญา คือ รูจักสภาวะ                                 ๔๗๗
      ๒) ตีรณปริญญา คือ รูสามัญลักษณะ หรือหยั่งถึงไตรลักษณ
                                                                  ๔๗๗
      ๓) ปหานปริญญา คือ รูถงขั้นละความหลงผิด ถอนตัวเปนอิสระได
                             ึ                                     ๔๗๘
บันทึกพิเศษทายบท
  บันทึกที่ ๑: คําวา “บรรลุนิพพาน”                                ๔๘๑
  บันทึกที่ ๒: ในฌาน เจริญวิปสสนา หรือบรรลุมรรคผล ไดหรือไม?     ๔๘๑
  บันทึกที่ ๓: เนวสัญญานาสัญญายตนะ ใชทําวิปสสนาไมได?           ๔๘๔
  บันทึกที่ ๔: ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล                                ๔๘๖
ฑ                                                                     พุทธธรรม

บทที่ ๑๐ บทสรุป เรื่องเกี่ยวกับนิพพาน                                    ๔๘๗
คุณคาและลักษณะพิเศษทีพึงสังเกตเกี่ยวกับนิพพาน
                             ่                                            ๔๘๗
   ๑. จุดหมายสูงสุดของชีวิต เปนสิ่งที่อาจบรรลุไดในชาตินี้               ๔๘๗
   ๒. นิพพานเปนจุดหมายที่ทุกคนเขาถึงได ไมจํากัดชาติชั้น หญิงชาย       ๔๘๗
   ๓. นิพพานอํานวยผล ที่ยิ่งกวาลําพังความสําเร็จทางจิตจะใหได            ๔๙๐
จุดที่มักเขวหรือเขาใจพลาด เกี่ยวกับนิพพาน                                ๔๙๒
   ๑. ความยึดมั่น ในความไมยึดมั่น                                        ๔๙๒
   ๒. ลักษณะทีชวนใหสับสน หรือหลงเขาใจผิด
               ่                                                           ๔๙๕
   ๓. ความสุข กับความพรอมที่จะมีความสุข                                   ๔๙๖
ปญหาสําคัญเกี่ยวกับนิพพาน                                                ๔๙๖
   ๑. นิพพาน กับอัตตา                                                      ๔๙๖
   ๒. พระอรหันต สิ้นชีวิตแลวเปนอยางไร?                                 ๕๐๔

ภาค ๒
มัชฌิมาปฏิปทา                                                           ๕๑๑
ตอน ๕: ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร?
บทที่ ๑๑ บทนํา ของมัชฌิมาปฏิปทา                                           ๕๑๓
มัชฌิมาปฏิปทา ตอเนื่องจาก มัชเฌนธรรมเทศนา                                ๕๑๓
สมุทัย – นิโรธ                                                             ๕๑๓
นิโรธ – มรรค                                                               ๕๑๕
มิจฉาปฏิปทา – สัมมาปฏิปทา                                                  ๕๑๗
อาหารของอวิชชา – อาหารของวิชชาและวิมตติ
                                     ุ                                     ๕๒๐
ปฏิจจสมุปบาท นิโรธวาร – มัชฌิมาปฏิปทา/มรรค                                 ๕๒๑
โยนิโสมนสิการ/ศรัทธา/กุศลศีล ปราโมทย ขยญาณ                                ๕๒๑
ธรรมเปนอาหารอุดหนุนกัน                                                    ๕๒๒
พรหมจรรยทสําเร็จผล
             ี่                                                            ๕๒๒
วิสทธิ ๗
   ุ                                                                       ๕๒๒
จรณะ ๑๕ + วิชชา ๓                                                          ๕๒๓
อนุบุพพสิกขา หรือ อนุบุพพปฏิปทา                                            ๕๒๓
ธรรมจริยา                                                                  ๕๒๓
สารบัญ                                                         ฒ

ความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับมัชฌิมาปฏิปทา                     ๕๒๕
มรรค ในฐานะมัชฌิมาปฏิปทา                                      ๕๒๕
มรรค ในฐานะขอปฏิบัติ หรือทางชีวิต ทั้งของบรรพชิตและคฤหัสถ   ๕๒๘
มรรค ในฐานะหลักปฏิบัติที่เนื่องดวยสังคม                      ๕๒๙
มรรค ในฐานะทางใหถึงความสิ้นกรรม                               ๕๓๐
มรรค ในฐานะอุปกรณสาหรับใช มิใชสําหรับยึดถือหรือแบกโกไว
                     ํ                                        ๕๓๑
มรรค ในฐานะพรหมจรรย หรือพุทธจริยธรรม                         ๕๓๒
มรรค ในฐานะมรรคาสูจุดหมายขั้นตางๆ ของชีวิต                   ๕๓๖
      อัตถะ ๓ แนวตั้ง                                         ๕๓๗
      - บุญกิริยาวัตถุ ๓                                      ๕๓๙
      อัตถะ ๓ แนวนอน                                          ๕๔๒
มรรค ในฐานะไตรสิกขา หรือระบบการศึกษาสําหรับสรางอารยชน        ๕๔๓
อริยมรรค กับ ไตรสิกขา                                         ๕๔๔
จากมรรคมีองค ๘ สูสิกขา ๓                                    ๕๔๔
ชาวบาน ดําเนินมรรคาดวยการศึกษาบุญ                           ๕๔๙
กระบวนธรรมในตัวคน ของมรรค กับกระบวนการฝกคน ของสิกขา          ๕๕๑
จุดเริ่ม พัฒนาเปนจุดสําเร็จ แหงความกาวหนาในมรรคา          ๕๕๗
บันทึกพิเศษทายบท
  บันทึกที่ ๑: การจัดธรรมจริยาเขาในไตรสิกขา                  ๕๖๐
  บันทึกที่ ๒: การเรียกชื่อศีล ๕ และธรรมจริยา ๑๐              ๕๖๐
  บันทึกที่ ๓: ความหมายของคําวาศีลธรรม                       ๕๖๑
  บันทึกที่ ๔: ความหมายตามแบบแผน ของไตรสิกขา                  ๕๖๑

บทที่ ๑๒ บุพภาคของการศึกษา ๑: ปรโตโฆสะที่ดี = กัลยาณมิตร      ๕๖๓
บุพภาคของการศึกษา หรือ บุพนิมิตแหงมัชฌิมาปฏิปทา              ๕๖๓
ปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ ๒                                        ๕๖๓
บุพนิมิตที่ ๑: ปรโตโฆสะ – กัลยาณมิตร (วิธีการแหงศรัทธา)      ๕๖๕
ความสําคัญของการมีกัลยาณมิตร                                   ๕๖๖
คุณสมบัติของกัลยาณมิตร                                        ๕๖๙
การทําหนาที่ของกัลยาณมิตร                                    ๙๘๒
หลักศรัทธาโดยสรุป                                             ๕๘๗
พุทธพจนแสดงหลักศรัทธา                                        ๕๙๐
ณ                                                          พุทธธรรม

บันทึกพิเศษทายบท
    บันทึกที่ ๑: ความสําคัญของสังคหวัตถุ ๔                      ๖๐๔
    บันทึกที่ ๒: การแปลบาลีในกาลามสูตร                          ๖๐๔

บทที่ ๑๓ บุพภาคของการศึกษา ๒: โยนิโสมนสิการ                    ๖๐๗
ความนํา
ฐานะของความคิด ในระบบการดําเนินชีวิตที่ดี                       ๖๐๗
ฐานะของความคิด ในกระบวนการของการศึกษา หรือการพัฒนาปญญา         ๖๑๐
  ก) จุดเริ่มของการศึกษา และความไรการศึกษา                     ๖๑๐
  ข) กระบวนการของการศึกษา                                       ๖๑๑
  ค) ความเขาใจเบื้องตน เกี่ยวกับจุดเริ่มตนของการศึกษา        ๖๑๓
  ง) ความคิดที่ไมเปนการศึกษา และความคิดที่เปนการศึกษา        ๖๑๕
บุพนิมิตที่ ๒: โยนิโสมนสิการ (วิธีการแหงปญญา)                ๖๑๙
ความสําคัญของโยนิโสมนสิการ                                      ๖๑๙
ความหมายของโยนิโสมนสิการ                                        ๖๒๑
วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ                                        ๖๒๗
๑. วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย                                  ๖๒๘
๒. วิธีคิดแบบแยกแยะสวนประกอบ                                   ๖๒๙
๓. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ                                        ๖๓๑
๔. วิธีคิดแบบอริยสัจ/คิดแบบแกปญหา
                                                               ๖๓๔
๕. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ                                   ๖๓๖
๖. วิธีคิดแบบรูทันคุณโทษและทางออก                              ๖๔๒
๗. วิธีคิดแบบคุณคาแท-คุณคาเทียม                              ๖๔๖
๘. วิธีคิดแบบเรากุศล                                          ๖๔๗
๙. วิธีคิดแบบอยูกับปจจุบัน                                    ๖๕๔
๑๐. วิธีคิดแบบวิภัชชวาท                                         ๖๖๐
     ก. จําแนกโดยแงดานของความจริง                             ๖๖๑
     ข. จําแนกโดยสวนประกอบ                                     ๖๖๑
     ค. จําแนกโดยลําดับขณะ                                      ๖๖๒
     ง. จําแนกโดยความสัมพันธแหงเหตุปจจัย                     ๖๖๒
     จ. จําแนกโดยเงื่อนไข                                       ๖๖๔
     ฉ. จําแนกโดยทางเลือก หรือความเปนไปไดอยางอื่น            ๖๖๕
     ช. วิภัชชวาทในฐานะวิธีตอบปญหาอยางหนึ่ง                   ๖๖๖
สรุปความ เพื่อนําสูการปฏิบัติ                                  ๖๗๖
สารบัญ                                                                            ด

เตรียมเขาสูมัชฌิมาปฏิปทา                                                       ๖๘๐
พระรัตนตรัย ในฐานะเครื่องนําเขาสูมรรคฯ                                        ๖๘๒
บันทึกพิเศษทายบท
  บันทึกที่ ๑: วิธีคิดแบบแกปญหา: วิธีคิดแบบอริยสัจ กับ วิธีคดแบบวิทยาศาสตร
                                                              ิ                  ๖๘๕

บทที่ ๑๔ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๑: หมวดปญญา                                ๖๘๗
๑. สัมมาทิฏฐิ                                                                   ๖๘๘
ความสําคัญของสัมมาทิฏฐิ                                                         ๖๘๘
คําจํากัดความของสัมมาทิฏฐิ                                                      ๖๘๙
ขอควรทราบทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาทิฏฐิ                                             ๖๙๐
สัมมาทิฏฐิ กับการศึกษา                                                          ๖๙๔
๒. สัมมาสังกัปปะ                                                                ๗๐๒

บทที่ ๑๕ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๒: หมวดศีล                                  ๗๑๐
๓. สัมมาวาจา ๔. สัมมากัมมันตะ ๕. สัมมาอาชีวะ                                    ๗๑๐
ศีล ในความหมายที่เปนหลักกลาง อันพึงถือเปนหลักความประพฤติพื้นฐาน               ๗๑๑
ลักษณะของศีล หรือหลักความประพฤติเบื้องตน แบบเทวนิยม กับแบบสภาวนิยม             ๗๑๓
ศีลสําหรับประชาชน                                                               ๗๑๙
ความเขาใจพื้นฐาน                                                               ๗๑๙
   ก. ศีลพื้นฐาน                                                                ๗๒๓
   ข. ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิตและสังคม                                    ๗๒๙
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาอาชีวะ                                               ๗๓๓
เศรษฐกิจจะดี ถามีศีล                                                           ๗๓๙
(พุทธพจนเกี่ยวกับอาชีวะ)                                                        ๗๔๑
   ก. การแสวงหา และการรักษาทรัพย                                                ๗๔๑
   ข. ความสุขอันชอบธรรมที่คฤหัสถควรมี                                          ๗๔๒
   ค. การใชจายทรัพย                                                          ๗๔๓
   ง. เตรียมปญญาไว ถึงหาทรัพยได อิสรภาพตองไมเสีย                           ๗๔๔
   จ. สังฆะ คือชุมชนของบุคคลที่เปนอิสระ ทั้งโดยชีวิตและดวยจิตปญญา            ๗๔๘
คําแถมทาย                                                                       ๗๕๑
ต                                                                    พุทธธรรม

บทที่ ๑๖ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๓: หมวดสมาธิ                        ๗๕๔
๖. สัมมาวายามะ                                                          ๗๕๔
๗. สัมมาสติ                                                             ๗๕๘
    คําจํากัดความ                                                        ๗๕๘
    สติในฐานะอัปปมาทธรรม                                                 ๗๕๙
    สติโดยคุณคาทางสังคม                                                 ๗๖๒
    บทบาทของสติในกระบวนการพัฒนาปญญา หรือการกําจัดอาสวกิเลส              ๗๖๓
    สติปฏฐานในฐานะสัมมาสติ                                              ๗๖๔
    สาระสําคัญของสติปฏฐาน                                               ๗๖๖
    ก. กระบวนการปฏิบัติ                                                  ๗๖๙
    ข. ผลของการปฏิบัติ                                                   ๗๗๑
    เหตุใดสติที่ตามทันขณะปจจุบัน จึงเปนหลักสําคัญของวิปสสนา?
                                                                        ๗๗๓
    สติปฏฐาน เปนอาหารของโพชฌงค                                        ๗๗๕
๘. สัมมาสมาธิ                                                           ๗๗๙
    ความเขาใจเบื้องตน                                                  ๗๗๙
    ก. ความหมายของสมาธิ                                                  ๗๗๙
    ข. ระดับของสมาธิ                                                     ๗๘๐
    ค. ศัตรูของสมาธิ                                                     ๗๘๓
    ง. ลักษณะของจิตที่เปนสมาธิ                                          ๗๘๔
    จ. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: มองอยางทัวไป
                                                  ่                      ๗๘๗
    ฉ. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: สรุปตามประเภทของสมาธิภาวนา       ๗๙๐
    ช. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: ในแงชวยปองกันความไขวเขว
                                                                        ๗๙๒
    วิธีเจริญสมาธิ                                                       ๗๙๔
    ๑) การเจริญสมาธิแบบธรรมดาพาไปเอง                                     ๗๙๕
    ๒) การเจริญสมาธิตามหลักอิทธิบาท                                      ๗๙๖
    ๓) การเจริญสมาธิอยางสามัญ หรือฝกสมาธิโดยใชสติเปนตัวนํา           ๘๐๒
    ๔) การเจริญสมาธิอยางเปนแบบแผน                                      ๘๐๓
       ข้อ ๑. ปลิโพธ ๑๐                                                   ๘๐๓
       ข้อ ๒. เขาหากัลยาณมิตร                                            ๘๐๔
       ข้อ ๓. รับกรรมฐานที่เหมาะกับจริยา/จริต                             ๘๐๔
              - การรับกรรมฐาน                                             ๘๐๘
       ข้อ ๔. เขาประจําที่                                               ๘๑๐
       ข้อ ๕. เจริญสมาธิ: หลักทั่วไป                                      ๘๑๑
สารบัญ                                                                                ถ

         ข้อ ๖. เจริญสมาธิ: อานาปานสติภาวนา เป็นตัวอย่าง                             ๘๑๒
                ก) ขอดีพิเศษของอานาปานสติ                                           ๘๑๒
                ข) พุทธพจนแสดงวิธปฏิบัติ
                                   ี                                                 ๘๑๕
                ค) วิธีปฏิบติภาคสมถะ
                           ั                                                         ๘๑๗
    ผลสูงสุดของสมาธิ และสูความสมบูรณเหนือสมาธิ                                     ๘๒๑
    ก) ผลสําเร็จและขอบเขตความสําคัญของสมาธิ                                          ๘๒๑
    ข) องคประกอบตางๆ ที่ค้ําจุน เกื้อหนุน และเสริมประโยชนของสมาธิ                 ๘๒๔
         (๑) ฐาน ปทัฏฐาน และที่หมายของสมาธิ                                          ๘๒๔
         (๒) องคประกอบรวมของสมาธิ                                                  ๘๒๕
         (๓) เครื่องวัดความพรอม                                                     ๘๒๘
         (๔) คณะทํางานของปญญา                                                       ๘๓๒
         (๕) องคมรรคสามัคคีพรอมไดที่                                              ๘๓๘
บันทึกพิเศษทายบท
  บันทึกที่ ๑: การเจริญสติปฏฐาน คือการอยูอยางไมมีความทุกขที่จะตองดับ
                                                                                   ๘๔๔

บทที่ ๑๗ บทสรุป: อริยสัจ ๔                                                           ๘๔๖
ฐานะและความสําคัญของอริยสัจ                                                          ๘๔๖
ความหมายของอริยสัจ                                                                   ๘๔๘
อริยสัจ กับปฏิจจสมุปบาท                                                              ๘๕๐
กิจในอริยสัจ                                                                         ๘๕๔
แนวอธิบายอริยสัจโดยสังเขป                                                            ๘๕๘
  ก) ยกทุกขขึ้นพูดกอน เปนการสอนเริ่มจากปญหา เพื่อใชวิธีการแหงปญญา             ๘๕๙
  ข) คนเหตุปจจัยใหพบดวยปญญา ไมมัวหาที่ซัดทอด                                   ๘๖๐
  ค) ชีวิตที่เปนอยูดวยปญญา มีความสุขอยางอิสระ และทํากิจดวยกรุณา                ๘๖๑
  ง) ถาถึงพระรัตนตรัย ก็ไมรอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ฤทธิ์ปาฏิหาริย เลิกฝากตัวกับโชคชะตา   ๘๖๓
  จ) ทางของอารยชนกวางและสวาง ทั้งพึ่งตนได และคนทั้งหลายก็ชวยหนุนกัน              ๘๖๕
  ฉ) เมื่อพระรัตนตรัย พาเขาและคืบไปในไตรสิกขา มรรคก็พัฒนาสูจุดหมาย                 ๘๖๗
วิธีแกปญหาแบบพุทธ                                                                  ๘๗๐
คุณคาที่เดนของอริยสัจ                                                              ๘๗๓
สรุป “พุทธธรรม” ลงในอริยสัจ                                                          ๘๗๔
บันทึกพิเศษ – เสริมบทสรุป                                                            ๘๗๖
  ข้อสังเกตบางประการ ในการศึกษาพุทธธรรม                                              ๘๗๖
  ก. ภาคมัชเฌนธรรมเทศนา หรือ ภาคกระบวนธรรม                                           ๘๗๖
  ข. ภาคมัชฌิมาปฏิปทา หรือ ภาคกระบวนวิธี                                             ๘๗๗
ท                                                                                  พุทธธรรม

ภาค ๓
อารยธรรมวิถี                                                                        ๘๗๙
ตอน ๖: ชีวิตที่ดี เป็นอย่างไร?
บทที่ ๑๘ บทความประกอบที่ ๑: ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน ๘๘๑
คุณสมบัติของบุคคลโสดาบัน                                                               ๘๘๒
   ก. คุณสมบัติฝายมี                                                                  ๘๘๒
   ข. คุณสมบัติฝายหมด หรือฝายละ                                                      ๘๘๔
บุคคลโสดาบันตามนัยพุทธพจน                                                             ๘๘๙
   ก) คําเรียก คําแสดงคุณลักษณะ และไวพจนตางๆ ของบุคคลโสดาบัน                         ๘๘๙
   ข) คุณสมบัติทั่วไป                                                                  ๘๙๐
   ค) คุณสมบัตในแงละได และที่เปนผล
                 ิ                                                                     ๘๙๖
   ง) คุณสมบัติและขอปฏิบัติกอนเปนโสดาบัน                                            ๙๐๐
คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน                                                           ๙๐๒
ความเขาใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณสมบัติสําคัญของบุคคลโสดาบัน                             ๙๐๒
คุณสมบัติเดนของบุคคลโสดาบัน ที่เปนคติสําคัญแกคนยุคปจจุบัน                          ๙๑๑
บันทึกพิเศษทายบท
    บันทึกที่ ๑: ความหมายของ สุตวา อริยสาวก และอริยธรรม เปนตน                         ๙๑๓
    บันทึกที่ ๒: เหตุที่คนใหทาน                                                        ๙๑๓

บทที่ ๑๙ บทความประกอบที่ ๒: ศีลกับเจตนารมณทางสังคม                                   ๙๑๔
สามคําสําคัญในชุดของศีล: ศีล วินัย สิกขาบท                                             ๙๑๔
ศีลระดับธรรมอยูที่ตัวคน ศีลระดับวินัยขยายผลเพื่อสังคม                                 ๙๑๗
ตัวอยางหลักปฏิบัติที่มุงเพื่อเชิดชูธรรมความดีงามและประโยชนสุขของสังฆะและสังคม       ๙๒๒
    ก) การกราบไหวตามแกออนพรรษา                                                      ๙๒๒
    ข) พุทธบัญญัติหามภิกษุอวดอุตริมนุสสธรรม                                           ๙๒๕
    ข) ทําไมจึงทรงยกยองสังฆทานวามีผลมากที่สุด                                        ๙๒๘
หัวใจของวินัย: เคารพสงฆ ถือสงฆและกิจสงฆเปนใหญ มั่นในสามัคคี
ชูธรรม ถือหลักการ มีประโยชนสุขของประชาชนเปนจุดหมาย                                   ๙๒๙
วินัยในความหมายที่กวางใหญเลยจากศีล                                                   ๙๓๔
สารบัญ                                                                   ธ

บันทึกพิเศษทายบท
   บันทึกที่ ๑: แสดงธรรม บัญญัติวินยั                                   ๙๓๘
   บันทึกที่ ๒: ศีล วินัย ศีลธรรม                                       ๙๓๘
   บันทึกที่ ๓: ความหมายบางอยางของ “วินัย”                             ๙๓๘
   บันทึกที่ ๔: การปฏิบัติเพื่อประโยชนสุขของพหูชน                      ๙๓๙
   บันทึกที่ ๕: เคารพธรรม เคารพวินัย                                    ๙๓๙
   บันทึกที่ ๖: การเคารพตามอายุสมาชิกภาพ                                ๙๔๐

บทที่ ๒๐ บทความประกอบที่ ๓: เรื่องเหนือสามัญวิสัย: ปาฏิหาริย – เทวดา ๙๔๑
อิทธิปาฏิหาริย                                                         ๙๔๕
อิทธิปาฏิหาริย คืออะไร? และแคไหน?                                     ๙๔๕
ปาฏิหาริย ไมใชแคฤทธิ์ แตมีถึง ๓ อยาง                              ๙๔๕
อิทธิปาฏิหาริย ไมใชธรรมที่เปนแกนสาร                                ๙๔๖
อิทธิฤทธิ์ ชนิดอริยะ และชนิดอนารยะ                                      ๙๔๗
โทษแกปุถุชน ในการเกี่ยวของกับเรื่องฤทธิ์                              ๙๔๙
แนวปฏิบัติที่ถูกตอง ในการเขาไปเกี่ยวของกับเรื่องฤทธิ์                ๙๕๑
เทวดา                                                                   ๙๕๐
มนุษย กับ เทวดา เปรียบเทียบฐานะกัน                                     ๙๕๒
มนุษยกับเทวดา ความสัมพันธใด ที่ลาสมัย ควรเลิกเสีย                    ๙๕๔
หวังพึ่งเทวดา ไดผลนิดหนอย แตเกิดโทษมากมาย                            ๙๕๕
สรางความสัมพันธที่ถูกตอง ระหวางมนุษยกับเทวดา                       ๙๕๖
ความสัมพันธแบบชาวพุทธ ระหวางมนุษยกับเทวดา                            ๙๕๗
สรุปวิธีปฏิบัติตอเรื่องเหนือสามัญวิสัย                                 ๙๕๙
พัฒนาการแหงความสัมพันธ ๓ ขั้น                                         ๙๕๙
กาวสูขั้นมีชีวิตอิสระ เพื่อจะเปนชาวพุทธที่แท                        ๙๖๐
วิธีปฏิบัติที่ถูกตอง ตอสิ่งเหนือสามัญวิสัย                            ๙๖๐
ปฏิบัติถูกตอง คือเดินหนา เปนชาวพุทธ คือไมหยุดพัฒนา                  ๙๖๔
บันทึกพิเศษทายบท
   บันทึกที่ ๑: อิทธิปาฏิหาริยในคัมภีร                                ๙๖๖
   บันทึกที่ ๒: การชวย และการแกลง ของพระอินทร                        ๙๖๗
   บันทึกที่ ๓: สัจกิริยา ทางออกที่ดี สําหรับผูยังหวังอํานาจดลบันดาล   ๙๖๘
   บันทึกที่ ๔: พระพุทธ เปนมนุษย หรือเทวดา                            ๙๖๙
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)

More Related Content

What's hot

สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
คู่มือพุทธบริษัทสวดมนต์แปลฉบับเข้าค่าย
คู่มือพุทธบริษัทสวดมนต์แปลฉบับเข้าค่ายคู่มือพุทธบริษัทสวดมนต์แปลฉบับเข้าค่าย
คู่มือพุทธบริษัทสวดมนต์แปลฉบับเข้าค่ายniralai
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tongsamut vorasan
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยSarod Paichayonrittha
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 

What's hot (14)

สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
คู่มือพุทธบริษัทสวดมนต์แปลฉบับเข้าค่าย
คู่มือพุทธบริษัทสวดมนต์แปลฉบับเข้าค่ายคู่มือพุทธบริษัทสวดมนต์แปลฉบับเข้าค่าย
คู่มือพุทธบริษัทสวดมนต์แปลฉบับเข้าค่าย
 
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
Tri91 43++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๔
 
Ayutthaya period
Ayutthaya periodAyutthaya period
Ayutthaya period
 
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
61 buddhist07092557
61 buddhist0709255761 buddhist07092557
61 buddhist07092557
 
Voice vacaka
Voice vacakaVoice vacaka
Voice vacaka
 
Bali 2-10
Bali 2-10Bali 2-10
Bali 2-10
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 

Viewers also liked

Viewers also liked (19)

ประมวลจริยธรรม ของผู้ปฏิบัติงาน กคช.2552
ประมวลจริยธรรม ของผู้ปฏิบัติงาน กคช.2552ประมวลจริยธรรม ของผู้ปฏิบัติงาน กคช.2552
ประมวลจริยธรรม ของผู้ปฏิบัติงาน กคช.2552
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
Punyakalamba
PunyakalambaPunyakalamba
Punyakalamba
 
W202555 12-27-130117084246-phpapp01
W202555 12-27-130117084246-phpapp01W202555 12-27-130117084246-phpapp01
W202555 12-27-130117084246-phpapp01
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
Facebook for beginner
Facebook for beginnerFacebook for beginner
Facebook for beginner
 
การใช้งานYoutube
การใช้งานYoutubeการใช้งานYoutube
การใช้งานYoutube
 
Ebook achew
Ebook achewEbook achew
Ebook achew
 
Tsd emag 49
Tsd emag 49Tsd emag 49
Tsd emag 49
 
รายชื่อผู้เกษียณ2550-2560
รายชื่อผู้เกษียณ2550-2560รายชื่อผู้เกษียณ2550-2560
รายชื่อผู้เกษียณ2550-2560
 
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.
 
คู่มือการใช้ Ipad (IOS5)
คู่มือการใช้ Ipad (IOS5)คู่มือการใช้ Ipad (IOS5)
คู่มือการใช้ Ipad (IOS5)
 
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
 
กำหนดการสัมมนาวิชาการกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาที่อยู่อาศัย
กำหนดการสัมมนาวิชาการกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาที่อยู่อาศัยกำหนดการสัมมนาวิชาการกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาที่อยู่อาศัย
กำหนดการสัมมนาวิชาการกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาที่อยู่อาศัย
 
Punyakalamba
PunyakalambaPunyakalamba
Punyakalamba
 
พรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2537
พรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2537พรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2537
พรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2537
 
Canon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manualCanon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manual
 
พบหมอศิริราช
พบหมอศิริราชพบหมอศิริราช
พบหมอศิริราช
 
ประวัติพระแก้วมรกต
ประวัติพระแก้วมรกตประวัติพระแก้วมรกต
ประวัติพระแก้วมรกต
 

Similar to พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)

บาลี 35 80
บาลี 35 80บาลี 35 80
บาลี 35 80Rose Banioki
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Wataustin Austin
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
บาลี 04 80
บาลี 04 80บาลี 04 80
บาลี 04 80Rose Banioki
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Wataustin Austin
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Tongsamut vorasan
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Wataustin Austin
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖Tongsamut vorasan
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80Rose Banioki
 

Similar to พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย) (20)

✍️ พจนานุกรม ไทย-บาลี (วัดสวนดอก).pdf
✍️ พจนานุกรม ไทย-บาลี (วัดสวนดอก).pdf✍️ พจนานุกรม ไทย-บาลี (วัดสวนดอก).pdf
✍️ พจนานุกรม ไทย-บาลี (วัดสวนดอก).pdf
 
พจนานุกรม ไทย - บาลี วัดสวนดอก.pdf
พจนานุกรม ไทย - บาลี  วัดสวนดอก.pdfพจนานุกรม ไทย - บาลี  วัดสวนดอก.pdf
พจนานุกรม ไทย - บาลี วัดสวนดอก.pdf
 
พจนานุกรม ไทย-บาลี (วัดสวนดอก).pdf
พจนานุกรม ไทย-บาลี (วัดสวนดอก).pdfพจนานุกรม ไทย-บาลี (วัดสวนดอก).pdf
พจนานุกรม ไทย-บาลี (วัดสวนดอก).pdf
 
บาลี 35 80
บาลี 35 80บาลี 35 80
บาลี 35 80
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
บาลี 04 80
บาลี 04 80บาลี 04 80
บาลี 04 80
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
พจนานุกรมศัพท์เชิงอรรถพระไตรปิฎก-ผศ.ดร.วิโรจน์-คุ้มครอง-วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส-น...
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
3 36คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๖
 
บาลี 36 80
บาลี 36 80บาลี 36 80
บาลี 36 80
 
-------------- --- 3
 -------------- --- 3 -------------- --- 3
-------------- --- 3
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
 

พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)

  • 1. ( . . ) . .
  • 2. ( . . ) ISBN 978-616-7585-10-9 . ( , ““ ””) .. .. ( - = ) . (, + = , ) - .. - .. ( ) .. . ( . ; [ ]+ , +[ ]+ = , ) — .. , ( ) - . . ( ) - .. . .. :
  • 3.
  • 4.
  • 5. นิทานพจน (ในการพิมพครั้งที่ ๑ ของฉบับขอมูลคอมพิวเตอร) หนังสือ พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย นี้ ก็คือ พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ นั่นเอง แต ในการพิมพครั้งใหมนี้ ไดตัดปรับชื่อใหสั้นเขา เพื่อจํางายเรียกไดสะดวก นับแตคณะระดมธรรม และธรรมสถานจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดพิมพหนังสือนี้ขึ้นเปนครั้ง แรก เสร็จเมื่อวันวิสาขบูชา พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึงบัดนี้ เกือบเต็ม ๓๐ ป ระหวางกาลที่ผานมา ไดมีการ พิมพซ้ําหลายครั้ง แตพิมพไดเพียงซ้ําตามเดิม และการพิมพมีคุณภาพดอย เนื่องจากเมื่อแรกพิมพ นั้น การพิมพอยางกาวหนาที่สุด มีเพียงระบบคอมพิวกราฟก ที่จัดทําเปนแผนอารตเวิรค ซึ่งคงอยูไม นานก็ผพังไป แลวตอจากนั้น ตองใชวิธีถายภาพจากหนังสือรุนเกา โดยเลือกหนังสือเลมที่เห็นวาอาน ุ ชัดที่สุดเทาที่จะหาไดมาถายแบบพิมพใชกันอยางพอใหเปนไป ระหวางนั้น ผูศรัทธามีน้ําใจหลายทาน หลายคณะ ไดพยายามนําขอมูลหนังสือ พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ นั้น จัดพิมพเปนขอมูลคอมพิวเตอร และกาวไปไดมาก แตมีขอติดขัดที่ ซับซอนบางอยาง ที่ทําใหไมลุลวง จนกระทั่งวันหนึ่ง ไดทราบวา นายแพทยณรงค เลาหวิรภาพ กําลัง ดําเนินการนําขอมูลหนังสือนี้ลงในคอมพิวเตอร ที่จังหวัดเชียงใหม แมวาตอมา สํานักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยมหิดลจะไดนําขอมูล พุทธธรรมฯ ลงในโปรแกรมพระไตรปฎกคอมพิวเตอร BUDSIR VI เสร็จสิ้นอยางรวดเร็วใน พ.ศ. ๒๕๕๐ แตคุณหมอณรงคก็ยังทํางานของตนเปนอิสระตอไป ในที่สุด ณ วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ขณะที่ผูเขียนพํานักอยูที่สถานพํานักสงฆสหธรรม วาสี อ.ดานชาง จ.สุพรรณบุรี นายแพทยณรงค เลาหวิรภาพ ไดเดินทางไปกับคุณสุรเดช พรทวีทัศน (ผูตนคิดสายนี้) และคุณนริศ จรัสจรรยาวงศ นําขอมูลคอมพิวเตอรของหนังสือ พุทธธรรม ฉบับ ปรับปรุงและขยายความ ที่จัดเรียงครบจบเลมแลว พรอมทั้งดัชนี ไปถวาย เวลาผานมา เมื่อผูเขียนพํานักอยูที่ศาลากลางสระ สถานพํานักสงฆสายใจธรรม เขาสําโรงดง ยาง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา ติดตอกันอีก ๒ พรรษา หลังสิ้นพรรษาแรกแลว ถึงวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ จึงไดมีโอกาสเริ่มงานตรวจชําระขอมูลคอมพิวเตอรของหนังสือ พุทธธรรมฯ ที่ไดรับ ถวายไวครึ่งปเศษแลวนั้น และเพิ่มเติมจัดปรับใหพรอมที่จะพิมพเปนเลมหนังสือ ประจวบวาตลอดชวงเวลาทํางานนี้ อาการอาพาธโรคตางๆ ทั้งเกาและใหม ไดรุนแรงขึ้น กับทั้ง โรคติดเชื้อในกระแสโลหิตที่คอนขางเสี่ยงชีวิต ก็แทรกซอนเขามา เปนเหตุใหงานไมราบรื่นบางในบาง ชวง แตในที่สุด งานตรวจชําระเนื้อหนังสือก็เสร็จจบเลมเมื่อขึ้นเดือนกันยายน ๒๕๕๔ และไดสง ขอมูลเนื้อหนังสือไปใหคุณหมอณรงคจัดปรับ (update) ดัชนีใหลงตัว โดยทั่ ว ไป เนื้ อ หนั ง สื อ พุ ท ธธรรมฯ นี้ ก็ ค งตามเดิม แต เ มื่ อ ทํ า งานตรวจชํ า ระและใช ข อ มู ล คอมพิวเตอร เปนโอกาสที่จะจัดปรับไดสะดวก จึงไดจัดรูปใหอานงายขึ้น โดยเฉพาะซอยยอหนาถี่ข้ึน อยางมาก และไดแทรกเพิ่มคําอธิบายในที่ตางๆ ตามสมควร
  • 6. พุทธธรรม ที่ควรสังเกตคือ ไดนํา “บทความประกอบ” ทั้งหมดของภาค ๑ แยกออกไปจัดรวมไวตางหาก เปนภาค ๓ คืออยูทายเลม และไดเพิ่มบทความประกอบอีก ๑ บท (บทความประกอบที่ ๖: ความสุข ๒: ฉบับประมวลความ) เปนบทสุดทาย ทําใหหนังสือนี้มีจํานวนบททั้งเลมเพิ่มจาก ๒๒ เปน ๒๓ บท อนึ่ง ใน พุทธธรรมฯ นี้ มีตารางและภาพหลายแหง เมื่อถายภาพจากหนังสือเกา ก็ไมชัด พระ ชัยยศ พุทฺธิวโร จึงไดเขียนตารางและภาพเหลานั้นแทนให ๒๔ หนวย อีกทั้งตอมาไดมาพักไมไกลกัน บนภูเขา เมื่อเห็นภาพใดไมชด ก็ทําใหมให และเมื่อเนื้อหนังสือเสร็จ ก็ไดชวยอานพิสจนอักษรดวย ั ู ในที่สุด เมื่อมองรวมทั้งเลม ชื่อเดิมของหนังสือที่วา พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ นั้นยืดยาวเกินไป จึงเรียกใหมใหงายและสะดวกขึ้นเปน พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย มีความประจวบพอดีเปนศรีศุภกาล ที่ทุกอยางจําเพาะมาลงตัวกันเองใหหนังสือ พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย นี้เสร็จ ในชวงแหงมหามงคลสมัย เฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๗ รอบ ๘๔ พรรษา ใน วันที่ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔ โดยเฉพาะงานนี้ ดังที่กลาวแลว เปนการจัดการเนื้อหนังสือที่เปนขอมูลคอมพิวเตอร ซึ่งตอง อาศัยอุปกรณการทํางานที่มีราคาสูงเปนหมื่นๆ บาท คือ เครื่องคอมพิวเตอร พรอมทั้งสวนชุดคําสั่ง หรือซอฟตแวร จําเพาะวา ในป ๒๕๕๓ ทั้งตัวเครื่องคอมพิวเตอรที่ไดใชมาก็เสีย คงหมดอายุ และ ซอฟตแวรที่มีอยูก็ลาสมัยมาก ใชทํางานขอมูลคอมพิวเตอรที่คุณหมอณรงคจัดทําและนํามาถวาย ไมได จึงไดอาศัยไวยาวัจกรคือลูกศิษย ผูถือบัญชีนิตยภัตหลวง จัดจายไดอุปกรณ ๒ อยางนั้นมา เปนอันใหทํางานสําเร็จไดดวยพระบรมราชูปถัมภที่สืบมาตามราชประเพณี จึงถือความสําเร็จแหง หนังสือธรรมทานนี้ เปนการถวายพระพรอนุโมทนาพระราชกุศล ในมหามงคลสมัยอันพิเศษที่มาถึง การทําหนังสืออันเปนสาระของงาน สําเร็จในชวงมหามงคลสมัย เฉลิมพระชนมพรรษา ครบ ๗ รอบ ดังไดกลาว สวนการพิมพหนังสืออันเปนขั้นที่จะทําสาระนั้นใหปรากฏและบังเกิดประโยชนแก มหาชน เปนภารกิจตางหาก ซึ่งสืบตอออกไปจากความเสร็จสิ้นของสาระนั้น และการพิมพนั้นมา ลุลวงใน พ.ศ. ๒๕๕๕ อันเปนกาละที่บรรจบ ๒๖ ศตวรรษแหงการประดิษฐานพระพุทธธรรม ที่นับ แตการบรรลุโพธิญาณ และการทรงแสดงปฐมเทศนา ของพระสัมมาสัมพุทธเจา การพิมพหนังสือ พุทธธรรมฯ อันใชขอมูลที่ตรวจจัดในคอมพิวเตอรนี้ เปนธรรมทานครั้งพิเศษ ซึ่งสําเร็จดวยทุนบริจาคตามพินัยกรรมของ น.ส. ชมพูนุท กมลโชติ ในกองทุน ป. อ. ปยุตฺโต เพื่อ เชิด ชูธรรม ที่คุณหญิงกระจางศรี รักตะกนิษฐ ไดตั้งไว และทุนบริจาคตามมฤดกปณิธานของ น.ส. ชุณหรัชน สวัสดิฤกษ ทั้งนี้ เปนกุศลกิริยาของผูศรัทธา ที่ไดขวนขวายสนองบุญเจตนาของทาน ผูที่ไดตั้งมโนปณิธิไว นับวาเปนความรวมใจในการทํากุศลใหญครั้งสําคัญ บัดนี้ ในวาระลุปริโยสานแหงงานธรรมทานที่ตั้งไว ขอทุกทานผูเกื้อหนุนในบุญการ จงเจริญ ดวยความเกษมสันตและสรรพกุศล ขอสัทธรรมจงรุงเรืองแผไพศาล เพื่อความเจริญไพบูลยแหง ประโยชนสุขของปวงประชาตลอดกาลยืนนาน พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๙ พ.ย. ๒๕๕๔ – ๕ ม.ค. ๒๕๕๕
  • 7.   คํานํา ในกา มพครังที่ ๑ นี้ ไดพิมพไวดวยในกา มพทุกครั้งตอจาก ้นตลอดมา การพิ ้  ารพิ ากนั แมในการพิมพครั้งนี้ี ก็รักษาไว โดยถือต ่จําไดวา ศาสต ตามที ตราจารย ดร. ระวี ภ ไล เคยกลาวเหมือนแสดงฉันทะ หรืรือบอกเลาบุญเจตนาไ ภาวิ หมื าไว ในคราวที่ทานและค มพ พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและข คณะพิ รม ะขยายความ ครั้งแรก เมือ พ.ศ. ๒๕๒๕ ก ่ ๕
  • 8. อักษรยอชื่อคัมภีร* เรียงตามอักขรวิธีแหงมคธภาษา (ที่พิมพตัวเอน คือ คัมภีรในพระไตรปฎก) องฺ.อ. องฺคุตฺตรนิกาย อฏฺฐกถา (มโนรถปูรณี) ขุทฺทก.อ. ขุทฺทกปาฐ อฏฺฐกถา (ปรมตฺถโชติกา) องฺ.อฏก. องฺคตฺตรนิกาย อฏกนิปาต ุ จริยา.อ. จริยาปิฏก อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี) องฺ.เอก. องฺคุตฺตรนิกาย เอกนิปาต ชา.อ. ชาตกฏฺฐกถา องฺ.เอกาทสก. องฺคุตฺตรนิกาย เอกาทสกนิปาต เถร.อ. เถรคาถา อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี) องฺ.จตุกฺก. องฺคุตฺตรนิกาย จตุกฺกนิปาต เถรี.อ. เถรีคาถา อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี) องฺ.ฉกฺก. องฺคุตฺตรนิกาย ฉกฺกนิปาต ที.อ. ทีฆนิกาย อฏฺฐกถา (สุมงฺคลวิลาสินี) องฺ.ติก. องฺคุตฺตรนิกาย ติกนิปาต ที.ปา. ทีฆนิกาย ปาฏิกวคฺค องฺ.ทสก. องฺคุตฺตรนิกาย ทสกนิปาต ที.ม. ทีฆนิกาย มหาวคฺค องฺ.ทุก. องฺคุตฺตรนิกาย ทุกนิปาต ที.สี. ทีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺค องฺ.นวก. องฺคุตฺตรนิกาย นวกนิปาต ธ.อ. ธมฺมปทฏฺฐกถา องฺ.ปฺจก. องฺคุตฺตรนิกาย ปฺจกนิปาต นิทฺ.อ. นิทฺเทส อฏฺฐกถา (สทฺธมฺมปชฺโชติกา) องฺ.สตฺตก. องฺคุตฺตรนิกาย สตฺตกนิปาต ปญฺจ.อ. ปญฺจปกรณ อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี) อป.อ. อปทาน อฏฺฐกถา (วิสุทฺธชนวิลาสินี) ปฏิสํ.อ. ปฏิสมฺภิทามคฺค อฏฺฐกถา (สทฺธมฺมปกาสินี) อภิ.ก. อภิธมฺมปฏก กถาวตฺถุ เปต.อ. เปตวตฺถุ อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี) อภิ.ธา. อภิธมฺมปฏก ธาตุกถา พุทฺธ.อ. พุทฺธวํส อฏฺฐกถา (มธุรตฺถวิลาสินี) อภิ.ป. อภิธมฺมปฏก ปฏาน ม.อ. มชฺฌิมนิกาย อฏฺฐกถา (ปปญฺจสูทนี) อภิ.ปุ. อภิธมฺมปฏก ปุคฺคลปฺตฺติ ม.อุ. มชฺฌิมนิกาย อุปริปณฺณาสก อภิ.ยมก. อภิธมฺมปฏก ยมก ม.ม. มชฺฌิมนิกาย มชฺฌิมปณฺณาสก อภิ.วิ. อภิธมฺมปฏก วิภงฺค ม.มู. มชฺฌมนิกาย มูลปณฺณาสก ิ อภิ.สํ. อภิธมฺมปฏก ธมฺมสงฺคณี มงฺคล. มงฺคลตฺถทีปนี อิติ.อ. อิติวุตตก อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี) ฺ มิลินฺท. มิลินฺทปญฺหา อุ.อ.,อุทาน.อ. อุทาน อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี) วินย. วินยปฏก ขุ.อป. ขุทฺทกนิกาย อปทาน วินย.อ. วินย อฏฺฐกถา (สมนฺตปาสาทิกา) ขุ.อิติ. ขุทฺทกนิกาย อิติวุตฺตก วินย.ฏีกา วินยฏฺฐกถา ฏีกา (สารตฺถทีปนี) ขุ.อุ. ขุทฺทกนิกาย อุทาน วิภงฺค.อ. วิภงฺค อฏฺฐกถา (สมฺโมหวิโนทนี) ขุ.ขุ. ขุทฺทกนิกาย ขุททกปา ฺ วิมาน.อ. วิมานวตฺถุ อฏฺฐกถา (ปรมตฺถทีปนี) ขุ.จริยา. ขุทฺทกนิกาย จริยาปฏก วิสุทฺธิ. วิสุทฺธิมคฺค ขุ.จู. ขุทฺทกนิกาย จูฬนิทฺเทส วิสุทฺธิ.ฏีกา วิสุทฺธิมคฺค มหาฏีกา (ปรมตฺถมญฺชุสา) ขุ.ชา. ขุทฺทกนิกาย ชาตก สงฺคณี อ. สงฺคณี อฏฺฐกถา (อฏฺฐสาลินี) ขุ.เถร. ขุทฺทกนิกาย เถรคาถา สงฺคห. อภิธมฺมตฺถสงฺคห ขุ.เถรี. ขุทฺทกนิกาย เถรีคาถา สงฺคห.ฏีกา อภิธมฺมตฺถสงฺคห ฏีกา (อภิธมฺมตฺถวิภาวินี) ขุ.ธ. ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปท สํ.อ. สํยุตฺตนิกาย อฏฺฐกถา (สารตฺถปกาสินี) ขุ.ปฏิ. ขุทฺทกนิกาย ปฏิสมฺภิทามคฺค สํ.ข. สํยุตฺตนิกาย ขนฺธวารวคฺค ขุ.เปต. ขุทฺทกนิกาย เปตวตฺถุ ส.นิ. สํยุตฺตนิกาย นิทานวคฺค ขุ.พุทฺธ. ขุทฺทกนิกาย พุทฺธวํส ส.ม. สํยุตฺตนิกาย มหาวารวคฺค ขุ.ม.,ขุ.มหา. ขุทฺทกนิกาย มหานิทฺเทส ส.ส. สํยุตฺตนิกาย สคาถวคฺค ขุ.วิมาน. ขุทฺทกนิกาย วิมานวตฺถุ สํ.สฬ. สํยุตฺตนิกาย สฬายตนวคฺค ขุ.สุ. ขุทฺทกนิกาย สุตฺตนิปาต สุตฺต.อ. สุตฺตนิปาต อฏฺฐกถา (ปรมตฺถโชติกา) ____________________________________________________________  * หลังจากพิมพหนังสือนี้เปนฉบับขยาย ครั้งแรก ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ แลว มีคัมภีรที่ตีพิมพในอักษรไทยทยอยเพิ่มขึ้นมาไมนอย แตในการพิมพครั้งนี้ ยังคงไวตามบัญชีเกา; สําหรับคัมภีรชั้นฎีกา แมที่ไมแสดงไว ก็พึงเขาใจไดเอง ตามแนววิธีในการใชคําวา “ฏีกา” หรืออักษรยอ “ฏี.” ไปตอทายอักษรยอของคัมภีรในพระไตรปฎก เปน ที.ฏีกา หรือ ที.ฏี. เปนตน ทํานองเดียวกับอรรถกถา ที่ นํา อ. ไปตอทายเปน ที.อ., ม.อ., สํ.อ. ฯลฯ
  • 9. สารบัญบท ความนํา: ๑ ๑ ภาค มัชเฌนธรรมเทศนา ๑๑ ตอน ๑: ชีวิต คืออะไร? บทที่ ๑ ขันธ ๕ ๑๓ บทที่ ๒ อายตนะ ๖ ๒๘ ตอน ๒: ชีวิต เป็นอย่างไร? บทที่ ๓ ไตรลักษณ ๖๒ ตอน ๓: ชีวิต เป็นไปอย่างไร? บทที่ ๔ ปฏิจจสมุปบาท ๑๕๒ บทที่ ๕ กรรม ๒๓๔ ตอน ๔: ชีวิต ควรให้เป็นอย่างไร? บทที่ ๖ วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน ๓๒๕ บทที่ ๗ ประเภทและระดับ แหงนิพพานและผูบรรลุนิพพาน ๓๘๕ บทที่ ๘ ขอควรทราบเพิ่มเติม เพื่อเสริมความเขาใจ ๔๒๖ บทที่ ๙ หลักการสําคัญ ของการบรรลุนิพพาน ๔๔๒ บทที่ ๑๐ บทสรุป เรื่องเกี่ยวกับนิพพาน ๔๘๗ ๒ ภาค มัชฌิมาปฏิปทา ๕๑๑ ตอน ๕: ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร? บทที่ ๑๑ บทนํา ของมัชฌิมาปฏิปทา ๕๑๓ บทที่ ๑๒ บุพภาคของการศึกษา ๑: ปรโตโฆสะที่ดี = กัลยาณมิตร ๕๖๓ บทที่ ๑๓ บุพภาคของการศึกษา ๒: โยนิโสมนสิการ ๖๐๗ บทที่ ๑๔ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๑: หมวดปญญา ๖๘๗ บทที่ ๑๕ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๒: หมวดศีล ๗๑๐ บทที่ ๑๖ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๓: หมวดสมาธิ ๗๕๔ บทที่ ๑๗ บทสรุป: อริยสัจ ๔ ๘๔๖
  • 10. พุทธธรรม ภาค ๓ อารยธรรมวิถี ๘๗๙ ตอน ๖: ชีวิตที่ดี เป็นอย่างไร? บทที่ ๑๘ บทความประกอบที่ ๑: ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน ๘๘๑ บทที่ ๑๙ บทความประกอบที่ ๒: ศีลกับเจตนารมณทางสังคม ๙๑๔ บทที่ ๒๐ บทความประกอบที่ ๓: เรื่องเหนือสามัญวิสัย: ปาฏิหาริย – เทวดา ๙๔๑ บทที่ ๒๑ บทความประกอบที่ ๔: ปญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ ๙๗๑ บทที่ ๒๒ บทความประกอบที่ ๕: ความสุข ๑: ฉบับแบบแผน ๑๐๒๓ บทที่ ๒๓ บทความประกอบที่ ๖: ความสุข ๒: ฉบับประมวลความ ๑๐๖๙ ............................. บรรณานุกรม ๑๑๓๗ บันทึกของผูเขียน ๑๑๔๓ บันทึกการจัดทําขอมูล โดย นายแพทย ณรงค เลาหวิรภาพ ๑๑๕๑ บันทึกไวระลึก ๑๑๕๓ บันทึก (เรื่องทุนพิมพ) ๑๑๘๔ ดัชนี ๑๑๘๙
  • 11. สารบัญหัวขอ นิทานพจน ก ความนํา: สิ่งที่ควรเขาใจกอน ๑ ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม ๖ ภาค ๑ มัชเฌนธรรมเทศนา ๑๑ ตอน ๑: ชีวิต คืออะไร? บทที่ ๑ ขันธ ๕ ๑๓ ตัวสภาวะ ๑๓ สัญญา - สติ – ความจํา ๑๘ สัญญา - วิญญาณ – ปญญา ๒๐ ความสัมพันธระหวางขันธตางๆ ๒๒ ขันธ ๕ กับอุปาทานขันธ ๕ หรือชีวิต กับชีวิตซึ่งเปนปญหา ๒๔ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: เรื่อง ขันธ ๕ ๒๖ บทที่ ๒ อายตนะ ๖ ๒๘ ตัวสภาวะ ๒๙ ประเภทของความรู ๓๗ ก. จําแนกโดยสภาวะ หรือโดยธรรมชาติของความรู ๓๗ ข. จําแนกโดยทางรับรู ๔๐ ค. จําแนกโดยพัฒนาการทางปญญา (ภายในบุคคล) ๔๓ ง. จําแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย ๔๗ ความถูกตองและผิดพลาดของความรู ๔๘ ก. สัจจะ ๒ ระดับ ๔๘ ข. วิปลาส หรือวิปลลาส ๓ ๕๐
  • 12. พุทธธรรม พุทธพจนเกี่ยวกับอายตนะ ๕๑ คุณคาทางจริยธรรม ๕๖ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: เรื่อง ปญญา ๓ ๕๙ ตอน ๒: ชีวิต เป็นอย่างไร? บทที่ ๓ ไตรลักษณ ๖๒ ตัวกฎ หรือตัวสภาวะ ๖๒ คําอธิบายไตรลักษณตามหลักวิชาในคัมภีร ๖๕ ๑. ความเขาใจเกี่ยวกับศัพทที่เกี่ยวของ ๖๖ ๑. สังขารทั้งปวง กับ ธรรมทั้งปวง ๖๖ ๒. สังขารในขันธ ๕ กับ สังขารในไตรลักษณ ๖๘ ๒. สิ่งที่ปดบังไตรลักษณ ๗๑ ๓. วิเคราะหความหมายของไตรลักษณ ๗๒ ๑. อนิจจตา และอนิจจลักษณะ ๗๓ ๒. ทุกขตา และทุกขลักษณะ ๗๔ พิเศษ: ทุกขในอริยสัจ แยกใหชัด จากทุกขในไตรลักษณ ๗๖ (ก) หมวดใหญของทุกข ๗๖ ทุกขตา ๓ ๗๘ (ข) ไตรลักษณมี ๓ ไมใชแคทกข และทั้งสามเปนฐานของทุกขในอริยสัจ ุ ๗๙ (ค) ปญหาของมนุษย ที่มาในชื่อของทุกขมากมาย ๘๔ ชุดที่ ๑ ทุกข ๑๒ ๘๔ ชุดที่ ๒ ทุกข ๒ ๘๖ ชุดที่ ๓ ทุกข ๒ ๘๖ ๓. อนัตตตา และอนัตตลักษณะ ๘๙ ก) ขอบเขตความหมาย ๘๙ ข) ความหมายพื้นฐาน ๙๐ ค) ความหมายที่ไมตองอธิบาย ๙๑ ง) ความหมายที่อธิบายทั่วไป ๙๓ ๔. อัตตา – อนัตตา และ อัตตา – นิรัตตา ๑๐๔ อัตตา กับ มานะ ๑๑๐
  • 13. สารบัญ ฌ คุณคาทางจริยธรรม ๑๑๒ ก. คุณคาที่ ๑: คุณคาดานการทําจิต หรือคุณคาเพือความหลุดพนเปนอิสระ ่ ๑๑๔ ข. คุณคาที่ ๒: คุณคาดานการทํากิจ หรือคุณคาเพือความไมประมาท ่ ๑๑๕ ค. ความสําคัญและความสัมพันธของคุณคาทางจริยธรรม ๒ ดาน ๑๒๐ ง. คุณคาเนื่องดวยความหลุดพน หรือคุณคาเพื่อความบริสุทธิ์บริบูรณแหงความดีงาม ๑๒๖ จ. คุณคาทางจริยธรรมของไตรลักษณตามลําดับขอ ๑๒๗ ๑. อนิจจตา ๑๒๗ ๒. ทุกขตา ๑๓๐ ๓. อนัตตตา ๑๓๔ พุทธพจนเกี่ยวกับไตรลักษณ ๑๓๖ ก. ความรูเทาทันสภาวะของไตรลักษณ ๑๓๖ ข. คุณคาทางจริยธรรมของไตรลักษณ (ดานทําจิตเปนอิสระ และดานทํากิจโดยไมประมาท) ๑๓๙ - อนิจจตาแหงชีวิต และการเห็นคุณคาของกาลเวลา ๑๓๙ - เรงทํากิจ และเตรียมการเพื่ออนาคต ๑๔๘ ตอน ๓: ชีวิต เป็นไปอย่างไร? บทที่ ๔ ปฏิจจสมุปบาท ๑๕๒ ตัวกฎหรือตัวสภาวะ ๑. ฐานะและความสําคัญ ๑๕๒ ๒. ตัวบทและแบบความสัมพันธ ในหลักปฏิจจสมุปบาท ๑๕๔ ๓. การแปลความหมายหลักปฏิจจสมุปบาท ๑๕๗ ๔. ความหมายโดยสรุป เพื่อความเขาใจเบื้องตน ๑๖๐ ๕. คําอธิบายตามแบบ ๑๗๐ ก. หัวขอและโครงรูป ๑๗๐ ข. คําจํากัดความองคประกอบ หรือหัวขอ ตามลําดับ ๑๗๑ ค. ตัวอยางคําอธิบายแบบชวงกวางที่สุด ๑๗๒ ๖. ความหมายในชีวตประจําวัน ิ ๑๘๐ ความหมายเชิงอธิบาย ๑๘๒ คําอธิบายแสดงความสัมพันธอยางงาย ๑๘๓ คําอธิบายแสดงความสัมพันธเชิงขยายความ ๑๘๔ ตัวอยางกรณีปลีกยอยในชีวิตประจําวัน ๑๙๑ ความหมายลึกลงไปขององคธรรมบางขอ ๑๙๓
  • 14. พุทธธรรม ปฏิจจสมุปบาท ในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา ๒๐๑ ปฏิจจสมุปบาท ในฐานะปจจยาการทางสังคม ๒๐๗ หมายเหตุ: การตีความเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท ๒๑๑ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: ธรรมนิยาม ๑ และ ธรรมนิยาม ๓ ๒๑๔ บันทึกที่ ๒: ตัวเรา ของเรา ตัวกู ของกู ๒๒๓ บันทึกที่ ๓: เกิดและตายแบบปจจุบัน ๒๒๖ บันทึกที่ ๔: ปฏิจจสมุปบาทแนวอภิธรรม ๒๒๖ บันทึกที่ ๕: ปญหาการแปลคําวา “นิโรธ” ๒๒๙ บันทึกที่ ๖: ความหมายยอขององคธรรม ในปฏิจจสมุปบาท ๒๓๐ บันทึกที่ ๗: ความหมายของภวตัณหา และวิภวตัณหา ๒๓๐ บทที่ ๕ กรรม ๒๓๔ ความนํา ๒๓๔ ความเขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม ๒๓๕ ก. กรรม ในฐานะกฎธรรมชาติอยางหนึ่ง ๒๓๕ ข. ความหมายของกรรม ๒๔๐ ค. ประเภทของกรรม ๒๔๒ เกณฑตัดสิน ความดี–ความชั่ว ๒๔๕ ก) ปญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว ๒๔๕ ข) ความหมายของกุศลและอกุศล ๒๔๖ ค) ขอควรทราบพิเศษบางอยางเกี่ยวกับกุศลและอกุศล ๒๕๐ ๑) กุศลและอกุศล เปนปจจัยแกกันได ๒๕๐ ๒) บุญและบาป กับ กุศลและอกุศล ๒๕๐ ง) เกณฑวินิจฉัยกรรมดี – กรรมชั่ว ๒๕๔ จ) หลักคําสอนเพื่อเปนเกณฑวนิจฉัย ิ ๒๖๓ การใหผลของกรรม ๒๖๙ ก) ผลกรรมในระดับตางๆ ๒๖๙ ข) องคประกอบที่สงเสริมและขัดขวางการใหผลของกรรม ๒๗๒ ค) ผลกรรมในชวงกวางไกล ๒๗๕ ง) ขอพิจารณาเกี่ยวกับการพิสูจนเรื่องตายแลวเกิดหรือไม ๒๗๗ จ) ขอสรุป: การพิสูจนและทาทีปฏิบัติตอเรื่องชาติหนา ๒๗๙ ฉ) ผลกรรมตามนัยแหงจูฬกรรมวิภังคสูตร ๒๘๒
  • 15. สารบัญ ฎ ขอควรศึกษายิ่งขึ้นไป เพื่อความเขาใจหลักกรรมใหชัดเจน ๒๘๕ ๑) สุขทุกข ใครทําให? ๒๘๕ ๒) เชื่ออยางไร ผิดหลักกรรม? ๒๘๖ ๓) กรรม ชําระลางไดอยางไร? ๒๘๘ ๔) แกกรรม ดวยปฏิกรรม ๒๙๐ ๕) กรรม ที่ทําใหสิ้นกรรม ๒๙๒ ๖) กรรม ในระดับสังคม หรือกรรมของสังคม มีหรือไม? ๒๙๙ ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม หรือ กรรม ในกฎมนุษย ๓๐๓ ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม? ๓๑๑ คุณคาทางจริยธรรม ๓๑๖ ความหมายทั่วไป ๓๑๖ ความเปนคนมีเหตุผล ไมเชื่อถืองมงาย ๓๑๗ การลงมือทํา ไมรอคอยความหวังจากการออนวอนปรารถนา ๓๑๘ การไมถือชาติชั้นวรรณะ ถือความประพฤติเปนประมาณ ๓๑๙ การพึ่งตนเอง ๓๒๐ ขอเตือนใจเพื่ออนาคต ๓๒๐ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: กรรม ๑๒ ๓๒๑ ตอน ๔: ชีวิต ควรให้เป็นอย่างไร? บทที่ ๖ วิชชา วิมุตติ วิสทธิ สันติ นิพพาน ุ ๓๒๕ ความสุขที่ไมตองหา ๓๒๕ กระบวนธรรมดับทุกข หรือ ปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร ๓๒๘ ก. วงจรยาว ๓๒๘ ข. วงจรสั้น ๓๒๙ ภาวะแหงนิพพาน ๓๓๒ คําแสดงคุณลักษณะของนิพพาน ๓๓๖ ขอความบรรยายภาวะของของนิพพาน ๓๓๘ ภาวะของผูบรรลุนพพาน  ิ ๓๔๓ ๑. ภาวิตกาย: มีกายที่ไดพัฒนาแลว ๓๕๕ ๒. ภาวิตศีล: มีศีลที่ไดพัฒนาแลว ๓๖๒ ๓. ภาวิตจิต: มีจิตที่ไดพัฒนาแลว ๓๗๑ ๔. ภาวิตปญญา: มีปญญาที่ไดพัฒนาแลว ๓๗๗
  • 16. พุทธธรรม บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: ภาวิต ๔ โยงไปหา ภาวนา ๔ ๓๘๓ บทที่ ๗ ประเภทและระดับ แหงนิพพานและผูบรรลุนิพพาน ๓๘๕ ๑. ประเภทและระดับของนิพพาน ๓๘๕ ประเภทของนิพพาน ๓๘๖ ก) ลักษณะภายนอกและชีวิตหมู ๓๙๖ ข) ความมีใจอิสระและมีความสุข ๓๙๗ ค) ความเปนเจาแหงจิต เปนนายของความคิด ๓๙๗ ง) ความเปนกันเอง กับชีวิต ความตาย การพลัดพราก และมีเมตตากรุณาตอทุกชีวิต ๓๙๗ ขั้นตอนหรือระดับแหงการเขาถึงนิพพาน ๔๐๐ ๒. ประเภทและระดับของผูบรรลุนิพพาน ๔๐๓ แบบที่ ๑ ทักขิไณยบุคคล ๘ หรือ อริยบุคคล ๘ ๔๐๘ แบบที่ ๒ ทักขิไณยบุคคล ๗ หรือ อริยบุคคล ๗ ๔๑๑ ก. พระเสขะ หรือ สอุปาทิเสสบุคคล ๔๑๓ ข. พระอเสขะ หรือ อนุปาทิเสสบุคคล ๔๑๓ ประเภทของพระอรหันต ๔๑๘ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: เรื่อง สอุปาทิเสส และ อนุปาทิเสส ๔๒๐ บันทึกที่ ๒: เรื่องความหมายของ ทิฏฐธัมมิกะ และ สัมปรายิกะ ๔๒๐ บันทึกที่ ๓: เรื่องจริมจิต ๔๒๑ บันทึกที่ ๔: เรื่อง สีลัพพตปรามาส ๔๒๑ บันทึกที่ ๕: ความหมายของ ฌาน ๔๒๔ บทที่ ๘ ขอควรทราบเพิ่มเติม เพื่อเสริมความเขาใจ ๔๒๖ ๑. สมถะ – วิปสสนา ๔๒๖ ๒. เจโตวิมุตติ – ปญญาวิมุตติ ๔๒๙ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: ความเขาใจสับสนเกี่ยวกับอนัตตา และนิพพาน ๔๔๐
  • 17. สารบัญ ฐ บทที่ ๙ หลักการสําคัญ ของการบรรลุนิพพาน ๔๔๒ ความเบื้องตน ๔๔๒ ก) หลักทั่วไป ๔๔๒ ข) หลักสมถะที่เปนฐาน ๔๕๑ ค) หลักวิปสสนาที่เปนมาตรฐาน ๔๖๐ สํานวนสามัญ: พิจารณาขันธ ๕ ๔๖๓ สํานวนสามัญ: พิจารณาอายตนะ และธรรมอื่นที่เกี่ยวเนื่อง ๔๖๕ สํานวนแบบสืบคน ๔๖๗ ตัวอยางธรรมที่พิจารณาไดทุกระดับ ๔๖๘ สํานวนแนววิปสสนา แสดงความแตกตางระหวางพระอริยบุคคลหลายระดับ ๔๖๙ ก. พระเสขะ กับ พระอรหันต ๔๖๙ ข. ผูปฏิบัติเพื่อโสดาปตติผล กับ พระโสดาบัน ๔๗๑ ค. พระโสดาบัน กับ พระอรหันต ๔๗๑ ง. พระอนาคามี กับ พระอรหันต ๔๗๒ จ. พระอรหันตปญญาวิมุต กับ พระอรหันตอุภโตภาควิมุต ๔๗๔ ฉ. พระพุทธเจา กับ พระปญญาวิมุต ๔๗๔ ง) หลักการปฏิบัติที่จัดเปนระบบ ๔๗๕ หลักการปฏิบัติตามนัยแหงคัมภีรวิสุทธิมัคค ๔๗๖ ก. ระดับศีล (อธิศีลสิกขา) ๔๗๖ ข. ระดับสมาธิ (อธิจิตตสิกขา) ๔๗๖ ค. ระดับปญญา (อธิปญญาสิกขา) ๔๗๗ ๑) ญาตปริญญา คือ รูจักสภาวะ ๔๗๗ ๒) ตีรณปริญญา คือ รูสามัญลักษณะ หรือหยั่งถึงไตรลักษณ  ๔๗๗ ๓) ปหานปริญญา คือ รูถงขั้นละความหลงผิด ถอนตัวเปนอิสระได ึ ๔๗๘ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: คําวา “บรรลุนิพพาน” ๔๘๑ บันทึกที่ ๒: ในฌาน เจริญวิปสสนา หรือบรรลุมรรคผล ไดหรือไม? ๔๘๑ บันทึกที่ ๓: เนวสัญญานาสัญญายตนะ ใชทําวิปสสนาไมได? ๔๘๔ บันทึกที่ ๔: ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล ๔๘๖
  • 18. พุทธธรรม บทที่ ๑๐ บทสรุป เรื่องเกี่ยวกับนิพพาน ๔๘๗ คุณคาและลักษณะพิเศษทีพึงสังเกตเกี่ยวกับนิพพาน ่ ๔๘๗ ๑. จุดหมายสูงสุดของชีวิต เปนสิ่งที่อาจบรรลุไดในชาตินี้ ๔๘๗ ๒. นิพพานเปนจุดหมายที่ทุกคนเขาถึงได ไมจํากัดชาติชั้น หญิงชาย ๔๘๗ ๓. นิพพานอํานวยผล ที่ยิ่งกวาลําพังความสําเร็จทางจิตจะใหได ๔๙๐ จุดที่มักเขวหรือเขาใจพลาด เกี่ยวกับนิพพาน ๔๙๒ ๑. ความยึดมั่น ในความไมยึดมั่น ๔๙๒ ๒. ลักษณะทีชวนใหสับสน หรือหลงเขาใจผิด ่ ๔๙๕ ๓. ความสุข กับความพรอมที่จะมีความสุข ๔๙๖ ปญหาสําคัญเกี่ยวกับนิพพาน ๔๙๖ ๑. นิพพาน กับอัตตา ๔๙๖ ๒. พระอรหันต สิ้นชีวิตแลวเปนอยางไร? ๕๐๔ ภาค ๒ มัชฌิมาปฏิปทา ๕๑๑ ตอน ๕: ชีวิต ควรเป็นอยู่อย่างไร? บทที่ ๑๑ บทนํา ของมัชฌิมาปฏิปทา ๕๑๓ มัชฌิมาปฏิปทา ตอเนื่องจาก มัชเฌนธรรมเทศนา ๕๑๓ สมุทัย – นิโรธ ๕๑๓ นิโรธ – มรรค ๕๑๕ มิจฉาปฏิปทา – สัมมาปฏิปทา ๕๑๗ อาหารของอวิชชา – อาหารของวิชชาและวิมตติ ุ ๕๒๐ ปฏิจจสมุปบาท นิโรธวาร – มัชฌิมาปฏิปทา/มรรค ๕๒๑ โยนิโสมนสิการ/ศรัทธา/กุศลศีล ปราโมทย ขยญาณ ๕๒๑ ธรรมเปนอาหารอุดหนุนกัน ๕๒๒ พรหมจรรยทสําเร็จผล ี่ ๕๒๒ วิสทธิ ๗ ุ ๕๒๒ จรณะ ๑๕ + วิชชา ๓ ๕๒๓ อนุบุพพสิกขา หรือ อนุบุพพปฏิปทา ๕๒๓ ธรรมจริยา ๕๒๓
  • 19. สารบัญ ฒ ความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับมัชฌิมาปฏิปทา ๕๒๕ มรรค ในฐานะมัชฌิมาปฏิปทา ๕๒๕ มรรค ในฐานะขอปฏิบัติ หรือทางชีวิต ทั้งของบรรพชิตและคฤหัสถ ๕๒๘ มรรค ในฐานะหลักปฏิบัติที่เนื่องดวยสังคม ๕๒๙ มรรค ในฐานะทางใหถึงความสิ้นกรรม ๕๓๐ มรรค ในฐานะอุปกรณสาหรับใช มิใชสําหรับยึดถือหรือแบกโกไว ํ ๕๓๑ มรรค ในฐานะพรหมจรรย หรือพุทธจริยธรรม ๕๓๒ มรรค ในฐานะมรรคาสูจุดหมายขั้นตางๆ ของชีวิต ๕๓๖ อัตถะ ๓ แนวตั้ง ๕๓๗ - บุญกิริยาวัตถุ ๓ ๕๓๙ อัตถะ ๓ แนวนอน ๕๔๒ มรรค ในฐานะไตรสิกขา หรือระบบการศึกษาสําหรับสรางอารยชน ๕๔๓ อริยมรรค กับ ไตรสิกขา ๕๔๔ จากมรรคมีองค ๘ สูสิกขา ๓ ๕๔๔ ชาวบาน ดําเนินมรรคาดวยการศึกษาบุญ ๕๔๙ กระบวนธรรมในตัวคน ของมรรค กับกระบวนการฝกคน ของสิกขา ๕๕๑ จุดเริ่ม พัฒนาเปนจุดสําเร็จ แหงความกาวหนาในมรรคา ๕๕๗ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: การจัดธรรมจริยาเขาในไตรสิกขา ๕๖๐ บันทึกที่ ๒: การเรียกชื่อศีล ๕ และธรรมจริยา ๑๐ ๕๖๐ บันทึกที่ ๓: ความหมายของคําวาศีลธรรม ๕๖๑ บันทึกที่ ๔: ความหมายตามแบบแผน ของไตรสิกขา ๕๖๑ บทที่ ๑๒ บุพภาคของการศึกษา ๑: ปรโตโฆสะที่ดี = กัลยาณมิตร ๕๖๓ บุพภาคของการศึกษา หรือ บุพนิมิตแหงมัชฌิมาปฏิปทา ๕๖๓ ปจจัยแหงสัมมาทิฏฐิ ๒ ๕๖๓ บุพนิมิตที่ ๑: ปรโตโฆสะ – กัลยาณมิตร (วิธีการแหงศรัทธา) ๕๖๕ ความสําคัญของการมีกัลยาณมิตร ๕๖๖ คุณสมบัติของกัลยาณมิตร ๕๖๙ การทําหนาที่ของกัลยาณมิตร ๙๘๒ หลักศรัทธาโดยสรุป ๕๘๗ พุทธพจนแสดงหลักศรัทธา ๕๙๐
  • 20. พุทธธรรม บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: ความสําคัญของสังคหวัตถุ ๔ ๖๐๔ บันทึกที่ ๒: การแปลบาลีในกาลามสูตร ๖๐๔ บทที่ ๑๓ บุพภาคของการศึกษา ๒: โยนิโสมนสิการ ๖๐๗ ความนํา ฐานะของความคิด ในระบบการดําเนินชีวิตที่ดี ๖๐๗ ฐานะของความคิด ในกระบวนการของการศึกษา หรือการพัฒนาปญญา ๖๑๐ ก) จุดเริ่มของการศึกษา และความไรการศึกษา ๖๑๐ ข) กระบวนการของการศึกษา ๖๑๑ ค) ความเขาใจเบื้องตน เกี่ยวกับจุดเริ่มตนของการศึกษา ๖๑๓ ง) ความคิดที่ไมเปนการศึกษา และความคิดที่เปนการศึกษา ๖๑๕ บุพนิมิตที่ ๒: โยนิโสมนสิการ (วิธีการแหงปญญา) ๖๑๙ ความสําคัญของโยนิโสมนสิการ ๖๑๙ ความหมายของโยนิโสมนสิการ ๖๒๑ วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ ๖๒๗ ๑. วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย ๖๒๘ ๒. วิธีคิดแบบแยกแยะสวนประกอบ ๖๒๙ ๓. วิธีคิดแบบสามัญลักษณ ๖๓๑ ๔. วิธีคิดแบบอริยสัจ/คิดแบบแกปญหา  ๖๓๔ ๕. วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ ๖๓๖ ๖. วิธีคิดแบบรูทันคุณโทษและทางออก ๖๔๒ ๗. วิธีคิดแบบคุณคาแท-คุณคาเทียม ๖๔๖ ๘. วิธีคิดแบบเรากุศล ๖๔๗ ๙. วิธีคิดแบบอยูกับปจจุบัน ๖๕๔ ๑๐. วิธีคิดแบบวิภัชชวาท ๖๖๐ ก. จําแนกโดยแงดานของความจริง ๖๖๑ ข. จําแนกโดยสวนประกอบ ๖๖๑ ค. จําแนกโดยลําดับขณะ ๖๖๒ ง. จําแนกโดยความสัมพันธแหงเหตุปจจัย ๖๖๒ จ. จําแนกโดยเงื่อนไข ๖๖๔ ฉ. จําแนกโดยทางเลือก หรือความเปนไปไดอยางอื่น ๖๖๕ ช. วิภัชชวาทในฐานะวิธีตอบปญหาอยางหนึ่ง ๖๖๖ สรุปความ เพื่อนําสูการปฏิบัติ ๖๗๖
  • 21. สารบัญ ด เตรียมเขาสูมัชฌิมาปฏิปทา ๖๘๐ พระรัตนตรัย ในฐานะเครื่องนําเขาสูมรรคฯ ๖๘๒ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: วิธีคิดแบบแกปญหา: วิธีคิดแบบอริยสัจ กับ วิธีคดแบบวิทยาศาสตร ิ ๖๘๕ บทที่ ๑๔ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๑: หมวดปญญา ๖๘๗ ๑. สัมมาทิฏฐิ ๖๘๘ ความสําคัญของสัมมาทิฏฐิ ๖๘๘ คําจํากัดความของสัมมาทิฏฐิ ๖๘๙ ขอควรทราบทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาทิฏฐิ ๖๙๐ สัมมาทิฏฐิ กับการศึกษา ๖๙๔ ๒. สัมมาสังกัปปะ ๗๐๒ บทที่ ๑๕ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๒: หมวดศีล ๗๑๐ ๓. สัมมาวาจา ๔. สัมมากัมมันตะ ๕. สัมมาอาชีวะ ๗๑๐ ศีล ในความหมายที่เปนหลักกลาง อันพึงถือเปนหลักความประพฤติพื้นฐาน ๗๑๑ ลักษณะของศีล หรือหลักความประพฤติเบื้องตน แบบเทวนิยม กับแบบสภาวนิยม ๗๑๓ ศีลสําหรับประชาชน ๗๑๙ ความเขาใจพื้นฐาน ๗๑๙ ก. ศีลพื้นฐาน ๗๒๓ ข. ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิตและสังคม ๗๒๙ หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาอาชีวะ ๗๓๓ เศรษฐกิจจะดี ถามีศีล ๗๓๙ (พุทธพจนเกี่ยวกับอาชีวะ) ๗๔๑ ก. การแสวงหา และการรักษาทรัพย ๗๔๑ ข. ความสุขอันชอบธรรมที่คฤหัสถควรมี ๗๔๒ ค. การใชจายทรัพย ๗๔๓ ง. เตรียมปญญาไว ถึงหาทรัพยได อิสรภาพตองไมเสีย ๗๔๔ จ. สังฆะ คือชุมชนของบุคคลที่เปนอิสระ ทั้งโดยชีวิตและดวยจิตปญญา ๗๔๘ คําแถมทาย ๗๕๑
  • 22. พุทธธรรม บทที่ ๑๖ องคประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา ๓: หมวดสมาธิ ๗๕๔ ๖. สัมมาวายามะ ๗๕๔ ๗. สัมมาสติ ๗๕๘ คําจํากัดความ ๗๕๘ สติในฐานะอัปปมาทธรรม ๗๕๙ สติโดยคุณคาทางสังคม ๗๖๒ บทบาทของสติในกระบวนการพัฒนาปญญา หรือการกําจัดอาสวกิเลส ๗๖๓ สติปฏฐานในฐานะสัมมาสติ ๗๖๔ สาระสําคัญของสติปฏฐาน ๗๖๖ ก. กระบวนการปฏิบัติ ๗๖๙ ข. ผลของการปฏิบัติ ๗๗๑ เหตุใดสติที่ตามทันขณะปจจุบัน จึงเปนหลักสําคัญของวิปสสนา?  ๗๗๓ สติปฏฐาน เปนอาหารของโพชฌงค ๗๗๕ ๘. สัมมาสมาธิ ๗๗๙ ความเขาใจเบื้องตน ๗๗๙ ก. ความหมายของสมาธิ ๗๗๙ ข. ระดับของสมาธิ ๗๘๐ ค. ศัตรูของสมาธิ ๗๘๓ ง. ลักษณะของจิตที่เปนสมาธิ ๗๘๔ จ. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: มองอยางทัวไป ่ ๗๘๗ ฉ. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: สรุปตามประเภทของสมาธิภาวนา ๗๙๐ ช. ความมุงหมายและประโยชนของสมาธิ: ในแงชวยปองกันความไขวเขว  ๗๙๒ วิธีเจริญสมาธิ ๗๙๔ ๑) การเจริญสมาธิแบบธรรมดาพาไปเอง ๗๙๕ ๒) การเจริญสมาธิตามหลักอิทธิบาท ๗๙๖ ๓) การเจริญสมาธิอยางสามัญ หรือฝกสมาธิโดยใชสติเปนตัวนํา ๘๐๒ ๔) การเจริญสมาธิอยางเปนแบบแผน ๘๐๓ ข้อ ๑. ปลิโพธ ๑๐ ๘๐๓ ข้อ ๒. เขาหากัลยาณมิตร ๘๐๔ ข้อ ๓. รับกรรมฐานที่เหมาะกับจริยา/จริต ๘๐๔ - การรับกรรมฐาน ๘๐๘ ข้อ ๔. เขาประจําที่ ๘๑๐ ข้อ ๕. เจริญสมาธิ: หลักทั่วไป ๘๑๑
  • 23. สารบัญ ถ ข้อ ๖. เจริญสมาธิ: อานาปานสติภาวนา เป็นตัวอย่าง ๘๑๒ ก) ขอดีพิเศษของอานาปานสติ ๘๑๒ ข) พุทธพจนแสดงวิธปฏิบัติ ี ๘๑๕ ค) วิธีปฏิบติภาคสมถะ ั ๘๑๗ ผลสูงสุดของสมาธิ และสูความสมบูรณเหนือสมาธิ ๘๒๑ ก) ผลสําเร็จและขอบเขตความสําคัญของสมาธิ ๘๒๑ ข) องคประกอบตางๆ ที่ค้ําจุน เกื้อหนุน และเสริมประโยชนของสมาธิ ๘๒๔ (๑) ฐาน ปทัฏฐาน และที่หมายของสมาธิ ๘๒๔ (๒) องคประกอบรวมของสมาธิ ๘๒๕ (๓) เครื่องวัดความพรอม ๘๒๘ (๔) คณะทํางานของปญญา ๘๓๒ (๕) องคมรรคสามัคคีพรอมไดที่ ๘๓๘ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: การเจริญสติปฏฐาน คือการอยูอยางไมมีความทุกขที่จะตองดับ   ๘๔๔ บทที่ ๑๗ บทสรุป: อริยสัจ ๔ ๘๔๖ ฐานะและความสําคัญของอริยสัจ ๘๔๖ ความหมายของอริยสัจ ๘๔๘ อริยสัจ กับปฏิจจสมุปบาท ๘๕๐ กิจในอริยสัจ ๘๕๔ แนวอธิบายอริยสัจโดยสังเขป ๘๕๘ ก) ยกทุกขขึ้นพูดกอน เปนการสอนเริ่มจากปญหา เพื่อใชวิธีการแหงปญญา ๘๕๙ ข) คนเหตุปจจัยใหพบดวยปญญา ไมมัวหาที่ซัดทอด ๘๖๐ ค) ชีวิตที่เปนอยูดวยปญญา มีความสุขอยางอิสระ และทํากิจดวยกรุณา ๘๖๑ ง) ถาถึงพระรัตนตรัย ก็ไมรอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ฤทธิ์ปาฏิหาริย เลิกฝากตัวกับโชคชะตา ๘๖๓ จ) ทางของอารยชนกวางและสวาง ทั้งพึ่งตนได และคนทั้งหลายก็ชวยหนุนกัน ๘๖๕ ฉ) เมื่อพระรัตนตรัย พาเขาและคืบไปในไตรสิกขา มรรคก็พัฒนาสูจุดหมาย ๘๖๗ วิธีแกปญหาแบบพุทธ ๘๗๐ คุณคาที่เดนของอริยสัจ ๘๗๓ สรุป “พุทธธรรม” ลงในอริยสัจ ๘๗๔ บันทึกพิเศษ – เสริมบทสรุป ๘๗๖ ข้อสังเกตบางประการ ในการศึกษาพุทธธรรม ๘๗๖ ก. ภาคมัชเฌนธรรมเทศนา หรือ ภาคกระบวนธรรม ๘๗๖ ข. ภาคมัชฌิมาปฏิปทา หรือ ภาคกระบวนวิธี ๘๗๗
  • 24. พุทธธรรม ภาค ๓ อารยธรรมวิถี ๘๗๙ ตอน ๖: ชีวิตที่ดี เป็นอย่างไร? บทที่ ๑๘ บทความประกอบที่ ๑: ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน ๘๘๑ คุณสมบัติของบุคคลโสดาบัน ๘๘๒ ก. คุณสมบัติฝายมี ๘๘๒ ข. คุณสมบัติฝายหมด หรือฝายละ ๘๘๔ บุคคลโสดาบันตามนัยพุทธพจน ๘๘๙ ก) คําเรียก คําแสดงคุณลักษณะ และไวพจนตางๆ ของบุคคลโสดาบัน ๘๘๙ ข) คุณสมบัติทั่วไป ๘๙๐ ค) คุณสมบัตในแงละได และที่เปนผล ิ ๘๙๖ ง) คุณสมบัติและขอปฏิบัติกอนเปนโสดาบัน ๙๐๐ คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน ๙๐๒ ความเขาใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณสมบัติสําคัญของบุคคลโสดาบัน ๙๐๒ คุณสมบัติเดนของบุคคลโสดาบัน ที่เปนคติสําคัญแกคนยุคปจจุบัน ๙๑๑ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: ความหมายของ สุตวา อริยสาวก และอริยธรรม เปนตน ๙๑๓ บันทึกที่ ๒: เหตุที่คนใหทาน ๙๑๓ บทที่ ๑๙ บทความประกอบที่ ๒: ศีลกับเจตนารมณทางสังคม ๙๑๔ สามคําสําคัญในชุดของศีล: ศีล วินัย สิกขาบท ๙๑๔ ศีลระดับธรรมอยูที่ตัวคน ศีลระดับวินัยขยายผลเพื่อสังคม ๙๑๗ ตัวอยางหลักปฏิบัติที่มุงเพื่อเชิดชูธรรมความดีงามและประโยชนสุขของสังฆะและสังคม ๙๒๒ ก) การกราบไหวตามแกออนพรรษา ๙๒๒ ข) พุทธบัญญัติหามภิกษุอวดอุตริมนุสสธรรม ๙๒๕ ข) ทําไมจึงทรงยกยองสังฆทานวามีผลมากที่สุด ๙๒๘ หัวใจของวินัย: เคารพสงฆ ถือสงฆและกิจสงฆเปนใหญ มั่นในสามัคคี ชูธรรม ถือหลักการ มีประโยชนสุขของประชาชนเปนจุดหมาย ๙๒๙ วินัยในความหมายที่กวางใหญเลยจากศีล ๙๓๔
  • 25. สารบัญ ธ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: แสดงธรรม บัญญัติวินยั ๙๓๘ บันทึกที่ ๒: ศีล วินัย ศีลธรรม ๙๓๘ บันทึกที่ ๓: ความหมายบางอยางของ “วินัย” ๙๓๘ บันทึกที่ ๔: การปฏิบัติเพื่อประโยชนสุขของพหูชน ๙๓๙ บันทึกที่ ๕: เคารพธรรม เคารพวินัย ๙๓๙ บันทึกที่ ๖: การเคารพตามอายุสมาชิกภาพ ๙๔๐ บทที่ ๒๐ บทความประกอบที่ ๓: เรื่องเหนือสามัญวิสัย: ปาฏิหาริย – เทวดา ๙๔๑ อิทธิปาฏิหาริย ๙๔๕ อิทธิปาฏิหาริย คืออะไร? และแคไหน? ๙๔๕ ปาฏิหาริย ไมใชแคฤทธิ์ แตมีถึง ๓ อยาง ๙๔๕ อิทธิปาฏิหาริย ไมใชธรรมที่เปนแกนสาร ๙๔๖ อิทธิฤทธิ์ ชนิดอริยะ และชนิดอนารยะ ๙๔๗ โทษแกปุถุชน ในการเกี่ยวของกับเรื่องฤทธิ์ ๙๔๙ แนวปฏิบัติที่ถูกตอง ในการเขาไปเกี่ยวของกับเรื่องฤทธิ์ ๙๕๑ เทวดา ๙๕๐ มนุษย กับ เทวดา เปรียบเทียบฐานะกัน ๙๕๒ มนุษยกับเทวดา ความสัมพันธใด ที่ลาสมัย ควรเลิกเสีย ๙๕๔ หวังพึ่งเทวดา ไดผลนิดหนอย แตเกิดโทษมากมาย ๙๕๕ สรางความสัมพันธที่ถูกตอง ระหวางมนุษยกับเทวดา ๙๕๖ ความสัมพันธแบบชาวพุทธ ระหวางมนุษยกับเทวดา ๙๕๗ สรุปวิธีปฏิบัติตอเรื่องเหนือสามัญวิสัย ๙๕๙ พัฒนาการแหงความสัมพันธ ๓ ขั้น ๙๕๙ กาวสูขั้นมีชีวิตอิสระ เพื่อจะเปนชาวพุทธที่แท ๙๖๐ วิธีปฏิบัติที่ถูกตอง ตอสิ่งเหนือสามัญวิสัย ๙๖๐ ปฏิบัติถูกตอง คือเดินหนา เปนชาวพุทธ คือไมหยุดพัฒนา ๙๖๔ บันทึกพิเศษทายบท บันทึกที่ ๑: อิทธิปาฏิหาริยในคัมภีร ๙๖๖ บันทึกที่ ๒: การชวย และการแกลง ของพระอินทร ๙๖๗ บันทึกที่ ๓: สัจกิริยา ทางออกที่ดี สําหรับผูยังหวังอํานาจดลบันดาล ๙๖๘ บันทึกที่ ๔: พระพุทธ เปนมนุษย หรือเทวดา ๙๖๙