SlideShare a Scribd company logo
1 of 140
Download to read offline
Dhammaintrend ร่วมเผยแพร่และแบ่งปันเป็นธรรมทาน
(นาที)
ภาค ๑ คําทําวัตรเชาและเย็น
คําบูชาพระรัตนตรัย (๐๑:๓๒)
ปุพพภาคนมการ (๐๑:๒๘)
คําทําวัตรเชา (๑๘:๕๓)
๑. พุทธาภิถุติ (๐๓:๓๑)
๒. ธัมมาภิถุติ (๐๑:๒๖)
๓. สังฆาภิถุติ (๐๒:๔๒)
๔. รตนัตตยัปปณามคาถา (๐๓:๒๐)
๕. สังเวคปริกิตตนปาฐะ (๐๗:๕๔)
คําทําวัตรเย็น (๑๗:๒๙)
๑. พุทธานุสสติ (๐๑:๕๐)
๒. พุทธาภิคีติ (๐๔:๑๖)
๓. ธัมมานุสสติ (๐๑:๐๖)
๔. ธัมมาภิคีติ (๐๔:๐๒)
๕. สังฆานุสสติ (๐๒:๒๐)
๖. สังฆาภิคีติ (๐๓:๕๕)
(นาที)
ภาค ๒ บทสวดมนตพิเศษ
บทพิเศษ ๑ (ตอนเชา) (๔๑:๒๕)
๑. สรณคมนปาฐะ (๐๑:๔๓)
๒. อัฏฐสิกขาปทปาฐะ (๐๒:๐๔)
๓. ท๎วัตติงสาการปาฐะ (๐๒:๒๙)
๔. เขมาเขมสรณทีปกคาถา (๐๒:๒๑)
๕. อริยธนคาถา (๐๑:๓๓)
๖. ติลักขณาทิคาถา (๐๓:๑๑)
๗. ภารสุตตคาถา (๐๑:๑๖)
๘. ภัทเทกรัตตคาถา (๐๒:๐๐)
๙. ธัมมคารวาทิคาถา (๐๒:๒๕)
๑๐. โอวาทปาฏิโมกขคาถา (๐๒:๐๙)
๑๑. ปฐมพุทธภาสิตคาถา (๐๑:๓๐)
๑๒. ธาตุปจจเวกขณปาฐะ (๐๖:๓๐)
๑๓. ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ (๐๐:๕๔)
๑๔. บทพิจารณาสังขาร (๐๒:๔๑)
๑๕. สัพพปตติทานคาถา (๐๒:๕๕)
๑๖. ปฏฐนฐปนคาถา (๐๕:๔๔)
เนื้อธรรม
(นาที)
บทพิเศษ ๒ (ตอนเย็น) (๓๔:๐๖)
๑๗. อริยอัฏฐังคิกมัคคปาฐะ (๑๕:๔๒)
๑๘. อตีตปจจเวกขณปาฐะ (๐๕:๐๒)
๑๙. ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณปาฐะ (๐๕:๕๙)
๒๐. ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ (๐๐:๕๒)
๒๑. อุททิสสนาธิฏฐานคาถา (๐๖:๓๑)
บทพิเศษ ๓
๒๒. ตังขณิกปจจเวกขณปาฐะ (๐๕:๓๐)
๒๓. ปจจเวกขณอุโบสถศีล (๑๙:๔๘)
บทพิเศษ ๔
๒๔. บทแผเมตตา (๐๑:๔๑)
เนื้อธรรม
คําทําวัตรเชาและเย็น
(เริ่มตนดวย คําบูชาพระรัตนตรัย และ ปุพพภาคนมการ)
คําบูชาพระรัตนตรัย
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต,
ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ.
ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน.
(กราบ ๑ ครั้ง)
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว;
ธัมมัง นะมัสสามิ.
ขาพเจานมัสการพระธรรม.
(กราบ ๑ ครั้ง)
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว;
สังฆัง นะมามิ.
ขาพเจานอบนอมพระสงฆ.
(กราบ ๑ ครั้ง)
ปุพพภาคนมการ
(คํานมัสการ)
(หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความนอบนอมอันเปนสวนเบื้องตน แดพระผูมีพระภาคเจาเถิด.)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา
พระองคนั้น;
อะระหะโต, ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส;
สัมมาสัมพุทธัสสะ. ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง.
(วา ๓ ครั้ง)
๑. พุทธาภิถุติ
(คําสรรเสริญพระพุทธเจา)
(หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระพุทธเจาเถิด.)
โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจานั้น พระองคใด;
อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส;
สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;
วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ;
สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี;
โลกะวิทู, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง;
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ,
เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได
อยางไมมีใครยิ่งกวา;
สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอน ของเทวดาและมนุษย
ทั้งหลาย;
พุทโธ, เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม;
ภะคะวา, เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรม
สั่งสอนสัตว;
โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง,
สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง
อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ, พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด,
ไดทรงทําความดับทุกขใหแจง ดวยพระปญญาอันยิ่งเองแลว,
ทรงสอนโลกนี้ พรอมทั้งเทวดา, มาร พรหม, และหมูสัตว
พรอมทั้งสมณพราหมณ, พรอมทั้งเทวดาและมนุษยใหรูตาม;
โย ธัมมัง เทเสสิ, พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด,
ทรงแสดงธรรมแลว;
อาทิกัล๎ยาณัง, ไพเราะในเบื้องตน;
มัชเฌกัล๎ยาณัง, ไพเราะในทามกลาง;
ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง, ไพเราะในที่สุด;
สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง
พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสสิ, ทรงประกาศพรหมจรรย,
คือแบบแหงการปฏิบัติอันประเสริฐ บริสุทธิ์ บริบูรณ สิ้นเชิง,
พรอมทั้งอรรถะ (คําอธิบาย) พรอมทั้งพยัญชนะ (หัวขอ);
ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ,
ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น;
ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ.
ขาพเจานอบนอมพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ดวยเศียรเกลา.
(กราบระลึกพระพุทธคุณ)
๒. ธัมมาภิถุติ
(คําสรรเสริญพระธรรม)
(หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระธรรมเถิด.)
โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรมนั้นใด, เปนสิ่งที่พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสไวดีแลว;
สันทิฏฐิโก,
เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นไดดวยตนเอง;
อะกาลิโก,
เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลได ไมจํากัดกาล;
เอหิปสสิโก,
เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด;
โอปะนะยิโก,
เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว;
ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหิ,
เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน;
ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ,
ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระธรรมนั้น;
ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ.
ขาพเจานอบนอมพระธรรมนั้น ดวยเศียรเกลา.
(กราบระลึกพระธรรมคุณ)
๓. สังฆาภิถุติ
(คําสรรเสริญพระสงฆ)
(หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระสงฆเถิด.)
โย โส สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจานั้น หมูใด, ปฏิบัติดีแลว;
อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว;
ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด,
ปฏิบัติเพื่อรูธรรม เปนเครื่องออกจากทุกขแลว;
สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว;
ยะทิทัง,
ไดแกบุคคลเหลานี้คือ;
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
คูแหงบุรุษ ๔ คู,* นับเรียงตัวบุรุษ ได ๘ บุรุษ;
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นั่นแหละ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา;
อาหุเนยโย,
เปนสงฆควรแกสักการะที่เขานํามาบูชา;
ปาหุเนยโย,
เปนสงฆควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ;
ทักขิเณยโย,
เปนผูควรรับทักษิณาทาน;
อัญชะลีกะระณีโย,
เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทําอัญชลี;
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ,
เปนเนื้อนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา;
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ,
ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระสงฆหมูนั้น;
ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ.
ขาพเจานอบนอมพระสงฆหมูนั้น ดวยเศียรเกลา.
(กราบระลึกพระสังฆคุณ)
* ๔ คูคือ โสดาปตติมรรค, โสดาปตติผล, สกทาคามิมรรค, สกทาคามิผล,
อนาคามิมรรค, อนาคามิผล, อรหัตตมรรค, อรหัตตผล.
๔. รตนัตตยัปปณามคาถา
(คาถานอบนอมพระรัตนตรัย)
(หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย กลาวคํานอบนอมพระรัตนตรัยและบาลีที่กําหนดวัตถุเครื่องแสดงความสังเวชเถิด.)
พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว,
พระพุทธเจาผูบริสุทธิ์ มีพระกรุณาดุจหวงมหรรณพ;
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน,
พระองคใด มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด;
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก,
เปนผูฆาเสียซึ่งบาป และอุปกิเลสของโลก;
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,
ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ;
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน,
พระธรรมของพระศาสดา สวางรุงเรืองเปรียบดวงประทีป;
โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก,
จําแนกประเภทคือ มรรค ผล นิพพาน, สวนใด;
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน,
ซึ่งเปนตัวโลกุตตระ, และสวนใดที่ชี้แนวแหงโลกุตตระนั้น;
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,
ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ;
สังโฆ สุเขตตาภ๎ยะติเขตตะสัญญิโต,
พระสงฆเปนนาบุญ อันยิ่งใหญกวานาบุญอันดีทั้งหลาย;
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก,
เปนผูเห็นพระนิพพาน, ตรัสรูตามพระสุคต, หมูใด;
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส,
เปนผูละกิเลสเครื่องโลเล เปนพระอริยเจา มีปญญาดี;
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง,
ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ;
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง,
วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง,
ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปททะวา,
มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา.
บุญใด ที่ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งวัตถุ ๓,
คือพระรัตนตรัย อันควรบูชายิ่งโดยสวนเดียว,
ไดกระทําแลวเปนอยางยิ่งเชนนี้นี้,
ขออุปททวะ (ความชั่ว) ทั้งหลาย,
จงอยามีแกขาพเจาเลย,
ดวยอํานาจความสําเร็จ อันเกิดจากบุญนั้น.
๕. สังเวคปริกิตตนปาฐะ
(คําแสดงสังเวช)
อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปนโน,
พระตถาคตเจาเกิดขึ้นแลว ในโลกนี้;
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
เปนผูไกลจากกิเลส, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;
ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก,
และพระธรรมที่ทรงแสดง เปนธรรมเครื่องออกจากทุกข;
อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก,
เปนเครื่องสงบกิเลส, เปนไปเพื่อปรินิพพาน;
สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต,
เปนไปเพื่อความรูพรอม, เปนธรรมที่พระสุคตประกาศ;
มะยันตัง ธัมมัง สุต๎วา เอวัง ชานามะ,
พวกเราเมื่อไดฟงธรรมนั้นแลว, จึงไดรูอยางนี้วา:–
ชาติป ทุกขา, แมความเกิด ก็เปนทุกข;
ชะราป ทุกขา, แมความแก ก็เปนทุกข;
มะระณัมป ทุกขัง, แมความตาย ก็เปนทุกข;
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาป ทุกขา,
แมความโศก ความร่ําไรรําพัน ความไมสบายกาย
ความไมสบายใจ ความคับแคนใจ ก็เปนทุกข;
อัปปเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข,
ความประสบกับสิ่งไมเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข;
ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข,
ความพลัดพรากจากสิ่งเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข;
ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง,
มีความปรารถนาสิ่งใด ไมไดสิ่งนั้น นั่นก็เปนทุกข;
สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา,
วาโดยยอ อุปาทานขันธทั้ง ๕ เปนตัวทุกข;
เสยยะถีทัง,
ไดแกสิ่งเหลานี้คือ:–
รูปูปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือรูป;
เวทะนูปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือเวทนา;
สัญูปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือสัญญา;
สังขารูปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือสังขาร;
วิญญาณูปาทานักขันโธ,
ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือวิญญาณ;
เยสัง ปะริญญายะ,
เพื่อใหสาวกกําหนดรอบรูอุปาทานขันธ เหลานี้เอง;
ธะระมาโน โส ภะคะวา,
จึงพระผูมีพระภาคเจานั้น เมื่อยังทรงพระชนมอยู;
เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ,
ยอมทรงแนะนําสาวกทั้งหลาย เชนนี้เปนสวนมาก;
เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต
สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ,
อนึ่ง คําสั่งสอนของพระผูมีพระภาคเจานั้น,
ยอมเปนไปในสาวกทั้งหลาย, สวนมาก,
มีสวนคือการจําแนกอยางนี้วา:–
รูปง อะนิจจัง, รูปไมเที่ยง;
เวทะนา อะนิจจา, เวทนาไมเที่ยง;
สัญญา อะนิจจา, สัญญาไมเที่ยง;
สังขารา อะนิจจา, สังขารไมเที่ยง;
วิญญาณัง อะนิจจัง, วิญญาณไมเที่ยง;
รูปง อะนัตตา, รูปไมใชตัวตน;
เวทะนา อะนัตตา, เวทนาไมใชตัวตน;
สัญญา อะนัตตา, สัญญาไมใชตัวตน;
สังขารา อะนัตตา, สังขารไมใชตัวตน;
วิญญาณัง อะนัตตา, วิญญาณไมใชตัวตน;
สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไมเที่ยง;
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, ธรรมทั้งหลายทั้งปวง ไมใชตัวตน
ดังนี้;
เต (หญิงวา ตา) มะยัง โอติณณาม๎หะ,
พวกเราทั้งหลาย เปนผูถูกครอบงําแลว;
ชาติยา, โดยความเกิด;
ชะรามะระเณนะ, โดยความแกและความตาย;
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ,
โดยความโศก ความร่ําไรรําพัน
ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ
ความคับแคนใจ ทั้งหลาย;
ทุกโขติณณา,
เปนผูถูกความทุกข หยั่งเอาแลว;
ทุกขะปะเรตา,
เปนผูมีความทุกข เปนเบื้องหนาแลว;
อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
อันตะกิริยา ปญญาเยถาติ.
ทําไฉน การทําที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้,
จะพึงปรากฏชัด แกเราได.
(สําหรับอุบาสก-อุบาสิกาสวด)
จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา,
เราทั้งหลาย ผูถึงแลวซึ่งพระผูมีพระภาคเจา,
แมปรินิพพานนานแลว พระองคนั้น เปนสรณะ;
ธัมมัญจะ สังฆัญจะ,
ถึงพระธรรมดวย ถึงพระสงฆดวย;
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง
มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปชชามะ,
จักทําในใจอยู ปฏิบัติตามอยู
ซึ่งคําสั่งสอนของพระผูมีพระภาคเจานั้น ตามสติกําลัง;
สา สา โน ปะฏิปตติ,
ขอใหความปฏิบัตินั้นๆ ของเราทั้งหลาย;
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ.
จงเปนไปเพื่อการทําที่สุดแหงกองทุกข ทั้งสิ้นนี้ เทอญ.
(สําหรับภิกษุ-สามเณรสวด)
จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ
อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง,
เราทั้งหลาย อุทิศเฉพาะพระผูมีพระภาคเจา,
ผูไกลจากกิเลส, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง,
แมปรินิพพานนานแลว พระองคนั้น;
สัทธา อะคารัส๎มา อะนะคาริยัง ปพพะชิตา,
เปนผูมีศรัทธา ออกบวชจากเรือน ไมเกี่ยวของดวยเรือนแลว;
ตัส๎มิง ภะคะวะติ พ๎รัห๎มะจะริยัง จะรามะ,
ประพฤติอยูซึ่งพรหมจรรย ในพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น;
ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปนนา,
ถึงพรอมดวยสิกขาและธรรมเปนเครื่องเลี้ยงชีวิต
ของภิกษุทั้งหลาย;
ตัง โน พ๎รัห๎มะจะริยัง
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ
อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ.
ขอใหพรหมจรรยของเราทั้งหลายนั้น,
จงเปนไปเพื่อการทําที่สุดแหงกองทุกข ทั้งสิ้นนี้ เทอญ.
(จบคําทําวัตรเชา)
๑. พุทธานุสสติ
(คําระลึกถึงพระพุทธเจา)
(หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความตามระลึกถึงพระพุทธเจาเถิด.)
ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ
กิตติสัทโท อัพภุคคะโต,
ก็กิตติศัพทอันงามของพระผูมีพระภาคเจานั้น,
ไดฟุงไปแลวอยางนี้วา:–
อิติป โส ภะคะวา,
เพราะเหตุอยางนี้ๆ พระผูมีพระภาคเจานั้น;
อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส;
สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง;
วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ;
สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี;
โลกะวิทู, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง;
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได
อยางไมมีใครยิ่งกวา;
สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอน ของเทวดาและมนุษย
ทั้งหลาย;
พุทโธ, เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม;
ภะคะวาติ. เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรม
สั่งสอนสัตว, ดังนี้.
๒. พุทธาภิคีติ
(คําสรรเสริญพระพุทธเจา)
(หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระพุทธเจาเถิด.)
พุทธ๎วาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต,
พระพุทธเจาประกอบดวยคุณ,
มีความประเสริฐแหงอรหันตคุณ เปนตน;
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต,
มีพระองคอันประกอบดวยพระญาณ, และพระกรุณาอันบริสุทธิ์;
โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร,
พระองคใด ทรงกระทําชนที่ดีใหเบิกบาน,
ดุจอาทิตยทําบัวใหบาน;
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง,
ขาพเจาไหวพระชินสีห ผูไมมีกิเลสพระองคนั้น ดวยเศียรเกลา;
พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระพุทธเจาพระองคใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด
ของสัตวทั้งหลาย;
ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก
องคที่หนึ่ง ดวยเศียรเกลา;
พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ
พุทโธ เม สามิกิสสะโร,
ขาพเจาเปนทาสของพระพุทธเจา,
พระพุทธเจาเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา;
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระพุทธเจาเปนเครื่องกําจัดทุกข,
และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา;
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระพุทธเจา;
วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหัง) จะริสสามิ
พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง,
ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม,
ซึ่งความตรัสรูดีของพระพุทธเจา;
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของขาพเจาไมมี,
พระพุทธเจาเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา;
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน,
ดวยการกลาวคําสัตยนี้,
ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ)
ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระพุทธเจา, ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้;
สัพเพป อันตะรายา เม
มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
อันตรายทั้งปวงอยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น.
(กราบหมอบลงวา)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,*
ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี;
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระพุทธเจา;
พุทโธ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระพุทธเจา จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น;
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ.
เพื่อการสํารวมระวัง ในพระพุทธเจา ในกาลตอไป.
* บทขอใหงดโทษนี้ มิไดเปนการขอลางบาป เปนเพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา
โทษในที่นี้ มิไดหมายถึงกรรม หมายถึงโทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สวนตัว”
ระหวางกัน ที่พึงอโหสิกันได การขอขมาชนิดนี้ สําเร็จผลไดในเมื่อผูขอตั้งใจทําจริงๆ
และเปนเพียงศีลธรรม หรือสิ่งที่ควรประพฤติ.
๓. ธัมมานุสสติ
(คําระลึกถึงพระธรรม)
(หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความตามระลึกถึงพระธรรมเถิด.)
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม เปนสิ่งที่พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสไวดีแลว;
สันทิฏฐิโก,
เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นไดดวยตนเอง;
อะกาลิโก,
เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลได ไมจํากัดกาล;
เอหิปสสิโก,
เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด;
โอปะนะยิโก,
เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว;
ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ.
เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน, ดังนี้.
๔. ธัมมาภิคีติ
(คําสรรเสริญพระธรรม)
(หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระธรรมเถิด.)
ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย,
พระธรรม เปนสิ่งที่ประเสริฐ เพราะประกอบดวยคุณ,
คือความที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว เปนตน;
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท,
เปนธรรมอันจําแนกเปน มรรค ผล ปริยัติ และนิพพาน;
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี,
เปนธรรมทรงไวซึ่งผูทรงธรรม จากการตกไปสูโลกที่ชั่ว;
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง,
ขาพเจาไหวพระธรรมอันประเสริฐนั้น อันเปนเครื่องขจัดเสีย
ซึ่งความมืด;
ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระธรรมใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย;
ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก
องคที่สอง ดวยเศียรเกลา;
ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ
ธัมโม เม สามิกิสสะโร,
ขาพเจาเปนทาสของพระธรรม,
พระธรรมเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา;
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระธรรมเปนเครื่องกําจัดทุกข,
และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา;
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตตัญจิทัง,
ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระธรรม;
วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหัง) จะริสสามิ
ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง,
ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม,
ซึ่งความเปนธรรมดีของพระธรรม;
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง
ธัมโม เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของขาพเจาไมมี,
พระธรรมเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา;
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน,
ดวยการกลาวคําสัตยนี้,
ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;
ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง
ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระธรรม, ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้;
สัพเพป อันตะรายา เม
มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น.
(กราบหมอบลงวา)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,*
ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี;
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระธรรม;
ธัมโม ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น;
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม.
เพื่อการสํารวมระวัง ในพระธรรม ในกาลตอไป.
* บทขอใหงดโทษนี้ มิไดเปนการขอลางบาป เปนเพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา
โทษในที่นี้ มิไดหมายถึงกรรม หมายถึงโทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สวนตัว”
ระหวางกัน ที่พึงอโหสิกันได การขอขมาชนิดนี้ สําเร็จผลไดในเมื่อผูขอตั้งใจทําจริงๆ
และเปนเพียงศีลธรรม หรือสิ่งที่ควรประพฤติ.
๕. สังฆานุสสติ
(คําระลึกถึงพระสงฆ)
(หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความตามระลึกถึงพระสงฆเถิด.)
สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว;
อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว;
ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด,
ปฏิบัติเพื่อรูธรรม เปนเครื่องออกจากทุกขแลว;
สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว;
ยะทิทัง,
ไดแกบุคคลเหลานี้คือ;
จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
คูแหงบุรุษ ๔ คู,* นับเรียงตัวบุรุษ ได ๘ บุรุษ;
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
นั่นแหละ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา;
อาหุเนยโย,
เปนสงฆควรแกสักการะที่เขานํามาบูชา;
ปาหุเนยโย,
เปนสงฆควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ;
ทักขิเณยโย,
เปนผูควรรับทักษิณาทาน;
อัญชะลีกะระณีโย,
เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทําอัญชลี;
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
เปนเนื้อนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา, ดังนี้.
* ๔ คูคือ โสดาปตติมรรค, โสดาปตติผล, สกทาคามิมรรค, สกทาคามิผล,
อนาคามิมรรค, อนาคามิผล, อรหัตตมรรค, อรหัตตผล.
๖. สังฆาภิคีติ
(คําสรรเสริญพระสงฆ)
(หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระสงฆเถิด.)
สัทธัมมะโช สุปะฏิปตติคุณาทิยุตโต,
พระสงฆที่เกิดโดยพระสัทธรรม,
ประกอบดวยคุณ มีความปฏิบัติดี เปนตน;
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ,
เปนหมูแหงพระอริยบุคคลอันประเสริฐ ๘ จําพวก;
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต,
มีกายและจิต อันอาศัยธรรมมีศีล เปนตน อันบวร;
วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง,
ขาพเจาไหวหมูแหงพระอริยเจาเหลานั้น อันบริสุทธิ์ดวยดี;
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง,
พระสงฆหมูใด เปนสะระณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย;
ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง,
ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก
องคที่สาม ดวยเศียรเกลา;
สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ
สังโฆ เม สามิกิสสะโร,
ขาพเจาเปนทาสของพระสงฆ,
พระสงฆเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา;
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม,
พระสงฆเปนเครื่องกําจัดทุกข,
และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา;
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง,
ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระสงฆ;
วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหัง) จะริสสามิ
สังฆัสโสปะฏิปนนะตัง,
ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม, ซึ่งความปฏิบัติดีของพระสงฆ;
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง
สังโฆ เม สะระณัง วะรัง,
สรณะอื่นของขาพเจาไมมี,
พระสงฆเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา;
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ
วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน,
ดวยการกลาวคําสัตยนี้,
ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ)
ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ,
ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระสงฆ, ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้;
สัพเพป อันตะรายา เม
มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา.
อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น.
(กราบหมอบลงวา)
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,*
ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี;
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง,
กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระสงฆ;
สังโฆ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง,
ขอพระสงฆ จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น;
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.
เพื่อการสํารวมระวัง ในพระสงฆ ในกาลตอไป.
* บทขอใหงดโทษนี้ มิไดเปนการขอลางบาป เปนเพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา
โทษในที่นี้ มิไดหมายถึงกรรม หมายถึงโทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สวนตัว”
ระหวางกัน ที่พึงอโหสิกันได การขอขมาชนิดนี้ สําเร็จผลไดในเมื่อผูขอตั้งใจทําจริงๆ
และเปนเพียงศีลธรรม หรือสิ่งที่ควรประพฤติ.
(จบคําทําวัตรเย็น)
๑. สรณคมนปาฐะ
(คําระลึกถึงพระรัตนตรัย)
(หันทะ มะยัง ติสะระณะคะมะปาฐัง ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาเพื่อระลึกถึงพระรัตนตรัยเถิด.)
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
ขาพเจาถือเอาพระพุทธเจาเปนสรณะ;
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ;
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.
ขาพเจาถือเอาพระสงฆเปนสรณะ.
ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
แมครั้งที่สอง ขาพเจาถือเอาพระพุทธเจาเปนสรณะ;
ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
แมครั้งที่สอง ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ;
ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.
แมครั้งที่สอง ขาพเจาถือเอาพระสงฆเปนสรณะ.
ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ,
แมครั้งที่สาม ขาพเจาถือเอาพระพุทธเจาเปนสรณะ;
ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ,
แมครั้งที่สาม ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ;
ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ.
แมครั้งที่สาม ขาพเจาถือเอาพระสงฆเปนสรณะ.
๒. อัฏฐสิกขาปทปาฐะ
(คําแสดงศีล ๘)
(หันทะ มะยัง อัฏฐะสิกขาปะทะปาฐัง ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงศีล ๘ เถิด.)
ปาณาติปาตา เวระมะณี,
เจตนาเปนเครื่องเวนจากการฆา;
อะทินนาทานา เวระมะณี,
เจตนาเปนเครื่องเวนจากการถือเอาสิ่งของ
ที่เจาของไมไดใหแลว;
อะพ๎รัห๎มะจะริยา เวระมะณี,
เจตนาเปนเครื่องเวนจากการกระทําอันมิใชพรหมจรรย;
มุสาวาทา เวระมะณี,
เจตนาเปนเครื่องเวนจากการพูดไมจริง;
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี,
เจตนาเปนเครื่องเวนจากการดื่มสุรา และเมรัย,
อันเปนที่ตั้งของความประมาท;
วิกาละโภชะนา เวระมะณี,
เจตนาเปนเครื่องเวนจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล;
นัจจะ คีตะ วาทิตะ วิสูกะ ทัสสะนะ มาลาคันธะ วิเลปะนะ
ธาระณะ มัณทะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี,
เจตนาเปนเครื่องเวนจากการฟอนรํา,
การขับเพลง การดนตรี,
การดูการเลนชนิดเปนขาศึกตอกุศล,
การทัดทรงสวมใส การประดับ การตกแตงตน,
ดวยพวงมาลา ดวยเครื่องกลิ่น และเครื่องผัดทา;
อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี.
เจตนาเปนเครื่องเวนจากการนั่งนอนบนที่นอนสูง
และที่นอนใหญ.
๓. ท๎วัตติงสาการปาฐะ
(คําแสดงอาการ ๓๒ ในรางกาย)
(หันทะ มะยัง ท๎วัตติงสาการะปาฐัง ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงอาการ ๓๒ ในรางกายเถิด.)
อัตถิ อิมัส๎มิง กาเย, ในรางกายนี้มี:–
เกสา, ผมทั้งหลาย; โลมา, ขนทั้งหลาย;
นะขา, เล็บทั้งหลาย; ทันตา, ฟนทั้งหลาย;
ตะโจ, หนัง; มังสัง, เนื้อ;
นะหารู, เอ็นทั้งหลาย; อัฏฐี, กระดูกทั้งหลาย;
อัฏฐิมิญชัง, เยื่อในกระดูก; วักกัง, ไต;
หะทะยัง, หัวใจ; ยะกะนัง, ตับ;
กิโลมะกัง, พังผืด; ปหะกัง, มาม;
ปปผาสัง, ปอด; อันตัง, ลําไส;
อันตะคุณัง, ลําไสสุด; อุทะริยัง, อาหารในกระเพาะ;
กะรีสัง, อุจจาระ; ปตตัง, น้ําดี;
เสมหัง, เสลด; ปุพโพ, หนอง;
โลหิตัง, โลหิต; เสโท, เหงื่อ;
เมโท, มัน; อัสสุ, น้ําตา;
วะสา, น้ําเหลือง; เขโฬ, น้ําลาย;
สิงฆาณิกา, น้ําเมือก; ละสิกา, น้ําลื่นหลอขอ;
มุตตัง, น้ํามูตร;
มัตถะเก มัตถะลุงคัง, เยื่อมันสมอง ในกระโหลกศีรษะ;
อิติ. ดังนี้แล.
๔. เขมาเขมสรณทีปกคาถา
(คาถาแสดงสรณะอันเกษมและไมเกษม)
(หันทะ มะยัง เขมาเขมะสะระณะทีปกะคาถาโย ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงสรณะอันเกษมและไมเกษมเถิด.)
พะหุง เว สะระณัง ยันติ ปพพะตานิ วะนานิ จะ,
อารามะรุกขะเจต๎ยานิ มะนุสสา ภะยะตัชชิตา,
มนุษยเปนอันมาก เมื่อเกิดมีภัยคุกคามแลว,
ก็ถือเอาภูเขาบาง ปาไมบาง,
อารามและรุกขเจดียบาง เปนสรณะ;
เนตัง โข สะระณัง เขมัง เนตัง สะระณะมุตตะมัง,
เนตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ,
นั่น มิใชสรณะอันเกษมเลย, นั่น มิใชสรณะอันสูงสุด,
เขาอาศัยสรณะนั่นแลว ยอมไมพนจากทุกขทั้งปวงได;
โย จะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สะระณัง คะโต,
จัตตาริ อะริยะสัจจานิ สัมมัปปญญายะ ปสสะติ,
สวนผูใดถือเอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะแลว,
เห็นอริยสัจจ คือความจริงอันประเสริฐ ๔ ดวยปญญาอันชอบ;
ทุกขัง ทุกขะสะมุปปาทัง ทุกขัสสะ จะ อะติกกะมัง,
อะริยัญจัฏฐังคิกัง มัคคัง ทุกขูปะสะมะคามินัง,
คือเห็นความทุกข, เหตุใหเกิดทุกข, ความกาวลวงทุกขเสียได,
และหนทางมีองค ๘ อันประเสริฐ เครื่องถึงความระงับทุกข;
เอตัง โข สะระณัง เขมัง เอตัง สะระณะมุตตะมัง,
เอตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ.
นั่นแหละ เปนสรณะอันเกษม, นั่น เปนสรณะอันสูงสุด,
เขาอาศัยสรณะนั่นแลว ยอมพนจากทุกขทั้งปวงได.
๕. อริยธนคาถา
(คาถาสรรเสริญพระอริยเจา)
(หันทะ มะยัง อะริยะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาสรรเสริญพระอริยเจาเถิด.)
ยัสสะ สัทธา ตะถาคะเต อะจะลา สุปะติฏฐิตา,
ศรัทธา ในพระตถาคตของผูใด ตั้งมั่นอยางดี ไมหวั่นไหว;
สีลัญจะ ยัสสะ กัล๎ยาณัง อะริยะกันตัง ปะสังสิตัง,
และศีลของผูใดงดงาม เปนที่สรรเสริญที่พอใจ ของพระอริยเจา;
สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อุชุภูตัญจะ ทัสสะนัง,
ความเลื่อมใสของผูใดมีในพระสงฆ, และความเห็นของผูใดตรง;
อะทะฬิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆันตัสสะ ชีวิตัง,
บัณฑิตกลาวเรียกเขาผูนั้นวา คนไมจน, ชีวิตของเขาไมเปนหมัน;
ตัส๎มา สัทธัญจะ สีลัญจะ ปะสาทัง ธัมมะทัสสะนัง,
อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรัง พุทธานะสาสะนัง.
เพราะฉะนั้น เมื่อระลึกได ถึงคําสั่งสอนของพระพุทธเจาอยู,
ผูมีปญญาควรกอสรางศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส
และความเห็นธรรมใหเนืองๆ.
๖. ติลักขณาทิคาถา
(คาถาแสดงพระไตรลักษณ)
(หันทะ มะยัง ติลักขะณาทิคาถาโย ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงพระไตรลักษณเปนเบื้องตนเถิด.)
สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ,
เมื่อใด บุคคลเห็นดวยปญญาวา สังขารทั้งปวงไมเที่ยง;
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา,
เมื่อนั้น ยอมเหนื่อยหนายในสิ่งที่เปนทุกข ที่ตนหลง,
นั่นแหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปนธรรมหมดจด;
สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ,
เมื่อใด บุคคลเห็นดวยปญญาวา สังขารทั้งปวงเปนทุกข;
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา,
เมื่อนั้น ยอมเหนื่อยหนายในสิ่งที่เปนทุกข ที่ตนหลง,
นั้นแหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปนธรรมหมดจด;
สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ,
เมื่อใด บุคคลเห็นดวยปญญาวา ธรรมทั้งปวงเปนอนัตตา;
อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา,
เมื่อนั้น ยอมเหนื่อยหนายในสิ่งที่เปนทุกข ที่ตนหลง,
นั่นแหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปนธรรมหมดจด;
อัปปะกา เต มะนุสเสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน,
ในหมูมนุษยทั้งหลาย, ผูที่ถึงฝงแหงพระนิพพานมีนอยนัก;
อะถายัง อิตะรา ปะชา ตีระเมวานุธาวะติ,
หมูมนุษยนอกนั้น ยอมวิ่งเลาะอยูตามฝงในนี้เอง;
เย จะ โข สัมมะทักขาเต ธัมเม ธัมมานุวัตติโน,
ก็ชนเหลาใด ประพฤติสมควรแกธรรม ในธรรมที่ตรัสไวชอบแลว;
เต ชะนา ปาระเมสสันติ มัจจุเธยยัง สุทุตตะรัง,
ชนเหลานั้น จักถึงฝงแหงพระนิพพาน,
ขามพนบวงแหงมัจจุ ที่ขามไดยากนัก;
กัณ๎หัง ธัมมัง วิปปะหายะ สุกกัง ภาเวถะปณฑิโต,
จงเปนบัณฑิตละธรรมดําเสีย แลวเจริญธรรมขาว;
โอกา อะโนกะมาคัมมะ วิเวเก ยัตถะ ทูระมัง,
ตัต๎ราภิระติมิจเฉยยะ หิต๎วา กาเม อะกิญจะโน.
จงมาถึงที่ไมมีน้ํา จากที่มีน้ํา,
จงละกามเสีย, เปนผูไมมีความกังวล,
จงยินดีเฉพาะตอพระนิพพาน อันเปนที่สงัด
ซึ่งสัตวยินดีไดโดยยาก.
๗. ภารสุตตคาถา
(คาถาแสดงภารสูตร)
(หันทะ มะยัง ภาระสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงภารสูตรเถิด.)
ภารา หะเว ปญจักขันธา,
ขันธทั้ง ๕ เปนของหนักเนอ;
ภาระหาโร จะ ปุคคะโล,
บุคคลแหละ เปนผูแบกของหนักพาไป;
ภาราทานัง ทุกขัง โลเก,
การแบกถือของหนัก เปนความทุกข ในโลก;
ภาระนิกเขปะนัง สุขัง,
การสลัดของหนัก ทิ้งลงเสีย เปนความสุข;
นิกขิปต๎วา คะรุง ภารัง,
พระอริยเจา สลัดทิ้งของหนัก ลงเสียแลว;
อัญญัง ภารัง อะนาทิยะ,
ทั้งไมหยิบฉวยเอาของหนักอันอื่น ขึ้นมาอีก;
สะมูลัง ตัณ๎หัง อัพพุย๎หะ,
ก็เปนผูถอนตัณหาขึ้นได กระทั่งราก;
นิจฉาโต ปะรินิพพุโต.
เปนผูหมดสิ่งปรารถนา ดับสนิทไมมีสวนเหลือ.
๘. ภัทเทกรัตตคาถา
(คาถาแสดงผูมีราตรีเดียวเจริญ)
(หันทะ มะยัง ภัทเทกะรัตตะคาถาโย ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงผูมีราตรีเดียวเจริญเถิด.)
อะตีตัง นาน๎วาคะเมยยะ นัปปะฏิกังเข อะนาคะตัง,
บุคคลไมควรตามคิดถึงสิ่งที่ลวงไปแลว ดวยอาลัย,
และไมพึงพะวงถึงสิ่งที่ยังไมมาถึง;
ยะทะตีตัมปะหีนันตัง อัปปตตัญจะ อะนาคะตัง,
สิ่งเปนอดีตก็ละไปแลว, สิ่งเปนอนาคตก็ยังไมมา;
ปจจุปปนนัญจะ โย ธัมมัง ตัตถะ ตัตถะ วิปสสะติ,
อะสังหิรัง อะสังกุปปง ตัง วิทธา มะนุพ๎รูหะเย,
ผูใดเห็นธรรมอันเกิดขึ้นเฉพาะหนาในที่นั่นๆ อยางแจมแจง,
ไมงอนแงนคลอนแคลน, เขาควรพอกพูนอาการเชนนั้นไว;
อัชเชวะ กิจจะมาตัปปง โก ชัญญา มะระณัง สุเว,
ความเพียรเปนกิจที่ตองทําวันนี้, ใครจะรูความตาย แมพรุงนี้;
นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา,
เพราะการผัดเพี้ยนตอมัจจุราชซึ่งมีเสนามาก ยอมไมมีสําหรับเรา;
เอวังวิหาริมาตาปง อะโหรัตตะมะตันทิตัง,
ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ สันโต อาจิกขะเต มุนิ.
มุนีผูสงบ ยอมกลาวเรียก ผูมีความเพียรอยูเชนนั้น,
ไมเกียจครานทั้งกลางวันกลางคืนวา,
“ผูเปนอยูแมเพียงราตรีเดียว ก็นาชม”.
๙. ธัมมคารวาทิคาถา
(คาถาแสดงความเคารพพระธรรม)
(หันทะ มะยัง ธัมมะคาระวาทิคาถาโย ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงความเคารพพระธรรมเถิด.)
เย จะ อะตีตา สัมพุทธา เย จะ พุทธา อะนาคะตา,
โย เจตะระหิ สัมพุทโธ พะหุนนัง โสกะนาสะโน,
พระพุทธเจาบรรดาที่ลวงไปแลวดวย, ที่ยังไมมาตรัสรูดวย,
และพระพุทธเจาผูขจัดโศกของมหาชนในกาลบัดนี้ดวย;
สัพเพ สัทธัมมะคะรุโน วิหะริงสุ วิหาติ จะ,
อะถาป วิหะริสสันติ เอสา พุทธานะธัมมะตา,
พระพุทธเจาทั้งปวงนั้น ทุกพระองค เคารพพระธรรม,
ไดเปนมาแลวดวย, กําลังเปนอยูดวย, และจักเปนดวย,
เพราะธรรมดาของพระพุทธเจาทั้งหลาย เปนเชนนั้นเอง;
ตัส๎มา หิ อัตตะกาเมนะ มะหัตตะมะภิกังขะตา,
สัทธัมโม คะรุกาตัพโพ สะรัง พุทธานะสาสะนัง,
เพราะฉะนั้น บุคคลผูรักตน หวังอยูเฉพาะคุณเบื้องสูง,
เมื่อระลึกไดถึงคําสั่งสอนของพระพุทธเจาอยู,
จงทําความเคารพพระธรรม;
นะ หิ ธัมโม อะธัมโม จะ อุโภ สะมะวิปากิโน,
ธรรมและอธรรม จะมีผลเหมือนกันทั้งสองอยาง หามิได;
อะธัมโม นิระยัง เนติ ธัมโม ปาเปติ สุคะติง,
อธรรม ยอมนําไปนรก, ธรรม ยอมนําใหถึงสุคติ;
ธัมโม หะเว รักขะติ ธัมมะจาริง,
ธรรมแหละ ยอมรักษาผูประพฤติธรรมเปนนิจ;
ธัมโม สุจิณโณ สุขะมาวะหาติ,
ธรรมที่ประพฤติดีแลว ยอมนําสุขมาใหตน;
เอสานิสังโส ธัมเม สุจิณเณ.
นี่เปนอานิสงส ในธรรมที่ตนประพฤติดีแลว.
๑๐. โอวาทปาฏิโมกขคาถา
(คาถาแสดงพระโอวาทปาติโมกข)
(หันทะ มะยัง โอวาทะปาติโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงพระโอวาทปาติโมกขเถิด.)
สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง, การไมทําบาปทั้งปวง;
กุสะลัสสูปะสัมปะทา, การทํากุศลใหถึงพรอม;
สะจิตตะปะริโยทะปะนัง, การชําระจิตของตนใหขาวรอบ;
เอตัง พุทธานะสาสะนัง.
ธรรม ๓ อยางนี้ เปนคําสั่งสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย.
ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา,
ขันติ คือความอดกลั้น เปนธรรมเครื่องเผากิเลสอยางยิ่ง;
นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา,
ผูรูทั้งหลาย กลาวพระนิพพานวาเปนธรรมอันยิ่ง;
นะ หิ ปพพะชิโต ปะรูปะฆาตี,
ผูกําจัดสัตวอื่นอยู ไมชื่อวาเปนบรรพชิตเลย;
สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต.
ผูทําสัตวอื่นใหลําบากอยู ไมชื่อวาเปนสมณะเลย.
อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต, การไมพูดราย, การไมทําราย;
ปาติโมกเข จะ สังวะโร, การสํารวมในปาติโมกข;
มัตตัญุตา จะ ภัตตัส๎มิง, ความเปนผูรูประมาณในการบริโภค;
ปนตัญจะ สะยะนาสะนัง, การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด;
อะธิจิตเต จะ อาโยโค, ความหมั่นประกอบในการทําจิต
ใหยิ่ง;
เอตัง พุทธานะสาสะนัง.
ธรรม ๖ อยางนี้ เปนคําสั่งสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย.
๑๑. ปฐมพุทธภาสิตคาถา
(คาถาพุทธภาษิตครั้งแรกของพระพุทธเจา)
(หันทะ มะยัง ปะฐะมะพุทธะภาสิตะคาถาโย ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาพุทธภาษิตครั้งแรกของพระพุทธเจาเถิด.)
อะเนกะชาติสังสารัง สันธาวิสสัง อะนิพพิสัง,
เมื่อเรายังไมพบญาณ, ไดแลนทองเที่ยวไปในสงสารเปนอเนกชาติ;
คะหะการัง คะเวสันโต ทุกขา ชาติ ปุนัปปุนัง,
แสวงหาอยูซึ่งนายชางปลูกเรือน, คือตัณหาผูสรางภพ,
การเกิดทุกคราว เปนทุกขร่ําไป;
คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะ เคหัง นะ กาหะสิ,
นี่แนะ นายชางปลูกเรือน, เรารูจักเจาเสียแลว,
เจาจะทําเรือนใหเราไมไดอีกตอไป;
สัพพา เต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏัง วิสังขะตัง,
โครงเรือนทั้งหมดของเจาเราหักเสียแลว, ยอดเรือนเราก็รื้อเสียแลว;
วิสังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคา.
จิตของเราถึงแลวซึ่งสภาพที่อะไรปรุงแตงไมไดอีกตอไป,
มันไดถึงแลวซึ่งความสิ้นไปแหงตัณหา, คือถึงนิพพาน.
๑๒. ธาตุปจจเวกขณปาฐะ
(คําพิจารณาปจจัย ๔ ใหเห็นเปนของไมงาม)
(หันทะ มะยัง ธาตุปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําพิจารณาปจจัย ๔ ใหเห็นเปนของไมงามเถิด.)
(พิจารณาจีวร)
ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง,
สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น,
กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ;
ยะทิทัง จีวะรัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล,
สิ่งเหลานี้ คือ จีวร, และคนผูใชสอยจีวรนั้น;
ธาตุมัตตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ;
นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน;
นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล;
สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน;
สัพพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคุจฉะนียานิ,
ก็จีวรทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม;
อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา,
ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว;
อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ.
ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.
(พิจารณาอาหาร)
ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง,
สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น,
กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ;
ยะทิทัง ปณฑะปาโต, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล,
สิ่งเหลานี้ คือ บิณฑบาต, และคนผูบริโภคบิณฑบาตนั้น;
ธาตุมัตตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ;
นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน;
นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล;
สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน;
สัพโพ ปะนายัง ปณฑะปาโต อะชิคุจฉะนีโย,
ก็บิณฑบาตทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม;
อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา,
ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว;
อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ.
ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.
(พิจารณาที่อยูอาศัย)
ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง,
สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น,
กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ;
ยะทิทัง เสนาสะนัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล,
สิ่งเหลานี้ คือ เสนาสนะ, และคนผูใชสอยเสนาสนะนั้น;
ธาตุมัตตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ;
นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน;
นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล;
สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน;
สัพพานิ ปะนะ อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิคุจฉะนียานิ,
ก็เสนาสนะทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม;
อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา,
ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว;
อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ.
ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.
(พิจารณายารักษาโรค)
ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง,
สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น,
กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ;
ยะทิทัง คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร,
ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล,
สิ่งเหลานี้ คือ เภสัชบริขารอันเกื้อกูลแกคนไข,
และคนผูบริโภคเภสัชบริขารนั้น;
ธาตุมัตตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ;
นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน;
นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล;
สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน;
สัพโพ ปะนายัง คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคุจฉะนีโย,
ก็คิลานเภสัชบริขารทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม;
อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา,
ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว;
อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ.
ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.
๑๓. ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ
(คําแสดงพระโอวาทครั้งสุดทายของพระพุทธเจา)
(หันทะ มะยัง ปจฉิมะพุทโธวาทะปาฐัง ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงพระโอวาทครั้งสุดทายของพระพุทธเจาเถิด.)
หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว,
ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, บัดนี้, เราขอเตือนทานทั้งหลายวา;
วะยะธัมมา สังขารา,
สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมไปเปนธรรมดา;
อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ,
ทานทั้งหลาย, จงทําความไมประมาทใหถึงพรอมเถิด;
อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปจฉิมา วาจา.
นี้เปนพระวาจามีในครั้งสุดทาย ของพระตถาคตเจา.
๑๔. บทพิจารณาสังขาร
(คาถาพิจารณาธรรมสังเวช)
(หันทะ มะยัง ธัมมะสังเวคะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.)
(เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาพิจารณาธรรมสังเวชเถิด.)
สัพเพ สังขารา อะนิจจา,
สังขาร คือรางกาย จิตใจ,
แลรูปธรรม นามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น,
มันไมเที่ยง, เกิดขึ้นแลวดับไป, มีแลวหายไป;
สัพเพ สังขารา ทุกขา,
สังขาร คือรางกาย จิตใจ,
แลรูปธรรม นามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น,
มันเปนทุกข ทนยาก, เพราะเกิดขึ้นแลว แก เจ็บ ตายไป;
สัพเพ ธัมมา อะนัตตา,
สิ่งทั้งหลายทั้งปวง,
ทั้งที่เปนสังขาร แลมิใชสังขาร ทั้งหมดทั้งสิ้น,
ไมใชตัวไมใชตน,
ไมควรถือวาเรา วาของเรา วาตัว วาตนของเรา;
อะธุวัง ชีวิตัง, ชีวิตเปนของไมยั่งยืน;
ธุวัง มะระณัง, ความตายเปนของยั่งยืน;
อะวัสสัง มะยา มะริตัพพัง, อันเราจะพึงตายเปนแท;
มะระณะปะริโยสานัง เม ชีวิตัง, ชีวิตของเรามีความตาย
เปนที่สุดรอบ;
ชีวิตัง เม อะนิยะตัง, ชีวิตของเราเปนของไมเที่ยง;
มะระณัง เม นิยะตัง, ความตายของเราเปนของเที่ยง;
วะตะ, ควรที่จะสังเวช;
อะยัง กาโย, รางกายนี้;
อะจิรัง, มิไดตั้งอยูนาน;
อะเปตะวิญญาโณ, ครั้นปราศจากวิญญาณ;
ฉุฑโฑ, อันเขาทิ้งเสียแลว;
อะธิเสสสะติ, จักนอนทับ;
ปะฐะวิง, ซึ่งแผนดิน;
กะลิงคะรัง อิวะ, ประดุจดังวาทอนไมและทอนฟน;
นิรัตถัง. หาประโยชนมิได.
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6
File6

More Related Content

What's hot

3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘Tongsamut vorasan
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยSarod Paichayonrittha
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญPhatphong Mahawattano
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนniralai
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานAnchalee BuddhaBucha
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔Tongsamut vorasan
 
หนังสือ:ศาสตร์และศิลป์แห่งความเป็นครู
หนังสือ:ศาสตร์และศิลป์แห่งความเป็นครูหนังสือ:ศาสตร์และศิลป์แห่งความเป็นครู
หนังสือ:ศาสตร์และศิลป์แห่งความเป็นครูOBEC
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติPojjanee Paniangvait
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗Tongsamut vorasan
 

What's hot (16)

สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
สวดมนต์แปล(ตัวใหญ่)
 
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
3 38คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๘
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อนสมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
สมุดประจำตัวกิจกรรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
 
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายานศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
ศึกษาพระสูตรสำคัญของมหายาน
 
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
2 26คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๔
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
มนต์พิธี
มนต์พิธีมนต์พิธี
มนต์พิธี
 
หนังสือ:ศาสตร์และศิลป์แห่งความเป็นครู
หนังสือ:ศาสตร์และศิลป์แห่งความเป็นครูหนังสือ:ศาสตร์และศิลป์แห่งความเป็นครู
หนังสือ:ศาสตร์และศิลป์แห่งความเป็นครู
 
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติบทบูชาพระบรมสาริกธาติ
บทบูชาพระบรมสาริกธาติ
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
3 37คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๗
 

Similar to File6

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวชniralai
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาTongsamut Vorasarn
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdfmaruay songtanin
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfTotsaporn Inthanin
 

Similar to File6 (20)

11-bhava.pdf
11-bhava.pdf11-bhava.pdf
11-bhava.pdf
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
คู่มือการบวช
คู่มือการบวชคู่มือการบวช
คู่มือการบวช
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
9-pathama-dhamma.pdf
9-pathama-dhamma.pdf9-pathama-dhamma.pdf
9-pathama-dhamma.pdf
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
๐๖. ภูริทัตตชาดก.pdf
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก๑
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
(๑) พุทธาปทาน มจร.pdf
 
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
Tri91 15+ทีฆนิกาย+ปาฏิกวรรค+เล่ม+๓+ภาค+๑ (1)
 
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
 
tes
testes
tes
 
19-satta.pdf
19-satta.pdf19-satta.pdf
19-satta.pdf
 
61 buddhist07092557
61 buddhist0709255761 buddhist07092557
61 buddhist07092557
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
 

File6

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 6. (นาที) ภาค ๑ คําทําวัตรเชาและเย็น คําบูชาพระรัตนตรัย (๐๑:๓๒) ปุพพภาคนมการ (๐๑:๒๘) คําทําวัตรเชา (๑๘:๕๓) ๑. พุทธาภิถุติ (๐๓:๓๑) ๒. ธัมมาภิถุติ (๐๑:๒๖) ๓. สังฆาภิถุติ (๐๒:๔๒) ๔. รตนัตตยัปปณามคาถา (๐๓:๒๐) ๕. สังเวคปริกิตตนปาฐะ (๐๗:๕๔) คําทําวัตรเย็น (๑๗:๒๙) ๑. พุทธานุสสติ (๐๑:๕๐) ๒. พุทธาภิคีติ (๐๔:๑๖) ๓. ธัมมานุสสติ (๐๑:๐๖) ๔. ธัมมาภิคีติ (๐๔:๐๒) ๕. สังฆานุสสติ (๐๒:๒๐) ๖. สังฆาภิคีติ (๐๓:๕๕)
  • 7. (นาที) ภาค ๒ บทสวดมนตพิเศษ บทพิเศษ ๑ (ตอนเชา) (๔๑:๒๕) ๑. สรณคมนปาฐะ (๐๑:๔๓) ๒. อัฏฐสิกขาปทปาฐะ (๐๒:๐๔) ๓. ท๎วัตติงสาการปาฐะ (๐๒:๒๙) ๔. เขมาเขมสรณทีปกคาถา (๐๒:๒๑) ๕. อริยธนคาถา (๐๑:๓๓) ๖. ติลักขณาทิคาถา (๐๓:๑๑) ๗. ภารสุตตคาถา (๐๑:๑๖) ๘. ภัทเทกรัตตคาถา (๐๒:๐๐) ๙. ธัมมคารวาทิคาถา (๐๒:๒๕) ๑๐. โอวาทปาฏิโมกขคาถา (๐๒:๐๙) ๑๑. ปฐมพุทธภาสิตคาถา (๐๑:๓๐) ๑๒. ธาตุปจจเวกขณปาฐะ (๐๖:๓๐) ๑๓. ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ (๐๐:๕๔) ๑๔. บทพิจารณาสังขาร (๐๒:๔๑) ๑๕. สัพพปตติทานคาถา (๐๒:๕๕) ๑๖. ปฏฐนฐปนคาถา (๐๕:๔๔) เนื้อธรรม
  • 8. (นาที) บทพิเศษ ๒ (ตอนเย็น) (๓๔:๐๖) ๑๗. อริยอัฏฐังคิกมัคคปาฐะ (๑๕:๔๒) ๑๘. อตีตปจจเวกขณปาฐะ (๐๕:๐๒) ๑๙. ปพพชิตอภิณหปจจเวกขณปาฐะ (๐๕:๕๙) ๒๐. ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ (๐๐:๕๒) ๒๑. อุททิสสนาธิฏฐานคาถา (๐๖:๓๑) บทพิเศษ ๓ ๒๒. ตังขณิกปจจเวกขณปาฐะ (๐๕:๓๐) ๒๓. ปจจเวกขณอุโบสถศีล (๑๙:๔๘) บทพิเศษ ๔ ๒๔. บทแผเมตตา (๐๑:๔๑) เนื้อธรรม
  • 9.
  • 10. คําทําวัตรเชาและเย็น (เริ่มตนดวย คําบูชาพระรัตนตรัย และ ปุพพภาคนมการ) คําบูชาพระรัตนตรัย อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผูมีพระภาคเจา, เปนพระอรหันต, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกขสิ้นเชิง, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ. ขาพเจาอภิวาทพระผูมีพระภาคเจา, ผูรู ผูตื่น ผูเบิกบาน. (กราบ ๑ ครั้ง) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา, ตรัสไวดีแลว; ธัมมัง นะมัสสามิ. ขาพเจานมัสการพระธรรม. (กราบ ๑ ครั้ง) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ สาวกของพระผูมีพระภาคเจา, ปฏิบัติดีแลว; สังฆัง นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระสงฆ. (กราบ ๑ ครั้ง)
  • 11. ปุพพภาคนมการ (คํานมัสการ) (หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความนอบนอมอันเปนสวนเบื้องตน แดพระผูมีพระภาคเจาเถิด.) นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น; อะระหะโต, ซึ่งเปนผูไกลจากกิเลส; สัมมาสัมพุทธัสสะ. ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง. (วา ๓ ครั้ง)
  • 12.
  • 13.
  • 14. ๑. พุทธาภิถุติ (คําสรรเสริญพระพุทธเจา) (หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระพุทธเจาเถิด.) โย โส ตะถาคะโต, พระตถาคตเจานั้น พระองคใด; อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส; สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ; สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี; โลกะวิทู, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง; อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา; สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอน ของเทวดาและมนุษย ทั้งหลาย; พุทโธ, เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม; ภะคะวา, เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรม สั่งสอนสัตว;
  • 15. โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง สะพ๎รัห๎มะกัง, สัสสะมะณะพ๎ราห๎มะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัต๎วา ปะเวเทสิ, พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด, ไดทรงทําความดับทุกขใหแจง ดวยพระปญญาอันยิ่งเองแลว, ทรงสอนโลกนี้ พรอมทั้งเทวดา, มาร พรหม, และหมูสัตว พรอมทั้งสมณพราหมณ, พรอมทั้งเทวดาและมนุษยใหรูตาม; โย ธัมมัง เทเสสิ, พระผูมีพระภาคเจาพระองคใด, ทรงแสดงธรรมแลว; อาทิกัล๎ยาณัง, ไพเราะในเบื้องตน; มัชเฌกัล๎ยาณัง, ไพเราะในทามกลาง; ปะริโยสานะกัล๎ยาณัง, ไพเราะในที่สุด; สาตถัง สะพ๎ยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง ปะริสุทธัง พ๎รัห๎มะจะริยัง ปะกาเสสิ, ทรงประกาศพรหมจรรย, คือแบบแหงการปฏิบัติอันประเสริฐ บริสุทธิ์ บริบูรณ สิ้นเชิง, พรอมทั้งอรรถะ (คําอธิบาย) พรอมทั้งพยัญชนะ (หัวขอ); ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น; ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น ดวยเศียรเกลา. (กราบระลึกพระพุทธคุณ)
  • 16. ๒. ธัมมาภิถุติ (คําสรรเสริญพระธรรม) (หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระธรรมเถิด.) โย โส ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรมนั้นใด, เปนสิ่งที่พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสไวดีแลว; สันทิฏฐิโก, เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นไดดวยตนเอง; อะกาลิโก, เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลได ไมจํากัดกาล; เอหิปสสิโก, เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด; โอปะนะยิโก, เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว; ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหิ, เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน; ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระธรรมนั้น; ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระธรรมนั้น ดวยเศียรเกลา. (กราบระลึกพระธรรมคุณ)
  • 17. ๓. สังฆาภิถุติ (คําสรรเสริญพระสงฆ) (หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความชมเชยเฉพาะพระสงฆเถิด.) โย โส สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจานั้น หมูใด, ปฏิบัติดีแลว; อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว; ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติเพื่อรูธรรม เปนเครื่องออกจากทุกขแลว; สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว; ยะทิทัง, ไดแกบุคคลเหลานี้คือ; จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, คูแหงบุรุษ ๔ คู,* นับเรียงตัวบุรุษ ได ๘ บุรุษ; เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา;
  • 18. อาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะที่เขานํามาบูชา; ปาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ; ทักขิเณยโย, เปนผูควรรับทักษิณาทาน; อัญชะลีกะระณีโย, เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทําอัญชลี; อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ, เปนเนื้อนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา; ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ, ขาพเจาบูชาอยางยิ่ง เฉพาะพระสงฆหมูนั้น; ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ. ขาพเจานอบนอมพระสงฆหมูนั้น ดวยเศียรเกลา. (กราบระลึกพระสังฆคุณ) * ๔ คูคือ โสดาปตติมรรค, โสดาปตติผล, สกทาคามิมรรค, สกทาคามิผล, อนาคามิมรรค, อนาคามิผล, อรหัตตมรรค, อรหัตตผล.
  • 19. ๔. รตนัตตยัปปณามคาถา (คาถานอบนอมพระรัตนตรัย) (หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐัญจะ ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย กลาวคํานอบนอมพระรัตนตรัยและบาลีที่กําหนดวัตถุเครื่องแสดงความสังเวชเถิด.) พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว, พระพุทธเจาผูบริสุทธิ์ มีพระกรุณาดุจหวงมหรรณพ; โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน, พระองคใด มีตาคือญาณอันประเสริฐหมดจดถึงที่สุด; โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก, เปนผูฆาเสียซึ่งบาป และอุปกิเลสของโลก; วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ; ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน, พระธรรมของพระศาสดา สวางรุงเรืองเปรียบดวงประทีป; โย มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก, จําแนกประเภทคือ มรรค ผล นิพพาน, สวนใด; โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน, ซึ่งเปนตัวโลกุตตระ, และสวนใดที่ชี้แนวแหงโลกุตตระนั้น; วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ;
  • 20. สังโฆ สุเขตตาภ๎ยะติเขตตะสัญญิโต, พระสงฆเปนนาบุญ อันยิ่งใหญกวานาบุญอันดีทั้งหลาย; โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก, เปนผูเห็นพระนิพพาน, ตรัสรูตามพระสุคต, หมูใด; โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส, เปนผูละกิเลสเครื่องโลเล เปนพระอริยเจา มีปญญาดี; วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง, ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนั้น โดยใจเคารพเอื้อเฟอ; อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง, วัตถุตตะยัง วันทะยะตาภิสังขะตัง, ปุญญัง มะยา ยัง มะมะ สัพพุปททะวา, มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา. บุญใด ที่ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งวัตถุ ๓, คือพระรัตนตรัย อันควรบูชายิ่งโดยสวนเดียว, ไดกระทําแลวเปนอยางยิ่งเชนนี้นี้, ขออุปททวะ (ความชั่ว) ทั้งหลาย, จงอยามีแกขาพเจาเลย, ดวยอํานาจความสําเร็จ อันเกิดจากบุญนั้น.
  • 21. ๕. สังเวคปริกิตตนปาฐะ (คําแสดงสังเวช) อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปนโน, พระตถาคตเจาเกิดขึ้นแลว ในโลกนี้; อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูไกลจากกิเลส, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; ธัมโม จะ เทสิโต นิยยานิโก, และพระธรรมที่ทรงแสดง เปนธรรมเครื่องออกจากทุกข; อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก, เปนเครื่องสงบกิเลส, เปนไปเพื่อปรินิพพาน; สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต, เปนไปเพื่อความรูพรอม, เปนธรรมที่พระสุคตประกาศ; มะยันตัง ธัมมัง สุต๎วา เอวัง ชานามะ, พวกเราเมื่อไดฟงธรรมนั้นแลว, จึงไดรูอยางนี้วา:– ชาติป ทุกขา, แมความเกิด ก็เปนทุกข; ชะราป ทุกขา, แมความแก ก็เปนทุกข; มะระณัมป ทุกขัง, แมความตาย ก็เปนทุกข; โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาป ทุกขา, แมความโศก ความร่ําไรรําพัน ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ ความคับแคนใจ ก็เปนทุกข;
  • 22. อัปปเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข, ความประสบกับสิ่งไมเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข; ปเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข, ความพลัดพรากจากสิ่งเปนที่รักที่พอใจ ก็เปนทุกข; ยัมปจฉัง นะ ละภะติ ตัมป ทุกขัง, มีความปรารถนาสิ่งใด ไมไดสิ่งนั้น นั่นก็เปนทุกข; สังขิตเตนะ ปญจุปาทานักขันธา ทุกขา, วาโดยยอ อุปาทานขันธทั้ง ๕ เปนตัวทุกข; เสยยะถีทัง, ไดแกสิ่งเหลานี้คือ:– รูปูปาทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือรูป; เวทะนูปาทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือเวทนา; สัญูปาทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือสัญญา; สังขารูปาทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือสังขาร; วิญญาณูปาทานักขันโธ, ขันธ อันเปนที่ตั้งแหงความยึดมั่น คือวิญญาณ;
  • 23. เยสัง ปะริญญายะ, เพื่อใหสาวกกําหนดรอบรูอุปาทานขันธ เหลานี้เอง; ธะระมาโน โส ภะคะวา, จึงพระผูมีพระภาคเจานั้น เมื่อยังทรงพระชนมอยู; เอวัง พะหุลัง สาวะเก วิเนติ, ยอมทรงแนะนําสาวกทั้งหลาย เชนนี้เปนสวนมาก; เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ, อนึ่ง คําสั่งสอนของพระผูมีพระภาคเจานั้น, ยอมเปนไปในสาวกทั้งหลาย, สวนมาก, มีสวนคือการจําแนกอยางนี้วา:– รูปง อะนิจจัง, รูปไมเที่ยง; เวทะนา อะนิจจา, เวทนาไมเที่ยง; สัญญา อะนิจจา, สัญญาไมเที่ยง; สังขารา อะนิจจา, สังขารไมเที่ยง; วิญญาณัง อะนิจจัง, วิญญาณไมเที่ยง; รูปง อะนัตตา, รูปไมใชตัวตน; เวทะนา อะนัตตา, เวทนาไมใชตัวตน; สัญญา อะนัตตา, สัญญาไมใชตัวตน; สังขารา อะนัตตา, สังขารไมใชตัวตน; วิญญาณัง อะนัตตา, วิญญาณไมใชตัวตน;
  • 24. สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สังขารทั้งหลายทั้งปวง ไมเที่ยง; สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ, ธรรมทั้งหลายทั้งปวง ไมใชตัวตน ดังนี้; เต (หญิงวา ตา) มะยัง โอติณณาม๎หะ, พวกเราทั้งหลาย เปนผูถูกครอบงําแลว; ชาติยา, โดยความเกิด; ชะรามะระเณนะ, โดยความแกและความตาย; โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ, โดยความโศก ความร่ําไรรําพัน ความไมสบายกาย ความไมสบายใจ ความคับแคนใจ ทั้งหลาย; ทุกโขติณณา, เปนผูถูกความทุกข หยั่งเอาแลว; ทุกขะปะเรตา, เปนผูมีความทุกข เปนเบื้องหนาแลว; อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปญญาเยถาติ. ทําไฉน การทําที่สุดแหงกองทุกขทั้งสิ้นนี้, จะพึงปรากฏชัด แกเราได.
  • 25. (สําหรับอุบาสก-อุบาสิกาสวด) จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา, เราทั้งหลาย ผูถึงแลวซึ่งพระผูมีพระภาคเจา, แมปรินิพพานนานแลว พระองคนั้น เปนสรณะ; ธัมมัญจะ สังฆัญจะ, ถึงพระธรรมดวย ถึงพระสงฆดวย; ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปชชามะ, จักทําในใจอยู ปฏิบัติตามอยู ซึ่งคําสั่งสอนของพระผูมีพระภาคเจานั้น ตามสติกําลัง; สา สา โน ปะฏิปตติ, ขอใหความปฏิบัตินั้นๆ ของเราทั้งหลาย; อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ. จงเปนไปเพื่อการทําที่สุดแหงกองทุกข ทั้งสิ้นนี้ เทอญ.
  • 26. (สําหรับภิกษุ-สามเณรสวด) จิระปะรินิพพุตัมป ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, เราทั้งหลาย อุทิศเฉพาะพระผูมีพระภาคเจา, ผูไกลจากกิเลส, ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง, แมปรินิพพานนานแลว พระองคนั้น; สัทธา อะคารัส๎มา อะนะคาริยัง ปพพะชิตา, เปนผูมีศรัทธา ออกบวชจากเรือน ไมเกี่ยวของดวยเรือนแลว; ตัส๎มิง ภะคะวะติ พ๎รัห๎มะจะริยัง จะรามะ, ประพฤติอยูซึ่งพรหมจรรย ในพระผูมีพระภาคเจา พระองคนั้น; ภิกขูนัง สิกขาสาชีวะสะมาปนนา, ถึงพรอมดวยสิกขาและธรรมเปนเครื่องเลี้ยงชีวิต ของภิกษุทั้งหลาย; ตัง โน พ๎รัห๎มะจะริยัง อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ. ขอใหพรหมจรรยของเราทั้งหลายนั้น, จงเปนไปเพื่อการทําที่สุดแหงกองทุกข ทั้งสิ้นนี้ เทอญ. (จบคําทําวัตรเชา)
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30. ๑. พุทธานุสสติ (คําระลึกถึงพระพุทธเจา) (หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความตามระลึกถึงพระพุทธเจาเถิด.) ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง เอวัง กัล๎ยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต, ก็กิตติศัพทอันงามของพระผูมีพระภาคเจานั้น, ไดฟุงไปแลวอยางนี้วา:– อิติป โส ภะคะวา, เพราะเหตุอยางนี้ๆ พระผูมีพระภาคเจานั้น; อะระหัง, เปนผูไกลจากกิเลส; สัมมาสัมพุทโธ, เปนผูตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง; วิชชาจะระณะสัมปนโน, เปนผูถึงพรอมดวยวิชชาและจรณะ; สุคะโต, เปนผูไปแลวดวยดี; โลกะวิทู, เปนผูรูโลกอยางแจมแจง; อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ, เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได อยางไมมีใครยิ่งกวา; สัตถา เทวะมะนุสสานัง, เปนครูผูสอน ของเทวดาและมนุษย ทั้งหลาย; พุทโธ, เปนผูรู ผูตื่น ผูเบิกบานดวยธรรม; ภะคะวาติ. เปนผูมีความจําเริญ จําแนกธรรม สั่งสอนสัตว, ดังนี้.
  • 31. ๒. พุทธาภิคีติ (คําสรรเสริญพระพุทธเจา) (หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระพุทธเจาเถิด.) พุทธ๎วาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต, พระพุทธเจาประกอบดวยคุณ, มีความประเสริฐแหงอรหันตคุณ เปนตน; สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต, มีพระองคอันประกอบดวยพระญาณ, และพระกรุณาอันบริสุทธิ์; โพเธสิ โย สุชะนะตัง กะมะลังวะ สูโร, พระองคใด ทรงกระทําชนที่ดีใหเบิกบาน, ดุจอาทิตยทําบัวใหบาน; วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง, ขาพเจาไหวพระชินสีห ผูไมมีกิเลสพระองคนั้น ดวยเศียรเกลา; พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระพุทธเจาพระองคใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย; ปะฐะมานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ขาพเจาไหวพระพุทธเจาพระองคนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก องคที่หนึ่ง ดวยเศียรเกลา;
  • 32. พุทธัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร, ขาพเจาเปนทาสของพระพุทธเจา, พระพุทธเจาเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา; พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พระพุทธเจาเปนเครื่องกําจัดทุกข, และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา; พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระพุทธเจา; วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง, ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม, ซึ่งความตรัสรูดีของพระพุทธเจา; นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของขาพเจาไมมี, พระพุทธเจาเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ดวยการกลาวคําสัตยนี้, ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา; พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระพุทธเจา, ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้;
  • 33. สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายทั้งปวงอยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น. (กราบหมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,* ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี; พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระพุทธเจา; พุทโธ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระพุทธเจา จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น; กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ. เพื่อการสํารวมระวัง ในพระพุทธเจา ในกาลตอไป. * บทขอใหงดโทษนี้ มิไดเปนการขอลางบาป เปนเพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา โทษในที่นี้ มิไดหมายถึงกรรม หมายถึงโทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สวนตัว” ระหวางกัน ที่พึงอโหสิกันได การขอขมาชนิดนี้ สําเร็จผลไดในเมื่อผูขอตั้งใจทําจริงๆ และเปนเพียงศีลธรรม หรือสิ่งที่ควรประพฤติ.
  • 34. ๓. ธัมมานุสสติ (คําระลึกถึงพระธรรม) (หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความตามระลึกถึงพระธรรมเถิด.) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เปนสิ่งที่พระผูมีพระภาคเจา ไดตรัสไวดีแลว; สันทิฏฐิโก, เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นไดดวยตนเอง; อะกาลิโก, เปนสิ่งที่ปฏิบัติได และใหผลได ไมจํากัดกาล; เอหิปสสิโก, เปนสิ่งที่ควรกลาวกะผูอื่นวา ทานจงมาดูเถิด; โอปะนะยิโก, เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว; ปจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญูหีติ. เปนสิ่งที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน, ดังนี้.
  • 35. ๔. ธัมมาภิคีติ (คําสรรเสริญพระธรรม) (หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระธรรมเถิด.) ส๎วากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย, พระธรรม เปนสิ่งที่ประเสริฐ เพราะประกอบดวยคุณ, คือความที่พระผูมีพระภาคเจา ตรัสไวดีแลว เปนตน; โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท, เปนธรรมอันจําแนกเปน มรรค ผล ปริยัติ และนิพพาน; ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี, เปนธรรมทรงไวซึ่งผูทรงธรรม จากการตกไปสูโลกที่ชั่ว; วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง, ขาพเจาไหวพระธรรมอันประเสริฐนั้น อันเปนเครื่องขจัดเสีย ซึ่งความมืด; ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระธรรมใด เปนสรณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย; ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ขาพเจาไหวพระธรรมนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก องคที่สอง ดวยเศียรเกลา;
  • 36. ธัมมัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร, ขาพเจาเปนทาสของพระธรรม, พระธรรมเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา; ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พระธรรมเปนเครื่องกําจัดทุกข, และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา; ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตตัญจิทัง, ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระธรรม; วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง, ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม, ซึ่งความเปนธรรมดีของพระธรรม; นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของขาพเจาไมมี, พระธรรมเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ดวยการกลาวคําสัตยนี้, ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา;
  • 37. ธัมมัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระธรรม, ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้; สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น. (กราบหมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,* ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี; ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระธรรม; ธัมโม ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น; กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม. เพื่อการสํารวมระวัง ในพระธรรม ในกาลตอไป. * บทขอใหงดโทษนี้ มิไดเปนการขอลางบาป เปนเพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา โทษในที่นี้ มิไดหมายถึงกรรม หมายถึงโทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สวนตัว” ระหวางกัน ที่พึงอโหสิกันได การขอขมาชนิดนี้ สําเร็จผลไดในเมื่อผูขอตั้งใจทําจริงๆ และเปนเพียงศีลธรรม หรือสิ่งที่ควรประพฤติ.
  • 38. ๕. สังฆานุสสติ (คําระลึกถึงพระสงฆ) (หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความตามระลึกถึงพระสงฆเถิด.) สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติดีแลว; อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติตรงแลว; ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติเพื่อรูธรรม เปนเครื่องออกจากทุกขแลว; สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา หมูใด, ปฏิบัติสมควรแลว; ยะทิทัง, ไดแกบุคคลเหลานี้คือ; จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา, คูแหงบุรุษ ๔ คู,* นับเรียงตัวบุรุษ ได ๘ บุรุษ; เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, นั่นแหละ สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา;
  • 39. อาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะที่เขานํามาบูชา; ปาหุเนยโย, เปนสงฆควรแกสักการะที่เขาจัดไวตอนรับ; ทักขิเณยโย, เปนผูควรรับทักษิณาทาน; อัญชะลีกะระณีโย, เปนผูที่บุคคลทั่วไปควรทําอัญชลี; อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. เปนเนื้อนาบุญของโลก, ไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา, ดังนี้. * ๔ คูคือ โสดาปตติมรรค, โสดาปตติผล, สกทาคามิมรรค, สกทาคามิผล, อนาคามิมรรค, อนาคามิผล, อรหัตตมรรค, อรหัตตผล.
  • 40. ๖. สังฆาภิคีติ (คําสรรเสริญพระสงฆ) (หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย ทําความขับคาถา พรรณนาเฉพาะพระสงฆเถิด.) สัทธัมมะโช สุปะฏิปตติคุณาทิยุตโต, พระสงฆที่เกิดโดยพระสัทธรรม, ประกอบดวยคุณ มีความปฏิบัติดี เปนตน; โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ, เปนหมูแหงพระอริยบุคคลอันประเสริฐ ๘ จําพวก; สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต, มีกายและจิต อันอาศัยธรรมมีศีล เปนตน อันบวร; วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง, ขาพเจาไหวหมูแหงพระอริยเจาเหลานั้น อันบริสุทธิ์ดวยดี; สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง, พระสงฆหมูใด เปนสะระณะอันเกษมสูงสุด ของสัตวทั้งหลาย; ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง, ขาพเจาไหวพระสงฆหมูนั้น อันเปนที่ตั้งแหงความระลึก องคที่สาม ดวยเศียรเกลา; สังฆัสสาหัส๎มิ ทาโส (หญิงวา ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร, ขาพเจาเปนทาสของพระสงฆ, พระสงฆเปนนาย มีอิสระเหนือขาพเจา;
  • 41. สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม, พระสงฆเปนเครื่องกําจัดทุกข, และทรงไวซึ่งประโยชนแกขาพเจา; สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง, ขาพเจามอบกายถวายชีวิตนี้ แดพระสงฆ; วันทันโตหัง (หญิงวา ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปนนะตัง, ขาพเจาผูไหวอยูจักประพฤติตาม, ซึ่งความปฏิบัติดีของพระสงฆ; นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, สรณะอื่นของขาพเจาไมมี, พระสงฆเปนสรณะอันประเสริฐของขาพเจา; เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน, ดวยการกลาวคําสัตยนี้, ขาพเจาพึงเจริญในพระศาสนาของพระศาสดา; สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (หญิงวา มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ, ขาพเจาผูไหวอยูซึ่งพระสงฆ, ไดขวนขวายบุญใดในบัดนี้; สัพเพป อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา. อันตรายทั้งปวง อยาไดมีแกขาพเจา ดวยเดชแหงบุญนั้น.
  • 42. (กราบหมอบลงวา) กาเยนะ วาจายะ วะ เจตตะสา วา,* ดวยกายก็ดี ดวยวาจาก็ดี ดวยใจก็ดี; สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, กรรมนาติเตียนอันใด ที่ขาพเจากระทําแลว ในพระสงฆ; สังโฆ ปะฏิคคัณ๎หะตุ อัจจะยันตัง, ขอพระสงฆ จงงดซึ่งโทษลวงเกินอันนั้น; กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ. เพื่อการสํารวมระวัง ในพระสงฆ ในกาลตอไป. * บทขอใหงดโทษนี้ มิไดเปนการขอลางบาป เปนเพียรการเปดเผยตัวเอง และคําวา โทษในที่นี้ มิไดหมายถึงกรรม หมายถึงโทษเพียงเล็กนอยซึ่งเปน “สวนตัว” ระหวางกัน ที่พึงอโหสิกันได การขอขมาชนิดนี้ สําเร็จผลไดในเมื่อผูขอตั้งใจทําจริงๆ และเปนเพียงศีลธรรม หรือสิ่งที่ควรประพฤติ. (จบคําทําวัตรเย็น)
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 48. ๑. สรณคมนปาฐะ (คําระลึกถึงพระรัตนตรัย) (หันทะ มะยัง ติสะระณะคะมะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาเพื่อระลึกถึงพระรัตนตรัยเถิด.) พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, ขาพเจาถือเอาพระพุทธเจาเปนสรณะ; ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ; สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. ขาพเจาถือเอาพระสงฆเปนสรณะ. ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, แมครั้งที่สอง ขาพเจาถือเอาพระพุทธเจาเปนสรณะ; ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, แมครั้งที่สอง ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ; ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. แมครั้งที่สอง ขาพเจาถือเอาพระสงฆเปนสรณะ. ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ, แมครั้งที่สาม ขาพเจาถือเอาพระพุทธเจาเปนสรณะ; ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ, แมครั้งที่สาม ขาพเจาถือเอาพระธรรมเปนสรณะ; ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ. แมครั้งที่สาม ขาพเจาถือเอาพระสงฆเปนสรณะ.
  • 49. ๒. อัฏฐสิกขาปทปาฐะ (คําแสดงศีล ๘) (หันทะ มะยัง อัฏฐะสิกขาปะทะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงศีล ๘ เถิด.) ปาณาติปาตา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการฆา; อะทินนาทานา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการถือเอาสิ่งของ ที่เจาของไมไดใหแลว; อะพ๎รัห๎มะจะริยา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการกระทําอันมิใชพรหมจรรย; มุสาวาทา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการพูดไมจริง; สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการดื่มสุรา และเมรัย, อันเปนที่ตั้งของความประมาท; วิกาละโภชะนา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการบริโภคอาหารในเวลาวิกาล;
  • 50. นัจจะ คีตะ วาทิตะ วิสูกะ ทัสสะนะ มาลาคันธะ วิเลปะนะ ธาระณะ มัณทะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี, เจตนาเปนเครื่องเวนจากการฟอนรํา, การขับเพลง การดนตรี, การดูการเลนชนิดเปนขาศึกตอกุศล, การทัดทรงสวมใส การประดับ การตกแตงตน, ดวยพวงมาลา ดวยเครื่องกลิ่น และเครื่องผัดทา; อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา เวระมะณี. เจตนาเปนเครื่องเวนจากการนั่งนอนบนที่นอนสูง และที่นอนใหญ.
  • 51. ๓. ท๎วัตติงสาการปาฐะ (คําแสดงอาการ ๓๒ ในรางกาย) (หันทะ มะยัง ท๎วัตติงสาการะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงอาการ ๓๒ ในรางกายเถิด.) อัตถิ อิมัส๎มิง กาเย, ในรางกายนี้มี:– เกสา, ผมทั้งหลาย; โลมา, ขนทั้งหลาย; นะขา, เล็บทั้งหลาย; ทันตา, ฟนทั้งหลาย; ตะโจ, หนัง; มังสัง, เนื้อ; นะหารู, เอ็นทั้งหลาย; อัฏฐี, กระดูกทั้งหลาย; อัฏฐิมิญชัง, เยื่อในกระดูก; วักกัง, ไต; หะทะยัง, หัวใจ; ยะกะนัง, ตับ; กิโลมะกัง, พังผืด; ปหะกัง, มาม; ปปผาสัง, ปอด; อันตัง, ลําไส; อันตะคุณัง, ลําไสสุด; อุทะริยัง, อาหารในกระเพาะ; กะรีสัง, อุจจาระ; ปตตัง, น้ําดี; เสมหัง, เสลด; ปุพโพ, หนอง; โลหิตัง, โลหิต; เสโท, เหงื่อ; เมโท, มัน; อัสสุ, น้ําตา; วะสา, น้ําเหลือง; เขโฬ, น้ําลาย; สิงฆาณิกา, น้ําเมือก; ละสิกา, น้ําลื่นหลอขอ; มุตตัง, น้ํามูตร; มัตถะเก มัตถะลุงคัง, เยื่อมันสมอง ในกระโหลกศีรษะ; อิติ. ดังนี้แล.
  • 52. ๔. เขมาเขมสรณทีปกคาถา (คาถาแสดงสรณะอันเกษมและไมเกษม) (หันทะ มะยัง เขมาเขมะสะระณะทีปกะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงสรณะอันเกษมและไมเกษมเถิด.) พะหุง เว สะระณัง ยันติ ปพพะตานิ วะนานิ จะ, อารามะรุกขะเจต๎ยานิ มะนุสสา ภะยะตัชชิตา, มนุษยเปนอันมาก เมื่อเกิดมีภัยคุกคามแลว, ก็ถือเอาภูเขาบาง ปาไมบาง, อารามและรุกขเจดียบาง เปนสรณะ; เนตัง โข สะระณัง เขมัง เนตัง สะระณะมุตตะมัง, เนตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ, นั่น มิใชสรณะอันเกษมเลย, นั่น มิใชสรณะอันสูงสุด, เขาอาศัยสรณะนั่นแลว ยอมไมพนจากทุกขทั้งปวงได; โย จะ พุทธัญจะ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ สะระณัง คะโต, จัตตาริ อะริยะสัจจานิ สัมมัปปญญายะ ปสสะติ, สวนผูใดถือเอาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เปนสรณะแลว, เห็นอริยสัจจ คือความจริงอันประเสริฐ ๔ ดวยปญญาอันชอบ; ทุกขัง ทุกขะสะมุปปาทัง ทุกขัสสะ จะ อะติกกะมัง, อะริยัญจัฏฐังคิกัง มัคคัง ทุกขูปะสะมะคามินัง, คือเห็นความทุกข, เหตุใหเกิดทุกข, ความกาวลวงทุกขเสียได, และหนทางมีองค ๘ อันประเสริฐ เครื่องถึงความระงับทุกข;
  • 53. เอตัง โข สะระณัง เขมัง เอตัง สะระณะมุตตะมัง, เอตัง สะระณะมาคัมมะ สัพพะทุกขา ปะมุจจะติ. นั่นแหละ เปนสรณะอันเกษม, นั่น เปนสรณะอันสูงสุด, เขาอาศัยสรณะนั่นแลว ยอมพนจากทุกขทั้งปวงได. ๕. อริยธนคาถา (คาถาสรรเสริญพระอริยเจา) (หันทะ มะยัง อะริยะธะนะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาสรรเสริญพระอริยเจาเถิด.) ยัสสะ สัทธา ตะถาคะเต อะจะลา สุปะติฏฐิตา, ศรัทธา ในพระตถาคตของผูใด ตั้งมั่นอยางดี ไมหวั่นไหว; สีลัญจะ ยัสสะ กัล๎ยาณัง อะริยะกันตัง ปะสังสิตัง, และศีลของผูใดงดงาม เปนที่สรรเสริญที่พอใจ ของพระอริยเจา; สังเฆ ปะสาโท ยัสสัตถิ อุชุภูตัญจะ ทัสสะนัง, ความเลื่อมใสของผูใดมีในพระสงฆ, และความเห็นของผูใดตรง; อะทะฬิทโทติ ตัง อาหุ อะโมฆันตัสสะ ชีวิตัง, บัณฑิตกลาวเรียกเขาผูนั้นวา คนไมจน, ชีวิตของเขาไมเปนหมัน; ตัส๎มา สัทธัญจะ สีลัญจะ ปะสาทัง ธัมมะทัสสะนัง, อะนุยุญเชถะ เมธาวี สะรัง พุทธานะสาสะนัง. เพราะฉะนั้น เมื่อระลึกได ถึงคําสั่งสอนของพระพุทธเจาอยู, ผูมีปญญาควรกอสรางศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และความเห็นธรรมใหเนืองๆ.
  • 54. ๖. ติลักขณาทิคาถา (คาถาแสดงพระไตรลักษณ) (หันทะ มะยัง ติลักขะณาทิคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงพระไตรลักษณเปนเบื้องตนเถิด.) สัพเพ สังขารา อะนิจจาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ, เมื่อใด บุคคลเห็นดวยปญญาวา สังขารทั้งปวงไมเที่ยง; อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา, เมื่อนั้น ยอมเหนื่อยหนายในสิ่งที่เปนทุกข ที่ตนหลง, นั่นแหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปนธรรมหมดจด; สัพเพ สังขารา ทุกขาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ, เมื่อใด บุคคลเห็นดวยปญญาวา สังขารทั้งปวงเปนทุกข; อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา, เมื่อนั้น ยอมเหนื่อยหนายในสิ่งที่เปนทุกข ที่ตนหลง, นั้นแหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปนธรรมหมดจด; สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ ยะทา ปญญายะ ปสสะติ, เมื่อใด บุคคลเห็นดวยปญญาวา ธรรมทั้งปวงเปนอนัตตา; อะถะ นิพพินทะติ ทุกเข เอสะ มัคโค วิสุทธิยา, เมื่อนั้น ยอมเหนื่อยหนายในสิ่งที่เปนทุกข ที่ตนหลง, นั่นแหละ เปนทางแหงพระนิพพาน อันเปนธรรมหมดจด; อัปปะกา เต มะนุสเสสุ เย ชะนา ปาระคามิโน, ในหมูมนุษยทั้งหลาย, ผูที่ถึงฝงแหงพระนิพพานมีนอยนัก;
  • 55. อะถายัง อิตะรา ปะชา ตีระเมวานุธาวะติ, หมูมนุษยนอกนั้น ยอมวิ่งเลาะอยูตามฝงในนี้เอง; เย จะ โข สัมมะทักขาเต ธัมเม ธัมมานุวัตติโน, ก็ชนเหลาใด ประพฤติสมควรแกธรรม ในธรรมที่ตรัสไวชอบแลว; เต ชะนา ปาระเมสสันติ มัจจุเธยยัง สุทุตตะรัง, ชนเหลานั้น จักถึงฝงแหงพระนิพพาน, ขามพนบวงแหงมัจจุ ที่ขามไดยากนัก; กัณ๎หัง ธัมมัง วิปปะหายะ สุกกัง ภาเวถะปณฑิโต, จงเปนบัณฑิตละธรรมดําเสีย แลวเจริญธรรมขาว; โอกา อะโนกะมาคัมมะ วิเวเก ยัตถะ ทูระมัง, ตัต๎ราภิระติมิจเฉยยะ หิต๎วา กาเม อะกิญจะโน. จงมาถึงที่ไมมีน้ํา จากที่มีน้ํา, จงละกามเสีย, เปนผูไมมีความกังวล, จงยินดีเฉพาะตอพระนิพพาน อันเปนที่สงัด ซึ่งสัตวยินดีไดโดยยาก.
  • 56. ๗. ภารสุตตคาถา (คาถาแสดงภารสูตร) (หันทะ มะยัง ภาระสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงภารสูตรเถิด.) ภารา หะเว ปญจักขันธา, ขันธทั้ง ๕ เปนของหนักเนอ; ภาระหาโร จะ ปุคคะโล, บุคคลแหละ เปนผูแบกของหนักพาไป; ภาราทานัง ทุกขัง โลเก, การแบกถือของหนัก เปนความทุกข ในโลก; ภาระนิกเขปะนัง สุขัง, การสลัดของหนัก ทิ้งลงเสีย เปนความสุข; นิกขิปต๎วา คะรุง ภารัง, พระอริยเจา สลัดทิ้งของหนัก ลงเสียแลว; อัญญัง ภารัง อะนาทิยะ, ทั้งไมหยิบฉวยเอาของหนักอันอื่น ขึ้นมาอีก; สะมูลัง ตัณ๎หัง อัพพุย๎หะ, ก็เปนผูถอนตัณหาขึ้นได กระทั่งราก; นิจฉาโต ปะรินิพพุโต. เปนผูหมดสิ่งปรารถนา ดับสนิทไมมีสวนเหลือ.
  • 57. ๘. ภัทเทกรัตตคาถา (คาถาแสดงผูมีราตรีเดียวเจริญ) (หันทะ มะยัง ภัทเทกะรัตตะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงผูมีราตรีเดียวเจริญเถิด.) อะตีตัง นาน๎วาคะเมยยะ นัปปะฏิกังเข อะนาคะตัง, บุคคลไมควรตามคิดถึงสิ่งที่ลวงไปแลว ดวยอาลัย, และไมพึงพะวงถึงสิ่งที่ยังไมมาถึง; ยะทะตีตัมปะหีนันตัง อัปปตตัญจะ อะนาคะตัง, สิ่งเปนอดีตก็ละไปแลว, สิ่งเปนอนาคตก็ยังไมมา; ปจจุปปนนัญจะ โย ธัมมัง ตัตถะ ตัตถะ วิปสสะติ, อะสังหิรัง อะสังกุปปง ตัง วิทธา มะนุพ๎รูหะเย, ผูใดเห็นธรรมอันเกิดขึ้นเฉพาะหนาในที่นั่นๆ อยางแจมแจง, ไมงอนแงนคลอนแคลน, เขาควรพอกพูนอาการเชนนั้นไว; อัชเชวะ กิจจะมาตัปปง โก ชัญญา มะระณัง สุเว, ความเพียรเปนกิจที่ตองทําวันนี้, ใครจะรูความตาย แมพรุงนี้; นะ หิ โน สังคะรันเตนะ มะหาเสเนนะ มัจจุนา, เพราะการผัดเพี้ยนตอมัจจุราชซึ่งมีเสนามาก ยอมไมมีสําหรับเรา; เอวังวิหาริมาตาปง อะโหรัตตะมะตันทิตัง, ตัง เว ภัทเทกะรัตโตติ สันโต อาจิกขะเต มุนิ. มุนีผูสงบ ยอมกลาวเรียก ผูมีความเพียรอยูเชนนั้น, ไมเกียจครานทั้งกลางวันกลางคืนวา, “ผูเปนอยูแมเพียงราตรีเดียว ก็นาชม”.
  • 58. ๙. ธัมมคารวาทิคาถา (คาถาแสดงความเคารพพระธรรม) (หันทะ มะยัง ธัมมะคาระวาทิคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงความเคารพพระธรรมเถิด.) เย จะ อะตีตา สัมพุทธา เย จะ พุทธา อะนาคะตา, โย เจตะระหิ สัมพุทโธ พะหุนนัง โสกะนาสะโน, พระพุทธเจาบรรดาที่ลวงไปแลวดวย, ที่ยังไมมาตรัสรูดวย, และพระพุทธเจาผูขจัดโศกของมหาชนในกาลบัดนี้ดวย; สัพเพ สัทธัมมะคะรุโน วิหะริงสุ วิหาติ จะ, อะถาป วิหะริสสันติ เอสา พุทธานะธัมมะตา, พระพุทธเจาทั้งปวงนั้น ทุกพระองค เคารพพระธรรม, ไดเปนมาแลวดวย, กําลังเปนอยูดวย, และจักเปนดวย, เพราะธรรมดาของพระพุทธเจาทั้งหลาย เปนเชนนั้นเอง; ตัส๎มา หิ อัตตะกาเมนะ มะหัตตะมะภิกังขะตา, สัทธัมโม คะรุกาตัพโพ สะรัง พุทธานะสาสะนัง, เพราะฉะนั้น บุคคลผูรักตน หวังอยูเฉพาะคุณเบื้องสูง, เมื่อระลึกไดถึงคําสั่งสอนของพระพุทธเจาอยู, จงทําความเคารพพระธรรม; นะ หิ ธัมโม อะธัมโม จะ อุโภ สะมะวิปากิโน, ธรรมและอธรรม จะมีผลเหมือนกันทั้งสองอยาง หามิได; อะธัมโม นิระยัง เนติ ธัมโม ปาเปติ สุคะติง, อธรรม ยอมนําไปนรก, ธรรม ยอมนําใหถึงสุคติ;
  • 59. ธัมโม หะเว รักขะติ ธัมมะจาริง, ธรรมแหละ ยอมรักษาผูประพฤติธรรมเปนนิจ; ธัมโม สุจิณโณ สุขะมาวะหาติ, ธรรมที่ประพฤติดีแลว ยอมนําสุขมาใหตน; เอสานิสังโส ธัมเม สุจิณเณ. นี่เปนอานิสงส ในธรรมที่ตนประพฤติดีแลว.
  • 60. ๑๐. โอวาทปาฏิโมกขคาถา (คาถาแสดงพระโอวาทปาติโมกข) (หันทะ มะยัง โอวาทะปาติโมกขะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาแสดงพระโอวาทปาติโมกขเถิด.) สัพพะปาปสสะ อะกะระณัง, การไมทําบาปทั้งปวง; กุสะลัสสูปะสัมปะทา, การทํากุศลใหถึงพรอม; สะจิตตะปะริโยทะปะนัง, การชําระจิตของตนใหขาวรอบ; เอตัง พุทธานะสาสะนัง. ธรรม ๓ อยางนี้ เปนคําสั่งสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย. ขันตี ปะระมัง ตะโป ตีติกขา, ขันติ คือความอดกลั้น เปนธรรมเครื่องเผากิเลสอยางยิ่ง; นิพพานัง ปะระมัง วะทันติ พุทธา, ผูรูทั้งหลาย กลาวพระนิพพานวาเปนธรรมอันยิ่ง; นะ หิ ปพพะชิโต ปะรูปะฆาตี, ผูกําจัดสัตวอื่นอยู ไมชื่อวาเปนบรรพชิตเลย; สะมะโณ โหติ ปะรัง วิเหฐะยันโต. ผูทําสัตวอื่นใหลําบากอยู ไมชื่อวาเปนสมณะเลย.
  • 61. อะนูปะวาโท อะนูปะฆาโต, การไมพูดราย, การไมทําราย; ปาติโมกเข จะ สังวะโร, การสํารวมในปาติโมกข; มัตตัญุตา จะ ภัตตัส๎มิง, ความเปนผูรูประมาณในการบริโภค; ปนตัญจะ สะยะนาสะนัง, การนอน การนั่ง ในที่อันสงัด; อะธิจิตเต จะ อาโยโค, ความหมั่นประกอบในการทําจิต ใหยิ่ง; เอตัง พุทธานะสาสะนัง. ธรรม ๖ อยางนี้ เปนคําสั่งสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย.
  • 62. ๑๑. ปฐมพุทธภาสิตคาถา (คาถาพุทธภาษิตครั้งแรกของพระพุทธเจา) (หันทะ มะยัง ปะฐะมะพุทธะภาสิตะคาถาโย ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาพุทธภาษิตครั้งแรกของพระพุทธเจาเถิด.) อะเนกะชาติสังสารัง สันธาวิสสัง อะนิพพิสัง, เมื่อเรายังไมพบญาณ, ไดแลนทองเที่ยวไปในสงสารเปนอเนกชาติ; คะหะการัง คะเวสันโต ทุกขา ชาติ ปุนัปปุนัง, แสวงหาอยูซึ่งนายชางปลูกเรือน, คือตัณหาผูสรางภพ, การเกิดทุกคราว เปนทุกขร่ําไป; คะหะการะกะ ทิฏโฐสิ ปุนะ เคหัง นะ กาหะสิ, นี่แนะ นายชางปลูกเรือน, เรารูจักเจาเสียแลว, เจาจะทําเรือนใหเราไมไดอีกตอไป; สัพพา เต ผาสุกา ภัคคา คะหะกูฏัง วิสังขะตัง, โครงเรือนทั้งหมดของเจาเราหักเสียแลว, ยอดเรือนเราก็รื้อเสียแลว; วิสังขาระคะตัง จิตตัง ตัณหานัง ขะยะมัชฌะคา. จิตของเราถึงแลวซึ่งสภาพที่อะไรปรุงแตงไมไดอีกตอไป, มันไดถึงแลวซึ่งความสิ้นไปแหงตัณหา, คือถึงนิพพาน.
  • 63. ๑๒. ธาตุปจจเวกขณปาฐะ (คําพิจารณาปจจัย ๔ ใหเห็นเปนของไมงาม) (หันทะ มะยัง ธาตุปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําพิจารณาปจจัย ๔ ใหเห็นเปนของไมงามเถิด.) (พิจารณาจีวร) ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น, กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ; ยะทิทัง จีวะรัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหลานี้ คือ จีวร, และคนผูใชสอยจีวรนั้น; ธาตุมัตตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ; นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน; นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล; สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน; สัพพานิ ปะนะ อิมานิ จีวะรานิ อะชิคุจฉะนียานิ, ก็จีวรทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม; อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา, ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว; อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ. ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.
  • 64. (พิจารณาอาหาร) ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น, กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ; ยะทิทัง ปณฑะปาโต, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหลานี้ คือ บิณฑบาต, และคนผูบริโภคบิณฑบาตนั้น; ธาตุมัตตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ; นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน; นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล; สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน; สัพโพ ปะนายัง ปณฑะปาโต อะชิคุจฉะนีโย, ก็บิณฑบาตทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม; อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา, ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว; อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ. ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.
  • 65. (พิจารณาที่อยูอาศัย) ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น, กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ; ยะทิทัง เสนาสะนัง, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหลานี้ คือ เสนาสนะ, และคนผูใชสอยเสนาสนะนั้น; ธาตุมัตตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ; นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน; นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล; สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน; สัพพานิ ปะนะ อิมานิ เสนาสะนานิ อะชิคุจฉะนียานิ, ก็เสนาสนะทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม; อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา, ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว; อะติวิยะ ชิคุจฉะนียานิ ชายันติ. ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.
  • 66. (พิจารณายารักษาโรค) ยะถาปจจะยัง ปะวัตตะมานัง ธาตุมัตตะเมเวตัง, สิ่งเหลานี้ นี่เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติเทานั้น, กําลังเปนไปตามเหตุตามปจจัยอยูเนืองนิจ; ยะทิทัง คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร, ตะทุปะภุญชะโก จะ ปุคคะโล, สิ่งเหลานี้ คือ เภสัชบริขารอันเกื้อกูลแกคนไข, และคนผูบริโภคเภสัชบริขารนั้น; ธาตุมัตตะโก, เปนสักวาธาตุตามธรรมชาติ; นิสสัตโต, มิไดเปนสัตวะอันยั่งยืน; นิชชีโว, มิไดเปนชีวะอันเปนบุรุษบุคคล; สุญโญ, วางเปลาจากความหมายแหงความเปนตัวตน; สัพโพ ปะนายัง คิลานะปจจะยะเภสัชชะปะริกขาโร อะชิคุจฉะนีโย, ก็คิลานเภสัชบริขารทั้งหมดนี้, ไมเปนของนาเกลียดมาแตเดิม; อิมัง ปูติกายัง ปต๎วา, ครั้นมาถูกเขากับกายอันเนาอยูเปนนิจนี้แลว; อะติวิยะ ชิคุจฉะนีโย ชายะติ. ยอมกลายเปนของนาเกลียดอยางยิ่งไปดวยกัน.
  • 67. ๑๓. ปจฉิมพุทโธวาทปาฐะ (คําแสดงพระโอวาทครั้งสุดทายของพระพุทธเจา) (หันทะ มะยัง ปจฉิมะพุทโธวาทะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคําแสดงพระโอวาทครั้งสุดทายของพระพุทธเจาเถิด.) หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว, ดูกอนภิกษุทั้งหลาย, บัดนี้, เราขอเตือนทานทั้งหลายวา; วะยะธัมมา สังขารา, สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมไปเปนธรรมดา; อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ, ทานทั้งหลาย, จงทําความไมประมาทใหถึงพรอมเถิด; อะยัง ตะถาคะตัสสะ ปจฉิมา วาจา. นี้เปนพระวาจามีในครั้งสุดทาย ของพระตถาคตเจา.
  • 68. ๑๔. บทพิจารณาสังขาร (คาถาพิจารณาธรรมสังเวช) (หันทะ มะยัง ธัมมะสังเวคะปจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส.) (เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกลาวคาถาพิจารณาธรรมสังเวชเถิด.) สัพเพ สังขารา อะนิจจา, สังขาร คือรางกาย จิตใจ, แลรูปธรรม นามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น, มันไมเที่ยง, เกิดขึ้นแลวดับไป, มีแลวหายไป; สัพเพ สังขารา ทุกขา, สังขาร คือรางกาย จิตใจ, แลรูปธรรม นามธรรม ทั้งหมดทั้งสิ้น, มันเปนทุกข ทนยาก, เพราะเกิดขึ้นแลว แก เจ็บ ตายไป; สัพเพ ธัมมา อะนัตตา, สิ่งทั้งหลายทั้งปวง, ทั้งที่เปนสังขาร แลมิใชสังขาร ทั้งหมดทั้งสิ้น, ไมใชตัวไมใชตน, ไมควรถือวาเรา วาของเรา วาตัว วาตนของเรา; อะธุวัง ชีวิตัง, ชีวิตเปนของไมยั่งยืน; ธุวัง มะระณัง, ความตายเปนของยั่งยืน; อะวัสสัง มะยา มะริตัพพัง, อันเราจะพึงตายเปนแท; มะระณะปะริโยสานัง เม ชีวิตัง, ชีวิตของเรามีความตาย เปนที่สุดรอบ;
  • 69. ชีวิตัง เม อะนิยะตัง, ชีวิตของเราเปนของไมเที่ยง; มะระณัง เม นิยะตัง, ความตายของเราเปนของเที่ยง; วะตะ, ควรที่จะสังเวช; อะยัง กาโย, รางกายนี้; อะจิรัง, มิไดตั้งอยูนาน; อะเปตะวิญญาโณ, ครั้นปราศจากวิญญาณ; ฉุฑโฑ, อันเขาทิ้งเสียแลว; อะธิเสสสะติ, จักนอนทับ; ปะฐะวิง, ซึ่งแผนดิน; กะลิงคะรัง อิวะ, ประดุจดังวาทอนไมและทอนฟน; นิรัตถัง. หาประโยชนมิได.