SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
Download to read offline
หลายคนทีคนเคยกับผมดีคงจะพากันสงสัย
                                                                                                                                           ่ ุ้




                                                                                                                                                                           Editor’s Talk
                                                                                                                            ว่าผมมาอยู่ตรงนี้ได้อย่างไรและท�ำไม? ผม
                                                                                                                            คงบอกได้แค่ว่าชีวิตล้วนเต็มไปด้วยความ
                                                                                                              เปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ เราไม่สามารถอยู่ที่เดิมจุดเดิม
                                                                                                              ได้ตลอดไป บางสิ่งบางอย่างแม้จะไม่คาดฝันและดูจะ
                                                                                                              กระทันหันปุบปับ แต่มันก็เกิดขึ้นได้เสมอในช่วงชีวิต
                                                                                                              หนึงของมนุษยปุถชนอย่างเราๆ ทีตองก้าวเดินต่อไปข้าง
                                                                                                                  ่                ุ                ่ ้
                                                                                                              หน้า ไม่ว่าจะเกิดเรื่องจริงหรือไม่จริงอะไรขึ้นก็ตาม...
                                                                                                              	 PhotoNextoR คงจะไม่ได้ถือก�ำเนิดขึ้นมา ถ้า
                                                                                                              ปราศจากแรงผลักดันอันส�ำคัญ หนึ่งในนั้นก็คือประโยคที่
                                                                                                              มีคนพูดกับผมว่าเราก�ำลังท�ำสิงดีๆ สูสงคม เนือความนัน
                                                                                                                                                ่       ่ ั    ้     ้
                                                                                                              ท�ำให้ผมเกิดก�ำลังใจทีจะท�ำงานชินนีออกมา ไม่วาจะมีใคร
                                                                                                                                     ่            ้ ้            ่
                                                                                                              เห็นหรือไม่ จะเข้าใจหรือจะคิดไปในแง่ใดก็ตามที ในที่สุด
                                                                                                              งานชิ้นนี้ก็ออกสู่สังคมจนได้จริงๆ
                                                                                                              	 ชีวิตมีหลายด้านเสมอ...อยากให้คุณผู้อ่านได้ลอง
                                                                                                              พิจารณาดูตามความเป็นจริง งานชินนีของผมก็เป็นอีกหนึง
                                                                                                                                                   ้ ้                 ่
                                                                                                              ในด้านเหล่านัน และไม่วาจะเข้าใจมันว่าอย่างไร อย่างน้อย
                                                                                                                              ้          ่
                                                                                                              มนกนาจะสงผลดสกอยางตอสงคมนไดอยางทผมตงใจเอา
                                                                                                                ั ็ ่ ่          ี ั ่ ่ ั            ี้ ้ ่ ี่ ั้
                                                                                                              ไว้ตั้งแต่แรกเมื่อนานมาแล้ว...
                                                                                                              	 ยินดีที่ได้พบเพื่อนเก่าทุกท่านอีกครั้ง และยินดีที่
                                                                                                              ได้รจกกับเพือนใหม่ทกคน ขอต้อนรับทุกท่านสูการเป็น
                                                                                                                    ู้ ั    ่          ุ                           ่
                                                                                                              ส่วนร่วมในก้าวแรกของ PhotoNextoR ณ บัดนี้ครับ.
eMagazine รายเดือนเพื่อเรียนรู้เรื่องกล้องและการถ่าย   PhotoNextoR Connection :     FONT CREDIT :
ภาพ ดาวน์โหลดฟรีทุกวันที่ 9 ของเดือนที่                ติดต่อประสานงานทางการตลาด    ฟ : CmPrasanmit           					ปิยะฉัตร แกหลง
photonextor.com                                        marketing@photonextor.com    ฟ : Supermarket           					      Nextopia
                                                       ติดต่อลงข่าวประชาสัมพันธ์    ฟ : Book_Akhanake
Original eBook Script : PageFlip v2.25 by              news@photonextor.com         ขอบคุณ f0nt.com สำ�หรับ
Macc/IpariGrafika                                      แนะนำ�ติชม/สอบถามเพิ่มเติม   การเป็นแหล่งรวบรวมฟอนท์                                  www.photonextor.com
                                                       info@photonextor.com         เพื่อสังคม
4       Issue# 1 March 2012                                                                                                                                                5
Photo Gear
                                                                          08       Snap Society
                                                                                                                      94
Nextor Content


                                       อุปกรณ์ถ่ายภาพมาใหม่ ดูข้อมูลก่อนจะซื้อ     MILC เล็กดีรสโต ว่าแต่ว่ามันคืออะไร
                                       หามาไว้ใช้งานเป็นอาวุธประจำ�กาย             กันล่ะนั่น?

                                       Noob Space
                                                                          14       Camera Teria
                                                                                                              106
                                       เรียนรู้ขั้นตอนการถ่ายภาพตั้งแต่พื้นฐาน
                                       ฉบับนี้เริ่มตั้งแต่การทำ�ความรู้จักกับสาม   Canon EOS 1DX, Nikon D4, Nikon
                                       ปัจจัยของการถ่ายภาพที่ไม่รู้ไม่ได้!         D800 มาใหม่แล้วมีดียังไง?

                                       Composition Adventure                       Compact Zone
                                                                                                              124
                                                                          34
                                       ศึกษาเรื่องการจัดวางองค์ประกอบ
                                       สำ�หรับภาพถ่าย เขาทำ�กันยังไง?              PowerShot G1X, CoolPix P7100,
                                       เราเองทำ�ได้ด้วยหรือไม่?                    Ricoh GRD IV คอมแพคไฮโซ

                                       NextPlorer
                                                                          48       Simple Software
                                                                                                              132
                                       ถ่ายภาพวัดพระแก้วด้วยกล้องจาก iPhone        FotoSketcher เอาไปอาร์ตกันแบบฟรีๆ
                                       ไปดูซิว่าจะทำ�ได้แค่ไหนกัน!                 งานนี้ไม่ต้องเสียตังค์!

                                       Ride the Lighting
                                                                          86       Photo Book
                                                                                                              138
                                       ทำ�ความเข้าใจกับ “แสง” ส่วนประกอบที่        แนะนำ�หนังสือกล้องจากชั้นวางร้าน
                                       สำ�คัญที่สุดสำ�หรับการถ่ายภาพ               หนังสือชั้นนำ�ขณะนี้


       6         Issue# 1 March 2012                                                                                       7
Photo Gear




                                                                                                                                                        Photo Gear
                                       SD Card หน้าตาล�ำจาก SAMSUNG         ้
                                       ซี รี่ ส ์ นี้ ไ ม ่ ไ ด ้ มี ดี แ ค ่ ห ล ่ อ อย ่ า งเดี ย ว
                                       เท่านั้น แต่มันยังพกเอาความ “อึด”
                                       ติดตัวมาด้วย เพราะมันถูกออกแบบ
                                       มาให้ รั บ มื อ กั บ สามปั จ จั ย พิ ฆ าตที่
                                       เครืองมืออิเลคทรอนิกส์หวาดกลัวกัน
                                              ่
                                       นักหนา                                                           เหล่ า บรรดานั ก รบหลั ง กล้ อ งผู ้ มี
                                       	 มนสามารถแชอยใตนำไดนาน
                                                        ั                      ่ ู่ ้ �้ ้              แฟลชเป็นสรณะคงจ้องเจ้าอุปกรณ์
                                       ถึง 24 ชั่วโมง ทนรังสีแม่เหล็กได้                                ตัวนีตาเป็นมัน เพราะตัวส่งสัญญาณ
                                                                                                             ้
                                       เยอะถึง 10,000 gauss และรับแรง                                   ยิงแฟลชในชือ PLUS III จาก Pock-
                                                                                                                      ่
                 “3 PROOF”             กดจากยานยนต์ขนาด 1.6 ตันได้                                      etWizard เวอร์ ชั่ น ล่ า สุ ด นี้ บ รรจุ
                                       สบายๆ แต่คงไม่ถงกับใช้ยนล้อกันรถ   ึ            ั                คุณสมบัติของมืออาชีพมาเพียบ
                 SD CARD               ไหลได้หรอกนะ...                                                  	
                                                                                                        	 คุณสมบัติเด่นๆ ก็คือ การยิง
                                       	 นอกจากนี้มันยังเป็น SDHC
                                       Class 10 ที่ มี คุ ณ สมบัติท างด้ า น                            สัญญาณแฟลชแบบถ่ายภาพต่อเนือง            ่
                                       ความเร็วในการอ่านข้อมูลสูงสุดถึง                                 ได้เร็วถึง 14.5 ภาพต่อวินาที ช่อง
                                       24 MB/Sec. และเขียนข้อมูลสูงสุด                                  ความถี่ สั ญ ญาณถึ ง 32 ช่ อ ง
                                       ได้ถึง 21 MB/Sec. เลยด้วย                                        ครอบคลมพนทสงสญญาณไดไกลถง
                                                                                                                  ุ ื้ ี่ ่ ั            ้ ึ
                                       	 ...หล่อด้วยอึดด้วย ซักตัว                                      500 เมตร แบ่งโซนควบคุมได้ 4
                                       ดีมั๊ยล่ะนั่น?                                                   โซน และมีจอ LCD เพือความสะดวก
                                                                                                                              ่
                                                                                                        สบายยิ่งขึ้นในการปรับตั้งค่าต่างๆ
                                                                                                        แบบดิจิตอล
                                                                                                        	 ส�ำคัญก็คอหน้าตาทีดหรูหรา
                                                                                                                          ื          ่ ู
                                                                                                        ไฮโซซะไม่มี ใช้เป็นไม่เป็นไม่รู้ รูแต่้
                                                                                                        ว่ากล้องนายหล่อมากกกก

                                              GO TO SITE                                                    GO TO SITE


             8   Issue# 1 March 2012                                                                                                                9
Photo Gear




                                                                                                                                                       Photo Gear
                                          เทคโนโลยีอุปกรณ์ Tablet คงจะยังอยู่ในเขต              808 PureView
                                          ของความก้าวหน้าไปอีกนานดังจะเห็นได้จาก
                                          ค่ายนู้นค่ายนี้ที่พากันเปิดตัวด้วยลูกเด็ดเม็ด
                                          พรายที่ขนออกมายั่วกิเลสกันไม่หยุด
                                          	 ASUS ก็จดการเปิดตัว Transformer Pad
                                                             ั                                  คงไม่มีใครคิดว่าโทรศัพท์มือถือจะกลายเป็นกล้อง
                                          Infinity ทีดราวกับเป็นโน๊ตบุคแต่มนสามารถแยก
                                                     ่ ู                     ๊ ั                ถ่ายภาพบ้าพลังได้ขนาดนี้ แต่ Nokia ได้ท�ำไปแล้ว
                                          ร่างออกมาเป็น Tablet ได้ หน้าจอของมันนั้น             กับ 808 PureView ที่ติดตั้งเซนเซอร์รับภาพความ
                                          ASUS ยืนยันว่าเป็นตัวทีดทสดในตลาดขณะนีดวย
                                                                    ่ ี ี่ ุ            ้ ้     ละเอียดสูงถึง 41 ล้านพิกเซลลงในโทรศัพท์มือถือ
                  Transformer Pad         จอแบบ Super IPS ความละเอียด 1920x1200px               ตัวเล็กๆ

                  Infinity
                                          ท�ำงานด้วยซีพียู Dual-core 1.5 GHz จาก Qual-          	 เทคนิคของมันคือการรวมเจ็ดพิกเซลให้เป็น
                                          comm และ Quad-core 1.6 GHz จาก nVidia                 พิกเซลเดียวแล้วดาวน์แซมปลิงภาพลงมาเหลือ 5MP
                                          และใช้ระบบปฏิบตการ Android 4.0 (Ice Cream
                                                            ั ิ                                 ซึ่ ง การท� ำ อย ่ า งนี้ จ ะท� ำ ให ้
                                          Sandwich)	                                            คุณภาพของภาพสูงมากแต่
                                                               มีกล้องติดตั้งมาให้ใช้งานสอง     ยั ง เหมาะกั บ การรั บ ส ่ ง หรื อ
                                                               ตัว กล้องหน้าความละเอียด         บันทึกข้อมูล นอกจากนี้มัน
                                                               2MP และกล้องหลัง ที่มีเลนส์      ยังช่วยในเรื่องการลดปัญหา
                                                               5 ชิ้น ความละเอียด 8MP           Noise ได้อย่างดีเยี่ยม
                                                               พร้อมพอร์ต Micro HDMI และ        	 ที่ส�ำคัญ มันใช้เลนส์
                                                               สามารถเสียบ SD Card ได้ดวย   ้   Carl Zeiss ให้สมกับความ
                                                                                                อหั งการเรื่ อ งการถ ่ ายภาพ
                                                                 GO TO SITE                     ความละเอียดสะใจนี้ด้วย


                                                                                                   GO TO SITE




             10     Issue# 1 March 2012                                                                                                           11
Photo Gear




                                                                                                                                                                         Photo Gear
                                   Adobe Photoshop Touch for iPad

                                        Adobe Photoshop Touch เป็น App ที่ออกมาวาดลวดลายไป             Edge จาก Photoshop แล้วพัฒนาต่อ ซึ่งมันจะช่วยให้เราท�ำ
                                        ก่อนหน้านี้แล้วด้วยเวอร์ชั่นบน Android และคราวนี้ก็จะเป็นคิว   ได-คัทวัตถุได้ง่ายขึ้นจากปลายนิ้วแท้ๆ ของเราเอง
                                        ของ iPad บ้างล่ะ                                               	 สนนราคาค่าตัวในขณะนีกคอ 6.99 ยูโร ใครสนใจเชิญ
                                                                                                                                        ้ ็ ื
                                        	 Photoshop Touch ยังคงคุณสมบัติหลายอย่างจาก Pho-              ได้ที่ iTune Store แต่เฉพาะ iPad 2 ที่ใช้ iOS 5 เท่านั้นนะ
                                        toshop เวอร์ชนเดสก์ทอปเอาไว้ เช่นการท�ำงานแบบ Layer และ
                                                         ั่                                            ต�่ำกว่านั้นลงมาเป็นอันว่าหมดสิทธิ์
                                        การปรั บ ค่ า ต่ า งๆ ของ
                                        ภาพถ่ายตามปกติที่ Photo-
                                        shop ท�ำได้ มันยังมีฟลเตอร์
                                                             ิ
                                        เพื่อสร้าง Effect ต่างๆ ให้
                                        กับภาพได้เหมือนกันด้วย
                                        	 แตทตางออกไปและมี
                                                  ่ ี่ ่
                                        เฉพาะบนเวอร์ชั่น Tablet ก็
                                        คือ Scribbling Selection ที่
                                        เหมาะกับการ Select โดย
                                        ใช้นิ้วแตะแล้วลากบนหน้า
                                        จอ มันคือการพัฒนาต่อยอด
                                        มาจากคุ ณ สมบั ติ Refine



                                           GO TO SITE




             12   Issue# 1 March 2012                                                                                                                               13
Noob Space




 EPISODE 1




                                               รื่องราวที่เราก�ำลังจะมาพูดคุยกันต่อไปนี้ เป็นเรื่องภาพ
                                               รวมโดยพื้นฐานของการถ่ายภาพด้วยกล้อง ไม่ว่ามันจะ
                                               เป็นกล้องที่อยู่ในโทรศัพท์ กล้องตัวเล็กตัวใหญ่ กล้อง
                                   เทพกล้องมารอะไรก็ตามที ล้วนมีพื้นฐานอยู่กับสิ่งนี้เป็นส�ำคัญ
                                   	 ต้องจ�ำเอาไว้ก่อนว่า นี่คือเรื่องพื้นฐานโดยภาพรวม ซึ่งจริงๆ
                                   แล้วมันก็ยังคงมีรายละเอียดปลีกย่อยอีกเยอะแยะที่ต้องค�ำนึงถึงด้วย
                                   แต่ในฐานะของมือใหม่ เราต้องเข้าใจกับเรื่องนี้ก่อน เพราะถ้า
                                   ท�ำความเข้าใจเรื่องรายละเอียดหลายแหล่ไปพร้อมๆ กัน มันคงจะ
                                   เอียนไม่ใช่น้อยเลยทีเดียวเชียว
                                   	 ก็เหมือนกับการหัดว่ายน�้ำ เราต้องเรียนรู้เรื่องการลอยตัว
                                   หรือเตะขาก่อน เราคงยังไม่ต้องศึกษาเรื่องการว่ายท่าผีเสื้ออย่างถูก
                                   สุขลักษณะตั้งแต่ขั้นตอนแรกหรอก...จริงมั๊ยล่ะ?
                                   	 ถ้ารู้ตัวว่าเป็นมือใหม่ที่ต้องการเข้าใกล้กับความเป็นเซียน ก็
                                   เขยิบเข้ามาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กันต่อจากนี้เลย...

  14         Issue# 1 March 2012                                                                    15
อย่างแรกที่สุดที่เราต้องจ�ำเอาไว้เสมอก็คือ         เข้ามากเกินไปภาพก็จะสว่าง หรือภาษาทางนี้      	 เอาล่ะ...ทีนี้เมื่อเรารู้ว่าต้องมีการควบคุม
             “แสง” แสงที่เรารู้ว่ามันสว่างหรือมืดนี่แหละเป็น      จะเรียกว่า “โอเวอร์” (โดยทางการคือ Over       ปริมาณแสงดังว่า ก็ถึงเวลาที่เราต้องรู้แล้วว่า
             ตัวการตั้งต้นอันส�ำคัญที่สุดที่กล้องจ�ำเป็นต้องใช้   Exposure) ส่วนถ้าแสงน้อยเกินไปภาพก็จะ         “กล้องถ่ายภาพ” ของเราต้องมีอุปกรณ์หรือชิ้น
             เพื่อสร้างเป็นภาพถ่ายขึ้นมา ไม่มีแสงก็ไม่มี          มืดที่เรียกว่า “อันเดอร์” (มาจาก Under        ส่วนเพื่อการควบคุมปริมาณแสงที่จะปรากฏแก่
             ภาพถ่ายเกิดขึ้นได้แน่ๆ บางคนอาจจะแอบเถียง            Exposure) และถ้าแสงก�ำลังพอดีก็จะออกมา        กล้องด้วย จะให้เข้าได้มากหรือเข้าได้น้อยก็อยู่
             ว่าเคยถ่ายภาพตอนมืดตื๋อก็ยังได้ภาพเลย แค่            เป็นภาพแจ่มๆ ที่เราชื่นชอบนั่นเอง             ที่ “ประตูควบคุม” เหล่านี้เป็นส�ำคัญ
             เปิดแฟลชช่วยเท่านั้นเอง                              	 ปัญหามันอยู่ที่ว่า “พอดี” น่ะคือยังไง?      	 ...จ�ำสามอย่างนี้เอาไว้ให้ดี
             	 ...แล้วแฟลชไม่ใช่แสงหรือ?                          ค�ำว่าพอดีในที่นี้ไม่ได้หมายความว่าทุกอย่าง   	 • รูรับแสง (Aperture)
             	                                                    ต้องสว่างสดใสเห็นได้ชัดเจน พอดีหมายถึง        	 • ความไวชัตเตอร์ (Shutter Speed)
             	 แสงจะเดินทางไปตกกระทบกับชิ้นส่วน                   สร้างเป็นภาพได้ตามที่เราพอใจ ภาพอาจจะ         	 • ค่าความไวแสง (ISO Speed)
             บางอย่างในกล้องถ่ายภาพที่ปัจจุบันนี้เรียกว่า         ออกมามืดนิดหน่อยเพราะเราต้องการสื่อถึง        	 อะไรกัน? กล้องในโทรศัพท์มือถือที่ใหญ่
             “เซนเซอร์รับภาพ” ซึ่งเจ้าอุปกรณ์ชุดนี้จะท�ำ          ความลึกลับ ภาพอาจจะออกมาสว่างขาวจ้า           กว่าลูกตามดหน่อยเดียวก็มีของพวกนี้อยู่ด้วย
             หน้าที่ในการแปลงข้อมูลจากแสงไปเป็นไฟล์ภาพ            เพราะเราอยากสื่อถึงสรวงสวรรค์ ฯลฯ อะไร        หรือ? มีแน่นอนเพราะมันก็ต้องควบคุม
             ดิจิตอลออกมาให้เราในขั้นตอนสุดท้าย                   อย่างนี้ก็เป็นได้                             ปริมาณแสงด้วยเหมือนกัน เพียงแต่ความ
             	 ใช่ว่าอยู่ดีๆ แสงก็จะวิ่งสว่างวาบเข้าไปหา          	 ...ดังนั้น “พอดี” มันจึงขึ้นอยู่กับคน       สามารถ วิธีการ หรือขนาดของมันก็จะแตก
             เซนเซอร์ได้เลย กล้องต้องท�ำการควบคุมปริมาณ           ถ่ายภาพเป็นส�ำคัญที่สุด ไม่มีกฏตายตัวแต่      ต่างกันออกไปด้วย
             แสงที่จะวิ่งเข้าไปหาเซนเซอร์รับภาพด้วย ถ้าแสง        อย่างใด

16   Issue# 1 March 2012                                                                                                                                         17
นอกจากจะท�ำหน้าที่ในการควบคุมปริมาณ
                           แสงแล้ว แต่ละปัจจัยยังส่งผลที่แตกต่างกันให้เกิด
                           ขึ้นในภาพถ่ายด้วย ช่างภาพผู้เชี่ยวชาญรู้และใช้
                           ประโยชน์จากคุณสมบัติทั้งสามอย่างนี้ได้มากกว่าแค่
                           ควบคุมปริมาณแสง เขาอาจจะบันดาลภาพน�้ำตกที่
                           สวยงามได้ต่างจากมือใหม่ ถ่ายภาพท้องถนนยาม
                           ค�่ำคืนได้ราวกับภาพในอุดมคติ ถ่ายภาพการแข่งรถ
                           ได้น่าตื่นตาตื่นใจจนเราคิดว่าชาตินี้คงไม่สามารถ
                           ท�ำได้
                           	 ...ขอบอกว่ามือใหม่อย่างเราก็พัฒนาไปจนถึง
                           จุดเหล่านั้นได้ด้วยเหมือนกัน เพียงแค่ท�ำความ
                           เข้าใจกับทั้งสามอย่างนี้ให้ดีเท่านั้นเอง
                           	 เราจะไม่พิจารณาเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง
                           เท่านั้น แต่จะต้องคิดถึงปัจจัยทั้งสามอย่างเข้าด้วย
                           กันเสมอ เพราะต่างก็ต้องเอื้อคุณสมบัติซึ่งกันและ
                           กันอยู่ตลอดเวลา ตัวนู้นเป็นหลักตัวนี้เป็นรอง หรือ
                           สองตัวนั้นเป็นหลักแล้วที่เหลือเป็นรอง ฯลฯ ก็ขึ้นอยู่
                           กับแต่ละสถานการณ์การถ่ายภาพเป็นส�ำคัญ
                           	 ...พูดไปท�ำไมมี? มาดูทั้งสามอย่างที่ว่านี้กัน
                           เลยดีกว่า >>>

18   Issue# 1 March 2012                                                          19
ส่วนภาพที่ชัดไปทั้งภาพในทุกระยะ ไม่มีตรง
                                                                                        ไหนที่เบลอเลย อันนั้นก็จะเรียก “ชัดลึก”
                                                                                        	 จากตัวอย่างข้างบน F2.8 ยอมให้แสงผ่านเข้า
                             	 มันคือประตูด่านแรกที่จะปล่อยให้แสงเข้าสู่ภายใน           ได้มากกว่า F16 ก็จริง แต่ F16 จะให้ภาพที่ “ชัดลึก”
                             กล้อง ลักษณะของมันจะเป็นกลีบซ้อนกันเป็นรูปวงกลม            มากกว่า ส่วน F2.8 ก็จะให้ภาพแบบ “ชัดตื้น”
                             ที่สามารถย่อหรือขยายขนาดช่องว่างตรงกลางเพื่อยอม            นั่นเอง
                             ให้แสงผ่านได้ โดยปกติแล้วมันจะต้องอยู่ที่ตัวเลนส์ตรง       	 แล้วแบบไหนดีกว่ากันล่ะ? F2.8 น่าจะดีกว่าสิ
                             ไหนสักตรงนึงนั่นแหละ                                       เพราะแสงเข้าได้มากกว่าก็ต้องสว่างกว่า จริงมั๊ย?
                             	 ขนาดของช่องว่างตรงกลาง (รู) ก็คือปัจจัยในการ             (ถ่ายภาพคนได้สวยด้วย)
                             ควบคุมปริมาณแสง รูกว้างมากแสงก็ผ่านเข้ามาได้มาก            	 ก็ไม่จริงเสมอไปนะ เพราะบางครั้งเราก็ต้องการ
                             รูแคบลงแสงก็จะผ่านเข้ามาได้น้อยลงด้วย                      ถ่ายภาพแบบชัดลึกเหมือนกัน อย่างเช่นภาพสถานที่
     • รูรับแสง (Aperture)   	 ขนาดของช่อง (หรือรู) จะก�ำหนดเป็นสัญลักษณ์               ท่องเที่ยว เราก็คงอยากได้ภาพตัวแบบพร้อมสถานที่
                             ทางตัวเลขร่วมกับตัวอักษร “F” มือใหม่ต้องจ�ำเอาไว้ให้ดี     ซึ่งชัดทั้งคู่ด้วยใช่มั๊ยล่ะ? หรือถ้าไปรับจ้างถ่ายภาพ
                             ว่า ยิ่งตัวเลขที่ก�ำกับนั้นมีจ�ำนวนน้อย รูรับแสงก็จะยิ่ง   บ้าน ใครที่ไหนจะอยากได้ภาพที่ชัดเฉพาะตรง
                             กว้าง แสงจะยิ่งเข้าได้มาก ในทางกลับกัน ถ้าตัวเลขที่        หน้าต่างหรือประตูรั้วกันล่ะ...จริงมั๊ย?
                             ก�ำกับนั้นมีจ�ำนวนมาก รูรับแสงก็จะยิ่งแคบ แสงก็จะ          	 นั่นแหละ...รูรับแสงแคบๆ ที่ยอมให้แสงผ่านได้
                             เข้าได้น้อยด้วย                                            น้อยมันก็จะได้เรื่องได้ราวตรงนี้นั่นเอง
                             	 ภาพสว่าง & ภาพมืดนั่นเอง...                              	 อ้อ! แถมให้อีกอย่าง รูรับแสงแคบยังให้ผลเรื่อง
                             	 ยกตัวอย่าง F2.8 จะมีขนาดช่องว่างใหญ่กว่า F16             ของดวงไฟประกายแฉกอีกด้วยนะ คงจะเคยเห็นกัน
                             F2.8 ก็เลยยอมให้แสงผ่านเข้ามาได้มากกว่าด้วย                มาบ้างแล้ว แต่ท�ำยังไง? อันนี้เอาไว้คุยกันทีหลัง
                             	 คุณสมบัติเฉพาะตัวของรูรับแสงไม่ได้มีแค่นี้ มัน           หน้าที่ของเราตอนนี้ก็คือเรื่องของชัดลึกชัดตื้น แสง
                             จะบันดาลลักษณะทางภาพถ่ายที่เรียกกันว่า “ชัดลึก”            มากแสงน้อย ส�ำหรับผู้ควบคุมที่เรียกว่า “รูรับแสง” นี้
                             และ “ชัดตื้น” ให้ปรากฏในภาพได้ด้วย คงเคยเห็นภาพ            ให้ดีเสียก่อน
                             ถ่ายสาวๆ สวยหวานที่ด้านหลังเบลอๆ แล้วตัวแบบชัด             	 ลองดูจากตัวอย่างได้เลย... แล้วเดี๋ยวมาว่ากัน
                             เปรี๊ยะกันมั๊ย? นั่นแหละ “ชัดตื้น”                         ต่อไป >>>

20    Issue# 1 March 2012                                                                                                                  21
22   Issue# 1 March 2012   23
สัญลักษณ์อย่างหนึ่งของกล้องถ่ายภาพก็คือ               ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนก็คือ ภาพน�้ำตกที่ไหลเป็น
                              เสียงแช๊ะๆ ซึ่งมันก็คือเสียงจากกลไกภายในที่เรียก        เส้นสายสวยงาม ภาพท้องถนนยามค�่ำคืนที่ไฟหน้า
                              ว่า “ชุดชัตเตอร์” นี่แหละ (อันนี้เฉพาะกล้องที่มี        รถยาวเป็นทาง ฯลฯ...นั่นแหละ ฝีมือของเขาล่ะ
                              นะ) มันจะมีลักษณะเหมือนประตูอยู่หน้าเซนเซอร์            	 ความไวชัตเตอร์มีหน่วยเป็นวินาที ยิ่งความไว
                              รับภาพ เมื่อแสงวิ่งผ่านรูรับแสงเข้ามา เจ้าชัตเตอร์      สูงก็ยิ่งหยุดการเคลื่อนไหวได้นิ่งสนิท แต่แสงก็จะ

     • ความไวชัตเตอร์ (Shutter Speed)             นี้ก็จะเปิดให้แสงเข้าไปสู่
                                                  เซนเซอร์รับภาพ จากนั้นก็ปิดตัว
                                                                                      เข้าได้น้อยตามไปด้วย ในทางกลับกัน ความไวที่ต�่ำ
                                                                                      อาจจะได้ปริมาณแสงมาก แต่ภาพก็จะไม่นิ่งสนิท
                              ลงเพื่อกั้นไม่ให้แสงอื่นๆ ตามหลังเข้าไป                 รวมทั้งอาการสั่นไหวของมือเราเองประกอบกับ
                              	 ยิ่งชัตเตอร์เปิด-ปิดอย่างรวดเร็ว แสงก็จะเข้า          ชัตเตอร์ช้าก็จะท�ำให้ภาพเบลอได้
                              ได้น้อย แต่ถ้าเปิดและปิดช้าแสงก็จะเข้าได้มาก            	 อ้าว!...ถ้าอย่างนี้จะไปใช้ชัตเตอร์ช้าๆ ท�ำไม
                              ลองนึกภาพประตูกั้นน�้ำดู...ยังไงยังงั้น                 กันล่ะ? ก็ถ้าอยากได้ภาพน�้ำตกสวยๆ ไหลเป็นสาย
                              	 คุณสมบัติเฉพาะตัวของชัตเตอร์ก็คือ การ                 จะใช้ความไวสูงๆ แล้วหยุดน�้ำเป็นเม็ดๆ มันจะสวย
                                หยุดการเคลื่อนไหวในภาพ หรือแสดงอาการ                  หรือ?
                                 เคลื่อนไหวในภาพ ถ้าหากมันเปิดและปิดอย่าง             	 หน่วยที่ว่านั้นก็เช่น 1/1000 วินาที จะมี
                                     รวดเร็วก็จะเป็นการหยุดภาพให้นิ่งสนิท             ความไวสูงกว่า 1/125 วินาที, 1 วินาที จะเปิดรับ
                                           อย่างเช่นภาพถ่ายกีฬาต่างๆ ที่เรามัก        แสงนานกว่า 1/60 วินาที อย่างนี้เป็นต้น
                                             จะได้เห็นกัน หรือหยดน�้ำที่ค้างอยู่กับ   	 ...ลองเล่นดูจากตัวอย่างเพื่อท�ำความเข้าใจกับ
                                             ที่กลางอากาศ ฯลฯ ประมาณนั้น              ความไวชัตเตอร์ แล้วเราจะมาลุยต่อที่ปัจจัยสุดท้าย
                                             	 แต่ถ้ามันเปิดแล้วปิดอย่างช้าๆ          กัน >>>
                                             มันก็จะบันทึกความเคลื่อนไหวไปแบบ
                                             ต่อเนื่องจนกว่ามันจะปิดตัวลง



24    Issue# 1 March 2012                                                                                                                 25
26   Issue# 1 March 2012   27
ปัจจัยตัวนี้จะต่างออกไปหน่อย เพราะมัน          	 แต่เดี๋ยวก่อน! ไม่ใช่ว่ามันจะดีและเก่งกาจ
                             ไม่ได้มีหน้าที่ในการควบคุมปริมาณแสงที่จะ         อย่างที่หวังเอาไว้ ข้อเสียของการขยายสัญญาณหรือ
                             ตกกระทบถึงเซนเซอร์รับภาพโดยตรง แต่มันจะ          ปรับค่า ISO ขึ้นไปสูงๆ ก็จะเกิดผลกระทบแย่ๆ
• ค่าความไวแสง (ISO Speed)   ท�ำหน้าที่เป็นตัว “ขยาย” สัญญาณจากแสงให้         ตามมาด้วย นั่นก็คือสัญญาณทางไฟฟ้าที่ว่านั้นไม่ใช่
                             เด่นชัดมากขึ้นโดยการท�ำงานทางสัญญาณ              มีแต่สัญญาณแสงเพียงอย่างเดียวที่จะถูกขยายขึ้น
                             ไฟฟ้า แสงจะเข้ามาน้อยจากปัจจัยอื่นๆ ก็ใช้        มา สัญญาณรบกวนอันน้อยนิดที่แฝงอยู่ในนั้นก็จะ
                             ISO นี่แหละขยายมันให้เด่นชัดมากขึ้น ก็           ถูกขยายตามมาด้วย ท�ำให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียก
                             เหมือนกับที่เราปรับ Volume ในเครื่องเสียงนั่น    ว่า “Noise” หรือจุดรบกวนขึ้นในภาพ
                             แหละ ยิ่งปรับเพิ่มมากมันก็ยังดังมากขึ้นใช่ไหม    	 ก็เหมือนกับที่เราเร่ง Volume ขึ้นมานั่นแหละ
                             ล่ะ?                                             มันดังมากขึ้นก็จริง แต่เราก็จะได้ยินเสียงซ่าๆ อัน
                             	 ยกตัวอย่างเช่น เราจะถ่ายภาพรถวิ่งให้นิ่ง       เป็นสัญญาณรบกวนมากขึ้นด้วย...ใช่มั๊ยล่ะ?
                             สนิทแต่ต้องการภาพชัดลึกด้วย เราก็เลือกใช้        	 ดังนั้นค่า ISO จึงมักจะถูกปรับเอาไว้ที่
                             สปีดชัตเตอร์ 1/1000 ปรับรูรับแสงไปที่ F16        ระดับต�่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อรักษาคุณภาพ
                             เพื่อให้มันชัดลึกมากๆ แต่ทั้งสองปัจจัยนั้นก็จะ   ของภาพถ่ายให้เนียนใส แต่ถ้ามันจ�ำเป็นก็ต้องเพิ่ม
                             ท�ำให้แสงเข้ามาถึงเซนเซอร์รับภาพน้อยลงจน         ค่า ISO ขึ้นไปสูงๆ เพราะบางครั้งการได้ภาพที่เต็ม
                             ท�ำให้ภาพค่อนข้างมืด เราก็จัดการปรับค่าความ      ไปด้วยจุดรบกวนก็ยังดีกว่าไม่ได้ภาพมาแต่อย่างใด
                             ไวแสงหรือ ISO นี่แหละให้มันสูงขึ้น แสงที่เข้า    เลย
                             มาน้อยนิดก็จะถูกขยายทางสัญญาณไฟฟ้าเป็น           	 UFO บินมาอยู่ตรงหน้าตอนกลางคืน จะ
                             ภาพถ่ายที่มองเห็นอะไรๆ ได้มากขึ้นนั่นเอง         บอกว่าไม่ถ่ายดีกว่า เพราะเดี๋ยวมีแต่ Noise เต็ม
                                                                              ไปหมด...ก็คงไม่ใช่อยู่ดี...จริงมั๊ย?




28   Issue# 1 March 2012                                                                                                    29
30   Issue# 1 March 2012   31
จากทั้งสามปัจจัยที่เราท�ำความรู้จักกันนี้     กล้องถ่ายภาพเป็นแค่เครื่องมือตัวหนึ่งที่ไม่ได้
                           มันจะต้องถูกน�ำมาพิจารณาร่วมกันในการถ่าย        เข้าใจความต้องการในใจของเราแต่อย่างใด
                           ภาพแต่ละสถานการณ์ว่าเราอยากได้ภาพแบบ            เลย มันแค่รอรับค�ำสั่งจากเราว่าต้องท�ำอย่าง
                           ไหน? และต้องเลือกปรับใช้ค่าแต่ละค่า             นั้นอย่างนี้ต่างหาก
                           อย่างไรจึงจะเหมาะสม จากตัวอย่างที่ผ่านมา        	 ส่วนกรณีที่มันท�ำงานร่วมกับเรา หรือ
                           เราแค่ลองเล่นในแต่ละปัจจัยโดยที่ยังไม่ได้เอา    บางทีเราแทบไม่ต้องท�ำอะไรเลย (แค่เอานิ้ว
                           ทั้งสามอย่างเข้ามาร่วมกัน แต่คราวนี้ต้องลอง     กดปุ่มถ่ายภาพเท่านั้น) อันนั้นก็เรียกว่าการ
                           พิจารณาทั้งสามอย่างไปพร้อมๆ กันดูแล้วล่ะ        ถ่ายภาพแบบทั่วๆ ไปที่ไม่ต้องคิดอะไรมากนัก
                           เพราะเมื่อถ่ายภาพจริงๆ เราก็ต้องท�ำแบบนี้       (กล้องถ่ายภาพบางชนิดก็เป็นอย่างนั้น ห้าม
                           อยู่เสมอ                                        คิดอะไร ถ่ายอย่างเดียวพอ) ทุกอย่างระบบ
                           	 ศึกษาวิธีการปรับตั้งค่าต่างๆ ของทั้ง          คอมพิวเตอร์ที่มีการโปรแกรมมาไว้แล้วของ
                           สามปัจจัยได้จากคู่มือที่มาพร้อมกับกล้อง         กล้องจะท�ำให้หมด ซึ่งเราก็จะคาดหวังไม่ได้
                           ของเรา หรือหาใครสักคนที่เข้าใจเรื่องนี้แล้ว     เลยว่ามันจะท�ำอะไรออกมาให้ ที่ได้ก็คือได้
                           ลองสอบถามเขาดู ถ้าหากคุณลงทุนกับกล้อง           ภาพแน่ๆ แต่ผลจะเป็นอย่างที่ต้องการมั๊ย?
                           ที่สามารถท�ำอะไรได้มากกว่าแค่กดปุ่ม             อันนี้ไม่รู้ล่ะ
                           ชัตเตอร์ ก็ควรจะลองใช้มันให้คุ้ม ใช้มันให้ได้
                           มากกว่าแค่ยกเล็งแล้วจากนั้นก็ไม่ต้องคิดอะไร       	 ลองดูกับกล้องจริงๆ แล้วเราจะ
                           อีกเลย...                                         ได้ประสบการณ์เยอะกว่านี้มาก แรกๆ
                           	 ถ้าจะฝึกจริงๆ จังๆ ขอแนะน�ำให้ใช้               อาจจะยัง งงๆ นิ ด หน ่ อ ย แต ่ เ มื่อ เริ่ ม
                           โหมด “M” หรือ Manual ซึ่งจะท�ำให้เรา              ช�ำนาญมากขึนแล้วอะไรๆ ก็ดจะสังได้ไป
                                                                                              ้          ู ่
                           ปรับตั้งค่าต่างๆ ได้อย่างอิสระ ลองหาดูซิว่า       หมด...อย่าได้กลัว
                           โหมด M ที่ว่านี้อยู่ตรงไหน?                       	 ...ไม่มใครท�ำเรืองนีเป็นมาตังแต่
                                                                                            ี     ่ ้              ้
                                                                             เกิด แต่เมือเกิดมาแล้วก็ควรจะท�ำให้ได้
                                                                                          ่
                           	 ทั้งสามปัจจัยเป็นสิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้เลย         สิ...จริงมั๊ย?
                           ในการถ่ายภาพแต่ละครั้ง หากเราต้องการ
                           เป็นเซียนก็ควรที่จะต้องเข้าใจมันให้ดี เพราะ

32   Issue# 1 March 2012                                                                                                     33
Composition Adventure




                             ปิยะฉัตร แกหลง



                             ปัญหาใหญ่ยงอย่างหนึงของคนถ่ายภาพทังมือ
                                            ิ่       ่                 ้
                             เก่าและมือใหม่ที่ผมมักจะได้ยินอยู่เสมอๆ ก็
                             คือเรื่องของ “การจัดวางองค์ประกอบภาพ”           	 ผมจะพาทุกท่านเข้าไปเรียนรู้เรื่องการ
                             ครับ ไม่ว่าจะไปทางไหนก็ต้องได้ยินหัวข้อนี้      จัดวางองค์ประกอบส�ำหรับภาพถ่ายครับ ตังใจ้
                             อยู่ทั่วไปหมด ซึ่งผู้คนหลังกล้องส่วนใหญ่มัก     จริงๆ ว่าอยากจะให้เราถ่ายภาพสวยๆ ประดับ
                             จะไม่เข้าใจว่ามันคืออะไร? และต้องท�ำตัวยัง      วงการกันได้ทุกคน เพราะนอกจากเรื่องของ
                             ไงต่อเรื่องนี้? บ้างก็ให้ความส�ำคัญต่อเรื่องนี้ แสงและเรื่องราวหรือเทคนิคแล้ว การจัดวาง
                             แต่ไม่รจริงๆ ว่าวิธทเขาท�ำกันน่ะมันคือยังไง?
                                      ู้        ี ี่                         องค์ประกอบภาพก็ส�ำคัญไม่น้อยหน้ากันเลย
                                                                             เผลอๆ มันยังจะเป็นหัวข้อใหญ่ที่ควบคุมเรื่อง
                             ...มันไม่มีวิธีท�ำหรอกครับ แต่มันมีวิธีเรียนรู้ อื่นๆ เอาไว้อีกทีเสียด้วยซ�้ำไป
                             และฝึกฝนอยู่ ซึ่งผมเชื่อว่าถ้าเราใส่ใจจริงๆ ละ
                             ก็ เป็นท�ำได้ทกคนแหละ มากบ้างน้อยบ้างก็สด 	 ภาพบางภาพบางทีก็ไม่มีอะไร แต่ด้วย
                                            ุ                             ุ
                             แท้แต่ความขยันของแต่ละคนละนะ...                 การจัดวางองค์ประกอบภาพ การเลือกใช้มุม
                                                                             กล้องที่เหมาะสมก็ท�ำให้มันกลายเป็นเรื่องขึ้น
                                                                             มาได้เหมือนกันนะ...นีแหละครับ พลังของการ
                                                                                                     ่
                                                                             จัดวางองค์ประกอบภาพล่ะ

                        34     Issue# 1 March 2012                                                                          35
Composition Adventure




                                             	 ลองมาดูหวข้อแรกอันเป็นพืนฐานกันก่อนเลย
                                                              ั                 ้
                                             ครับ เรื่องที่ผมพยายามจะให้มันเป็นเรื่องขึ้นมาให้
                                             ได้ก็คือ “น�้ำหนัก” ซึ่งไม่ใช่น�้ำหนักตัวของคนถ่าย
                                             ภาพนะ แต่เป็นการจัดวางน�้ำหนักสิ่งของประดามีที่        	 การถายภาพเปนอะไรทไมเหมอนกบงานศลปะ
                                                                                                                      ่        ็         ี่ ่ ื ั    ิ
                                             จะปรากฏอยู่ในพื้นที่ภาพถ่ายของเรานี่แหละ               แขนงอืนๆ ตรงทีวา แค่เราขยับต�ำแหน่งนิดเดียวก็ได้
                                                                                                              ่           ่่
                                                                                                    ภาพที่เปลี่ยนไปแล้ว ดังนั้นการจัดวางองค์ประกอบ
                                             	 ก่อนอื่นเราต้องท�ำความเข้าใจเสียก่อนว่า              ให้กับภาพจึงขึ้นอยู่กับท่อนขาและหัวสมองของเรา
                                             ภาพถ่ายของเรานั้นจะมีพื้นที่อันจ�ำกัดอยู่ภายใน         เป็นส�ำคัญครับ คนหมูมากทีมกล้องอยู่
                                                                                                                                 ่   ่ ี
                                             กรอบสี่เหลี่ยม มันไม่ได้ต่อเนื่องออกไปได้เรื่อยๆ       ด้านหน้ามักจะเดินไปถึงจุดๆ หนึงแล้ว      ่
                                             เหมือนกับที่เรากวาดตามองหรือเดินไปดูทางนู้นที          ร้องอุทานมาว่า พระเจ้ายอดมันจอร์จ
                                             ทางนี้ที และในเมื่อมันอยู่ภายใต้พื้นที่จ�ำกัด มันจึง   โคตรๆ แล้วก็ยกกล้องขึ้นกดโดยที่ขา
                                             ต้องอาศัยการจัดวางต�ำแหน่งของสิ่งต่างๆ ที่จะ           ตายอยูกบทีอย่างนัน ภาพมันก็ออกมา
                                                                                                                ่ ั ่        ้
                                             ปรากฏอยูในภาพ อันนีควรจะอยูตรงนัน อันนันควร
                                                       ่           ้         ่      ้      ้        อย่างนั้นแหละครับ เสร็จแล้วก็ท�ำหน้า
                                             จะอยู่ตรงนี้ ส่วนไอ้หมอนี่ควรจะหายไป ฯลฯ อะไร          งงว่ า ท� ำ ไมมั น ไม่ ส วยอย่ า งที่ ต าเห็ น
                                             ประมาณนั้น                                             (วะ) ไปหามุมอืนดีกว่า แล้วก็เดินฉับๆ
                                                                                                                        ่
                                                                                                    ต่อไป ถึงตรงไหนก็ขาตายคาทีกดชัตเตอร์อยูตรงนัน
                                                                                                                                           ่       ่   ้
                                                                                                    แล้วก็อีหรอบเดิม...กล้องตัวนี้มันไม่ดีแหงๆ

                                                                                                    	 ลองสงเกตดสกนดครบ ชางภาพแถวๆ นนบาง
                                                                                                               ั      ู ั ิ ั ่                 ั้
                                                                                                    คนไม่ท�ำอย่างนั้นหรอก เล็งแล้วเล็งอีก ย่อตัว นอน




                        36   Issue# 1 March 2012                                                                                                           37
Composition Adventure




                                            ราบไปกับพื้น ปีนต้นไม้ หรือท�ำอะไรประหลาดๆ ที่                	 “น�ำหนัก” คือสิงส�ำคัญส�ำหรับการจัดวางวัตถุ
                                                                                                                    ้          ่
                                            มนุษย์มนาเขาไม่ท�ำกัน นั่นก็เพราะเขาก�ำลังเล็ง                ในภาพครับ ทุกเรื่องในจักรวาลนี้มีเรื่องใหญ่อยู่เรื่อง
                                            เหลี่ ย มเล็ ง มุ ม เพื่ อ จั ด การกั บ องค ์ ป ระกอบภาพนี่   หนึ่งก็คือการรักษาสมดุล ภาพถ่ายในกรอบสีเหลี่ยม
                                                                                                                                                     ่
                                            แหละ แล้วเขาก็ได้ภาพไปในแบบทีเราได้แต่นงร�ำพึง
                                                                                       ่         ั่       ของเราเองก็เหมือนกันทีตองมีการรักษาสมดุลให้กบ
                                                                                                                                 ่ ้                          ั
                                            ว่าสวยโคตรๆ มันไปถ่ายตรงไหนของมันเนี่ย?                       ภาพ...สมดุลเป็นใครมาจากไหน แล้วมันป่วยเหรอถึง
                                                                                                          ได้ต้องไปรักษามันน่ะ?
                                            	 รูมยครับว่าอย่างหนึงทีตางออกไประหว่างชาว
                                                     ้ ั๊               ่ ่ ่
                                            บ้านกับมืออาชีพคืออะไร? ชาวบ้านจะมองอะไรต่อ                   	 ภาพที่เสียสมดุลก็คือภาพที่ป่วยนั่นแหละครับ
                                            อะไรไปเรือยเฉือย อันนันสวย อ่ะ กดซะหน่อย โอ๊ะ!
                                                          ่ ่         ้                                   หากเรารักษาความสมดุลในเรืองของน�ำหนักเอาไว้ไม่
                                                                                                                                      ่      ้
                                            อันนี้ก็ดี กดซะสิเรา ก็คือการมองภาพกว้างๆ นั่น                ได้ ภาพของเราก็จะดูหนักไปด้านใดด้านหนึ่งทันที ที่
                                            แหละครับ แต่พวกมืออาชีพจะไม่มองกันแบบนี้ เขา                  แย่ก็คือบางภาพเข้าขั้นโคม่าคือหนักกระจัดกระจาย
                                            จะมองแล้ ว พิ จ ารณาดู ว ่ า ถ้ า มั น ต้ อ งอยู ่ ใ นกรอบ    ทั่วไปหมด หาจุดพักพิงสายตาไม่ได้เลยก็มี และผม
                                            สีเหลียมมันจะเป็นยังไง? มันจะน่าดูมย? มันควรจะ
                                              ่ ่                                       ั๊                คิดว่าเป็นส่วนใหญ่ซะด้วยนะ
                                            อยูมมไหนถึงจะดี? บางคนนีมองไปด้วยพร้อมกับวัด
                                               ่ ุ                        ่
                                            แสงไปด้วยเลยนะครับท�ำเป็นเล่นไป หรือบางคนก็
                                            ยกนิ้วโป้งกับนิ้วชี้จากมือทั้งสองข้างเพื่อมาท�ำเป็นก
                                            รอบภาพเอาไว้เล็งดูพื้นที่ อันนั้นก็เบสิคดีเหมือนกัน
                                            มันก็เป็นไปเพื่อเรื่องนี้แหละ                                 	 ตัวอย่างที่เบสิคสุดๆ และผมคิดว่าทุกคนเคย
                                                                                                          ท�ำมาแล้วด้วยหัวใจทีเรียกร้องความปลอดภัยไว้กอน
                                                                                                                              ่                           ่
                                            	 ไม่อยากเป็นชาวบ้านธรรมดาเหรอครับ? งัน้                      ก็คือ การถ่ายภาพโดยให้วัตถุที่เราจะถ่ายนั้นอยู่ตรง
                                            จงมาศึกษาเรื่องของการจัดวางองค์ประกอบภาพ                      กลางพอดีเป๊ะ! ใช่แล้วครับ สิงส�ำคัญอยูตรงกลางนัน
                                                                                                                                      ่         ่           ้
                                            แต่โดยดีเสียเถิด...                                           ย่อมปลอดภัยในเรื่องของการจัดวางน�้ำหนักในภาพ
                                                                                                          แน่ๆ


                        38   Issue# 1 March 2012                                                                                                                  39
Composition Adventure




                                          	 ถ้าโลกนี้มีวิธีการเพื่อความปลอดภัยในเรื่อง             ตวอวนละ ตรจะทำยงไง? จะไปหากอนหนใหญยกษเพอ
                                                                                                     ั ้ ่ ู � ั                ้ ิ  ่ ั ์ ื่
                                          ของน�้ำหนักอยู่วิธีเดียวคือให้ทุกอย่างอยู่ตรงกลาง        ถ่วงน�้ำหนักคุณเธอได้ที่ไหน?
                                          เราก็คงไม่มีกระเป๋าเสื้ออยู่ด้านซ้าย (ส�ำหรับเรื่องนี้
                                          เห็นทีโดราเอมอนคงจะปลอดภัยที่สุด) นักฟุตบอล              	 ...คงไม่ต้องวนเข้าสู่วงเวียนชีวิตขนาดนั้น ขอแค่
                                          ทุกต�ำแหน่งต้องวิ่งเป็นแถวเรียงเดี่ยวอยู่กลางสนาม        อย่า “ขาตาย” ในยามถือกล้องเท่านั้นแหละครับ
                                          เพื่อพาบอลขึ้นไปข้างหน้า รถยนต์ที่เราขับคงไม่ต้อง
                                          มีพวงมาลัยซ้ายหรือขวา เพราะต้องนังอยูกงกลางรถ
                                                                               ่ ่ ึ่              	 เดินเปลี่ยนมุมเข้าไปสิ...ขยับซ้ายขยับขวา ย่อตัว
                                          ถ้าจะมีคนขึ้นรถก็ต้องมีจ�ำนวนคู่เท่านั้นเพื่อรักษา       ยืดตัว เดินหน้าถอยหลัง แค่นกมผลต่อมุมภาพและองค์
                                                                                                                              ี้ ็ ี
                                          สมดุลของน�้ำหนักซ้ายและขวา กับข้าวทุกอย่างต้อง           ประกอบทางด้านน�้ำหนักแล้ว
                                          มากองรวมกันอยูกลางจานเพือไม่ให้จานหนักไปด้าน
                                                           ่             ่
                                          ใดด้านหนึ่ง กินกันเป็นพระกัมมัฏฐานเลยทีเดียว             	 เรามักเข้าใจกันว่า ถ้าพูดถึงสิ่งที่มี
                                                                                                   น�้ำหนักมันก็ต้องเป็นสิ่งของแน่อยู่แล้ว
                                          	 แตเพราะเราไมไดมวธอยแคอยางเดยวในเรอง
                                                     ่            ่ ้ ี ิ ี ู่ ่ ่ ี      ื่       รถยนต์นั่นไงหนักพอมั๊ย? หรือถ้าจะ
                                          นี้ ดังนันการถ่ายภาพจึงไม่จำเป็นต้องจัดทุกอย่างเอา
                                                   ้                       �                       ให้ชวร์กรถสิบล้อหรือรถไฟกันไปเลย
                                                                                                         ั ็
                                          ไว้ตรงกลางเสมอ อาจจะจัดให้ตัวเด่นอยู่ริมก็ได้ อยู่       ทีนี้ละหนักแน่ๆ
                                          ซ้ายขวาบนล่างยังไงก็ได้ ทีสำคัญก็คอ เราต้องมีอย่าง
                                                                       ่ �      ื
                                          อื่นช่วงถ่วงน�้ำหนักเพื่อรักษาสมดุลในภาพเอาไว้           	 ผิดครับผิด...ในแง่ของงานศิลปะละก็ผิดแน่นอน
                                                                                                   เพราะนอกจากสิ่งของแล้ว พื้นที่ว่าง สี หรือความรู้สึก
                                          	 โอ้พระเจ้า! อยากจะถ่ายภาพแฟนโดยให้เขา                  ล้ ว นแล้ ว แต่ มี อิ ท ธิ พ ลในเรื่ อ งของน�้ ำ หนั ก ทั้ ง นั้ น ก็
                                          หรือเธออยูรมซ้ายหรือขวาของภาพ มิตองไปยกก้อน
                                                    ่ิ                      ้                      ภาพถ่ายของเรามันเป็นเรื่องของความรู้สึกจากการมอง
                                          หินมาวางไว้ทตำแหน่งตรงข้ามอีกหรือ? แล้วถ้าแฟน
                                                       ี่ �                                        เห็นนี่นะ




                        40   Issue# 1 March 2012                                                                                                                           41
Composition Adventure

                                            	 ดังนั้นพื้นที่ว่างจึงสามารถช่วยในเรื่องการถ่วงน�้ำ
                                            หนักเพื่อจัดวางองค์ประกอบภาพของเราได้ด้ว			
                                            	 ตัวอย่างเช่นท้องฟ้ากว้างๆ ในภาพที่มีเจดีย์อยู่ไม่
                                            ไกล เจดียเป็นสิงทีมนำหนัก แต่กไม่หนักมากนักเมือเทียบ
                                                      ์ ่ ่ ี �้            ็             ่
                                            กับท้องฟ้ากว้างๆ แต่ถาเจดียเข้ามาอยูซะเต็มภาพ ท้องฟ้า
                                                                  ้     ์       ่
                                            นิดเดียว อันนี้เจดีย์หนักแน่ๆ หนักมากด้วยเลยล่ะ

                                            	 เรื่องของสัดส่วนพื้นที่จึงเข้ามามีผลด้วยครับ เอา
                                            ล่ะ...ดูจากภาพตัวอย่างก็แล้วกัน ผมยังไม่มวตถุสงของให้
                                                                                     ี ั ิ่
                                            ดูนะ เอาแค่เฉพาะเรื่องของพื้นที่ว่างก่อน

                                            	 จะเห็นได้วามันมีพนทีวางๆ โล่งๆ ในปริมาณทีมาก
                                                            ่        ื้ ่ ่               ่
                                            กว่าวงกลมสีด�ำหลายเท่า จากนั้นก็เอาวงกลมนี้ไปวางไว้
                                            ตรงไหนสักตรง ตรงไหนล่ะที่มันจะถ่วงน�้ำหนักกันได้ดี
                                            ทีสดเมือเทียบกับพืนทีวางในกรอบภาพสีเหลียมของเรา?
                                              ่ ุ ่           ้ ่่              ่ ่
                                            คุณว่าอันไหนน่าจะดีที่สุดล่ะครับ?

                                            	 อันซ้ายก็หนักซ้ายเกินไป อันขวาก็หนักขวาเกินไป
                                            ดังนั้นมันก็คืออันกลางใช่ไหมล่ะ? แต่นั่นมันเบสิคและ
                                            ปลอดภัยไว้กอนเหมือนเดิมครับ เราลองย้ายมันมาไว้ตรง
                                                          ่
                                            นี้ดูซิ อืมมม...ไม่เลวนะ ยังพอถ่วงน�้ำหนักกันได้ดีอยู่

                                            	 ...ลองย้ายอีกซิ! อืออออ พอได้ๆ ...ชักเข้าท่าแฮะ
                                            เอาเรือเข้าจอดเลยงั้น
                                            	 เริ่มได้ไอเดียส�ำหรับการจัดวางองค์ประกอบภาพ
                                            แบบเบื้องต้นหรือยังครับ? ถ้าเราเปลี่ยนวงกลมสีด�ำเป็น
                                            วัตถุหลักที่เราก�ำลังจะถ่ายภาพ พื้นที่ว่างคือท้องฟ้า มัน
                                            น่าจะวางมุมกล้องแบบไหนดี?

                        42   Issue# 1 March 2012                                                       43
Composition Adventure




                                                   	 ทีนี้ลองมาดูเรื่องสีกันบ้าง อย่างที่บอกครับว่าสี
                                                   ก็มีน�้ำหนักอยู่ในตัวของมันเหมือนกัน หลักการง่ายๆ
                                                   ก็คอ สีทบจะให้รสกมีนำหนักมากกว่า ในขณะทีสสว่าง
                                                       ื ึ           ู้ ึ �้                  ่ ี
                                                   จะมีความรูสกเบากว่า ถูกมัย? ลองดูจากภาพตัวอย่าง
                                                               ้ ึ             ๊
                                                   นี่เลยครับ

                                                   	 เราจะเห็นว่าภาพนี้หนักซ้ายนะ เพราะสีทาง
                                                   ด้านซ้ายมันดูหนักกว่า แล้วจะท�ำยังไง? เราก็จัดการ
                                                   เอาเรื่องของพื้นที่เข้ามาช่วยเลยครับ สีสว่างเบากว่า
                                                   ก็ให้พื้นที่กับมันเยอะๆ หน่อย แล้ววางต�ำแหน่งสีทึบ
                                                   ใหม่ แค่นี้ก็เรียบร้อยแล้ว

                                                   	 พื้นที่ว่างยังเป็นเหตุผลส�ำคัญอีกประการหนึ่ง
                                                   ด้วย นันก็คอจะช่วยให้มพนทีพกหายใจในภาพมากขึน
                                                          ่ ื              ี ื้ ่ ั                 ้
                                                   (อันนี้ผมเข้าใจว่าคงเป็นแค่ค�ำเปรียบเปรยล่ะนะ...จะ
                                                   ต้องไปหายใจกันท�ำไมในภาพ ที่อื่นมีเยอะแยะ) ทั้งนี้
                                                   ก็เพือลดความสับสนวุนวายในภาพลง มีพนทีโล่งๆ พัก
                                                        ่               ่                    ื้ ่
                                                   สายตามากขึน และท�ำให้ตวแบบหลักในภาพดูโดดเด่น
                                                                ้               ั
                                                   ขึ้นด้วย เพราะถ้าในภาพมีแต่อะไรก็ไม่รู้เต็มไปหมด
                                                   พระเอกของเราก็โดนแย่งซีนไม่ได้ผดไม่ได้เกิดกันพอดี
                                                                                     ุ
                                                   	 นอกจากเรืองของน�ำหนักแล้ว ความตรงข้ามกัน
                                                                     ่        ้
                                                   ของสียงช่วยเรืองความโดดเด่นของสิงทีเราจะถ่ายภาพ
                                                           ั      ่                    ่ ่
                                                   ด้วย สมมติว่าเราพาคนมาคนนึง ใส่เสื้อผ้าสีอ่อน เรา
                                                   จะเลือกไปถ่ายภาพตรงทีดานหลังเป็นสีออนหรือสีเข้ม
                                                                             ่ ้           ่
                                                   ดี? อันนี้ลองคิดหาค�ำตอบดูเอาเองนะครับ

                        44   Issue# 1 March 2012                                                         45
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312
Photo nextor v1_0312

More Related Content

What's hot

รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4Kroo nOOy
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองniralai
 
เพชรพระอุมาบทที่๓
เพชรพระอุมาบทที่๓เพชรพระอุมาบทที่๓
เพชรพระอุมาบทที่๓jpamok
 
ในหลวงกษัตริย์ยอดกตัญญู
ในหลวงกษัตริย์ยอดกตัญญูในหลวงกษัตริย์ยอดกตัญญู
ในหลวงกษัตริย์ยอดกตัญญูniralai
 
เล่มที่ 7
เล่มที่ 7เล่มที่ 7
เล่มที่ 7disk1412
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1niralai
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน 2555
หนังสือส่งเสริมการอ่าน 2555หนังสือส่งเสริมการอ่าน 2555
หนังสือส่งเสริมการอ่าน 2555Kob Ying Ya
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8Kroo nOOy
 
e-sarn words for work
e-sarn words for worke-sarn words for work
e-sarn words for worksurachai chai
 

What's hot (10)

รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 4
 
คู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทองคู่มือโฆษกเสียงทอง
คู่มือโฆษกเสียงทอง
 
เพชรพระอุมาบทที่๓
เพชรพระอุมาบทที่๓เพชรพระอุมาบทที่๓
เพชรพระอุมาบทที่๓
 
ในหลวงกษัตริย์ยอดกตัญญู
ในหลวงกษัตริย์ยอดกตัญญูในหลวงกษัตริย์ยอดกตัญญู
ในหลวงกษัตริย์ยอดกตัญญู
 
เล่มที่ 7
เล่มที่ 7เล่มที่ 7
เล่มที่ 7
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน 2555
หนังสือส่งเสริมการอ่าน 2555หนังสือส่งเสริมการอ่าน 2555
หนังสือส่งเสริมการอ่าน 2555
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 8
 
e-sarn words for work
e-sarn words for worke-sarn words for work
e-sarn words for work
 
คนเล่าเรื่อง เมืองน่ารัก
คนเล่าเรื่อง เมืองน่ารักคนเล่าเรื่อง เมืองน่ารัก
คนเล่าเรื่อง เมืองน่ารัก
 

Viewers also liked

Viewers also liked (18)

Ebook achew
Ebook achewEbook achew
Ebook achew
 
พบหมอศิริราช
พบหมอศิริราชพบหมอศิริราช
พบหมอศิริราช
 
ประวัติพระแก้วมรกต
ประวัติพระแก้วมรกตประวัติพระแก้วมรกต
ประวัติพระแก้วมรกต
 
รายชื่อผู้เกษียณ2550-2560
รายชื่อผู้เกษียณ2550-2560รายชื่อผู้เกษียณ2550-2560
รายชื่อผู้เกษียณ2550-2560
 
คู่มือการใช้ Ipad (IOS5)
คู่มือการใช้ Ipad (IOS5)คู่มือการใช้ Ipad (IOS5)
คู่มือการใช้ Ipad (IOS5)
 
ประมวลจริยธรรม ของผู้ปฏิบัติงาน กคช.2552
ประมวลจริยธรรม ของผู้ปฏิบัติงาน กคช.2552ประมวลจริยธรรม ของผู้ปฏิบัติงาน กคช.2552
ประมวลจริยธรรม ของผู้ปฏิบัติงาน กคช.2552
 
Canon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manualCanon 600 d thai manual
Canon 600 d thai manual
 
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
 
พรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2537
พรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2537พรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2537
พรบ.การเคหะแห่งชาติ พ.ศ.2537
 
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีชมรมผู้อาวุโส2555.
 
การใช้งานYoutube
การใช้งานYoutubeการใช้งานYoutube
การใช้งานYoutube
 
Punyakalamba
PunyakalambaPunyakalamba
Punyakalamba
 
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรห่างไกลโรค
 
กำหนดการสัมมนาวิชาการกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาที่อยู่อาศัย
กำหนดการสัมมนาวิชาการกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาที่อยู่อาศัยกำหนดการสัมมนาวิชาการกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาที่อยู่อาศัย
กำหนดการสัมมนาวิชาการกระบวนทัศน์ใหม่ของการพัฒนาที่อยู่อาศัย
 
Punyakalamba
PunyakalambaPunyakalamba
Punyakalamba
 
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
10วิธีแก้ปัญหาในการใช้กล้องดิจิตอล
 
Facebook for beginner
Facebook for beginnerFacebook for beginner
Facebook for beginner
 
W202555 12-27-130117084246-phpapp01
W202555 12-27-130117084246-phpapp01W202555 12-27-130117084246-phpapp01
W202555 12-27-130117084246-phpapp01
 

Photo nextor v1_0312

  • 1.
  • 2.
  • 3. หลายคนทีคนเคยกับผมดีคงจะพากันสงสัย ่ ุ้ Editor’s Talk ว่าผมมาอยู่ตรงนี้ได้อย่างไรและท�ำไม? ผม คงบอกได้แค่ว่าชีวิตล้วนเต็มไปด้วยความ เปลี่ยนแปลงอยู่ทุกขณะ เราไม่สามารถอยู่ที่เดิมจุดเดิม ได้ตลอดไป บางสิ่งบางอย่างแม้จะไม่คาดฝันและดูจะ กระทันหันปุบปับ แต่มันก็เกิดขึ้นได้เสมอในช่วงชีวิต หนึงของมนุษยปุถชนอย่างเราๆ ทีตองก้าวเดินต่อไปข้าง ่ ุ ่ ้ หน้า ไม่ว่าจะเกิดเรื่องจริงหรือไม่จริงอะไรขึ้นก็ตาม... PhotoNextoR คงจะไม่ได้ถือก�ำเนิดขึ้นมา ถ้า ปราศจากแรงผลักดันอันส�ำคัญ หนึ่งในนั้นก็คือประโยคที่ มีคนพูดกับผมว่าเราก�ำลังท�ำสิงดีๆ สูสงคม เนือความนัน ่ ่ ั ้ ้ ท�ำให้ผมเกิดก�ำลังใจทีจะท�ำงานชินนีออกมา ไม่วาจะมีใคร ่ ้ ้ ่ เห็นหรือไม่ จะเข้าใจหรือจะคิดไปในแง่ใดก็ตามที ในที่สุด งานชิ้นนี้ก็ออกสู่สังคมจนได้จริงๆ ชีวิตมีหลายด้านเสมอ...อยากให้คุณผู้อ่านได้ลอง พิจารณาดูตามความเป็นจริง งานชินนีของผมก็เป็นอีกหนึง ้ ้ ่ ในด้านเหล่านัน และไม่วาจะเข้าใจมันว่าอย่างไร อย่างน้อย ้ ่ มนกนาจะสงผลดสกอยางตอสงคมนไดอยางทผมตงใจเอา ั ็ ่ ่ ี ั ่ ่ ั ี้ ้ ่ ี่ ั้ ไว้ตั้งแต่แรกเมื่อนานมาแล้ว... ยินดีที่ได้พบเพื่อนเก่าทุกท่านอีกครั้ง และยินดีที่ ได้รจกกับเพือนใหม่ทกคน ขอต้อนรับทุกท่านสูการเป็น ู้ ั ่ ุ ่ ส่วนร่วมในก้าวแรกของ PhotoNextoR ณ บัดนี้ครับ. eMagazine รายเดือนเพื่อเรียนรู้เรื่องกล้องและการถ่าย PhotoNextoR Connection : FONT CREDIT : ภาพ ดาวน์โหลดฟรีทุกวันที่ 9 ของเดือนที่ ติดต่อประสานงานทางการตลาด ฟ : CmPrasanmit ปิยะฉัตร แกหลง photonextor.com marketing@photonextor.com ฟ : Supermarket Nextopia ติดต่อลงข่าวประชาสัมพันธ์ ฟ : Book_Akhanake Original eBook Script : PageFlip v2.25 by news@photonextor.com ขอบคุณ f0nt.com สำ�หรับ Macc/IpariGrafika แนะนำ�ติชม/สอบถามเพิ่มเติม การเป็นแหล่งรวบรวมฟอนท์ www.photonextor.com info@photonextor.com เพื่อสังคม 4 Issue# 1 March 2012 5
  • 4. Photo Gear 08 Snap Society 94 Nextor Content อุปกรณ์ถ่ายภาพมาใหม่ ดูข้อมูลก่อนจะซื้อ MILC เล็กดีรสโต ว่าแต่ว่ามันคืออะไร หามาไว้ใช้งานเป็นอาวุธประจำ�กาย กันล่ะนั่น? Noob Space 14 Camera Teria 106 เรียนรู้ขั้นตอนการถ่ายภาพตั้งแต่พื้นฐาน ฉบับนี้เริ่มตั้งแต่การทำ�ความรู้จักกับสาม Canon EOS 1DX, Nikon D4, Nikon ปัจจัยของการถ่ายภาพที่ไม่รู้ไม่ได้! D800 มาใหม่แล้วมีดียังไง? Composition Adventure Compact Zone 124 34 ศึกษาเรื่องการจัดวางองค์ประกอบ สำ�หรับภาพถ่าย เขาทำ�กันยังไง? PowerShot G1X, CoolPix P7100, เราเองทำ�ได้ด้วยหรือไม่? Ricoh GRD IV คอมแพคไฮโซ NextPlorer 48 Simple Software 132 ถ่ายภาพวัดพระแก้วด้วยกล้องจาก iPhone FotoSketcher เอาไปอาร์ตกันแบบฟรีๆ ไปดูซิว่าจะทำ�ได้แค่ไหนกัน! งานนี้ไม่ต้องเสียตังค์! Ride the Lighting 86 Photo Book 138 ทำ�ความเข้าใจกับ “แสง” ส่วนประกอบที่ แนะนำ�หนังสือกล้องจากชั้นวางร้าน สำ�คัญที่สุดสำ�หรับการถ่ายภาพ หนังสือชั้นนำ�ขณะนี้ 6 Issue# 1 March 2012 7
  • 5. Photo Gear Photo Gear SD Card หน้าตาล�ำจาก SAMSUNG ้ ซี รี่ ส ์ นี้ ไ ม ่ ไ ด ้ มี ดี แ ค ่ ห ล ่ อ อย ่ า งเดี ย ว เท่านั้น แต่มันยังพกเอาความ “อึด” ติดตัวมาด้วย เพราะมันถูกออกแบบ มาให้ รั บ มื อ กั บ สามปั จ จั ย พิ ฆ าตที่ เครืองมืออิเลคทรอนิกส์หวาดกลัวกัน ่ นักหนา เหล่ า บรรดานั ก รบหลั ง กล้ อ งผู ้ มี มนสามารถแชอยใตนำไดนาน ั ่ ู่ ้ �้ ้ แฟลชเป็นสรณะคงจ้องเจ้าอุปกรณ์ ถึง 24 ชั่วโมง ทนรังสีแม่เหล็กได้ ตัวนีตาเป็นมัน เพราะตัวส่งสัญญาณ ้ เยอะถึง 10,000 gauss และรับแรง ยิงแฟลชในชือ PLUS III จาก Pock- ่ “3 PROOF” กดจากยานยนต์ขนาด 1.6 ตันได้ etWizard เวอร์ ชั่ น ล่ า สุ ด นี้ บ รรจุ สบายๆ แต่คงไม่ถงกับใช้ยนล้อกันรถ ึ ั คุณสมบัติของมืออาชีพมาเพียบ SD CARD ไหลได้หรอกนะ... คุณสมบัติเด่นๆ ก็คือ การยิง นอกจากนี้มันยังเป็น SDHC Class 10 ที่ มี คุ ณ สมบัติท างด้ า น สัญญาณแฟลชแบบถ่ายภาพต่อเนือง ่ ความเร็วในการอ่านข้อมูลสูงสุดถึง ได้เร็วถึง 14.5 ภาพต่อวินาที ช่อง 24 MB/Sec. และเขียนข้อมูลสูงสุด ความถี่ สั ญ ญาณถึ ง 32 ช่ อ ง ได้ถึง 21 MB/Sec. เลยด้วย ครอบคลมพนทสงสญญาณไดไกลถง ุ ื้ ี่ ่ ั ้ ึ ...หล่อด้วยอึดด้วย ซักตัว 500 เมตร แบ่งโซนควบคุมได้ 4 ดีมั๊ยล่ะนั่น? โซน และมีจอ LCD เพือความสะดวก ่ สบายยิ่งขึ้นในการปรับตั้งค่าต่างๆ แบบดิจิตอล ส�ำคัญก็คอหน้าตาทีดหรูหรา ื ่ ู ไฮโซซะไม่มี ใช้เป็นไม่เป็นไม่รู้ รูแต่้ ว่ากล้องนายหล่อมากกกก GO TO SITE GO TO SITE 8 Issue# 1 March 2012 9
  • 6. Photo Gear Photo Gear เทคโนโลยีอุปกรณ์ Tablet คงจะยังอยู่ในเขต 808 PureView ของความก้าวหน้าไปอีกนานดังจะเห็นได้จาก ค่ายนู้นค่ายนี้ที่พากันเปิดตัวด้วยลูกเด็ดเม็ด พรายที่ขนออกมายั่วกิเลสกันไม่หยุด ASUS ก็จดการเปิดตัว Transformer Pad ั คงไม่มีใครคิดว่าโทรศัพท์มือถือจะกลายเป็นกล้อง Infinity ทีดราวกับเป็นโน๊ตบุคแต่มนสามารถแยก ่ ู ๊ ั ถ่ายภาพบ้าพลังได้ขนาดนี้ แต่ Nokia ได้ท�ำไปแล้ว ร่างออกมาเป็น Tablet ได้ หน้าจอของมันนั้น กับ 808 PureView ที่ติดตั้งเซนเซอร์รับภาพความ ASUS ยืนยันว่าเป็นตัวทีดทสดในตลาดขณะนีดวย ่ ี ี่ ุ ้ ้ ละเอียดสูงถึง 41 ล้านพิกเซลลงในโทรศัพท์มือถือ Transformer Pad จอแบบ Super IPS ความละเอียด 1920x1200px ตัวเล็กๆ Infinity ท�ำงานด้วยซีพียู Dual-core 1.5 GHz จาก Qual- เทคนิคของมันคือการรวมเจ็ดพิกเซลให้เป็น comm และ Quad-core 1.6 GHz จาก nVidia พิกเซลเดียวแล้วดาวน์แซมปลิงภาพลงมาเหลือ 5MP และใช้ระบบปฏิบตการ Android 4.0 (Ice Cream ั ิ ซึ่ ง การท� ำ อย ่ า งนี้ จ ะท� ำ ให ้ Sandwich) คุณภาพของภาพสูงมากแต่ มีกล้องติดตั้งมาให้ใช้งานสอง ยั ง เหมาะกั บ การรั บ ส ่ ง หรื อ ตัว กล้องหน้าความละเอียด บันทึกข้อมูล นอกจากนี้มัน 2MP และกล้องหลัง ที่มีเลนส์ ยังช่วยในเรื่องการลดปัญหา 5 ชิ้น ความละเอียด 8MP Noise ได้อย่างดีเยี่ยม พร้อมพอร์ต Micro HDMI และ ที่ส�ำคัญ มันใช้เลนส์ สามารถเสียบ SD Card ได้ดวย ้ Carl Zeiss ให้สมกับความ อหั งการเรื่ อ งการถ ่ ายภาพ GO TO SITE ความละเอียดสะใจนี้ด้วย GO TO SITE 10 Issue# 1 March 2012 11
  • 7. Photo Gear Photo Gear Adobe Photoshop Touch for iPad Adobe Photoshop Touch เป็น App ที่ออกมาวาดลวดลายไป Edge จาก Photoshop แล้วพัฒนาต่อ ซึ่งมันจะช่วยให้เราท�ำ ก่อนหน้านี้แล้วด้วยเวอร์ชั่นบน Android และคราวนี้ก็จะเป็นคิว ได-คัทวัตถุได้ง่ายขึ้นจากปลายนิ้วแท้ๆ ของเราเอง ของ iPad บ้างล่ะ สนนราคาค่าตัวในขณะนีกคอ 6.99 ยูโร ใครสนใจเชิญ ้ ็ ื Photoshop Touch ยังคงคุณสมบัติหลายอย่างจาก Pho- ได้ที่ iTune Store แต่เฉพาะ iPad 2 ที่ใช้ iOS 5 เท่านั้นนะ toshop เวอร์ชนเดสก์ทอปเอาไว้ เช่นการท�ำงานแบบ Layer และ ั่ ต�่ำกว่านั้นลงมาเป็นอันว่าหมดสิทธิ์ การปรั บ ค่ า ต่ า งๆ ของ ภาพถ่ายตามปกติที่ Photo- shop ท�ำได้ มันยังมีฟลเตอร์ ิ เพื่อสร้าง Effect ต่างๆ ให้ กับภาพได้เหมือนกันด้วย แตทตางออกไปและมี ่ ี่ ่ เฉพาะบนเวอร์ชั่น Tablet ก็ คือ Scribbling Selection ที่ เหมาะกับการ Select โดย ใช้นิ้วแตะแล้วลากบนหน้า จอ มันคือการพัฒนาต่อยอด มาจากคุ ณ สมบั ติ Refine GO TO SITE 12 Issue# 1 March 2012 13
  • 8. Noob Space EPISODE 1 รื่องราวที่เราก�ำลังจะมาพูดคุยกันต่อไปนี้ เป็นเรื่องภาพ รวมโดยพื้นฐานของการถ่ายภาพด้วยกล้อง ไม่ว่ามันจะ เป็นกล้องที่อยู่ในโทรศัพท์ กล้องตัวเล็กตัวใหญ่ กล้อง เทพกล้องมารอะไรก็ตามที ล้วนมีพื้นฐานอยู่กับสิ่งนี้เป็นส�ำคัญ ต้องจ�ำเอาไว้ก่อนว่า นี่คือเรื่องพื้นฐานโดยภาพรวม ซึ่งจริงๆ แล้วมันก็ยังคงมีรายละเอียดปลีกย่อยอีกเยอะแยะที่ต้องค�ำนึงถึงด้วย แต่ในฐานะของมือใหม่ เราต้องเข้าใจกับเรื่องนี้ก่อน เพราะถ้า ท�ำความเข้าใจเรื่องรายละเอียดหลายแหล่ไปพร้อมๆ กัน มันคงจะ เอียนไม่ใช่น้อยเลยทีเดียวเชียว ก็เหมือนกับการหัดว่ายน�้ำ เราต้องเรียนรู้เรื่องการลอยตัว หรือเตะขาก่อน เราคงยังไม่ต้องศึกษาเรื่องการว่ายท่าผีเสื้ออย่างถูก สุขลักษณะตั้งแต่ขั้นตอนแรกหรอก...จริงมั๊ยล่ะ? ถ้ารู้ตัวว่าเป็นมือใหม่ที่ต้องการเข้าใกล้กับความเป็นเซียน ก็ เขยิบเข้ามาเรียนรู้ไปพร้อมๆ กันต่อจากนี้เลย... 14 Issue# 1 March 2012 15
  • 9. อย่างแรกที่สุดที่เราต้องจ�ำเอาไว้เสมอก็คือ เข้ามากเกินไปภาพก็จะสว่าง หรือภาษาทางนี้ เอาล่ะ...ทีนี้เมื่อเรารู้ว่าต้องมีการควบคุม “แสง” แสงที่เรารู้ว่ามันสว่างหรือมืดนี่แหละเป็น จะเรียกว่า “โอเวอร์” (โดยทางการคือ Over ปริมาณแสงดังว่า ก็ถึงเวลาที่เราต้องรู้แล้วว่า ตัวการตั้งต้นอันส�ำคัญที่สุดที่กล้องจ�ำเป็นต้องใช้ Exposure) ส่วนถ้าแสงน้อยเกินไปภาพก็จะ “กล้องถ่ายภาพ” ของเราต้องมีอุปกรณ์หรือชิ้น เพื่อสร้างเป็นภาพถ่ายขึ้นมา ไม่มีแสงก็ไม่มี มืดที่เรียกว่า “อันเดอร์” (มาจาก Under ส่วนเพื่อการควบคุมปริมาณแสงที่จะปรากฏแก่ ภาพถ่ายเกิดขึ้นได้แน่ๆ บางคนอาจจะแอบเถียง Exposure) และถ้าแสงก�ำลังพอดีก็จะออกมา กล้องด้วย จะให้เข้าได้มากหรือเข้าได้น้อยก็อยู่ ว่าเคยถ่ายภาพตอนมืดตื๋อก็ยังได้ภาพเลย แค่ เป็นภาพแจ่มๆ ที่เราชื่นชอบนั่นเอง ที่ “ประตูควบคุม” เหล่านี้เป็นส�ำคัญ เปิดแฟลชช่วยเท่านั้นเอง ปัญหามันอยู่ที่ว่า “พอดี” น่ะคือยังไง? ...จ�ำสามอย่างนี้เอาไว้ให้ดี ...แล้วแฟลชไม่ใช่แสงหรือ? ค�ำว่าพอดีในที่นี้ไม่ได้หมายความว่าทุกอย่าง • รูรับแสง (Aperture) ต้องสว่างสดใสเห็นได้ชัดเจน พอดีหมายถึง • ความไวชัตเตอร์ (Shutter Speed) แสงจะเดินทางไปตกกระทบกับชิ้นส่วน สร้างเป็นภาพได้ตามที่เราพอใจ ภาพอาจจะ • ค่าความไวแสง (ISO Speed) บางอย่างในกล้องถ่ายภาพที่ปัจจุบันนี้เรียกว่า ออกมามืดนิดหน่อยเพราะเราต้องการสื่อถึง อะไรกัน? กล้องในโทรศัพท์มือถือที่ใหญ่ “เซนเซอร์รับภาพ” ซึ่งเจ้าอุปกรณ์ชุดนี้จะท�ำ ความลึกลับ ภาพอาจจะออกมาสว่างขาวจ้า กว่าลูกตามดหน่อยเดียวก็มีของพวกนี้อยู่ด้วย หน้าที่ในการแปลงข้อมูลจากแสงไปเป็นไฟล์ภาพ เพราะเราอยากสื่อถึงสรวงสวรรค์ ฯลฯ อะไร หรือ? มีแน่นอนเพราะมันก็ต้องควบคุม ดิจิตอลออกมาให้เราในขั้นตอนสุดท้าย อย่างนี้ก็เป็นได้ ปริมาณแสงด้วยเหมือนกัน เพียงแต่ความ ใช่ว่าอยู่ดีๆ แสงก็จะวิ่งสว่างวาบเข้าไปหา ...ดังนั้น “พอดี” มันจึงขึ้นอยู่กับคน สามารถ วิธีการ หรือขนาดของมันก็จะแตก เซนเซอร์ได้เลย กล้องต้องท�ำการควบคุมปริมาณ ถ่ายภาพเป็นส�ำคัญที่สุด ไม่มีกฏตายตัวแต่ ต่างกันออกไปด้วย แสงที่จะวิ่งเข้าไปหาเซนเซอร์รับภาพด้วย ถ้าแสง อย่างใด 16 Issue# 1 March 2012 17
  • 10. นอกจากจะท�ำหน้าที่ในการควบคุมปริมาณ แสงแล้ว แต่ละปัจจัยยังส่งผลที่แตกต่างกันให้เกิด ขึ้นในภาพถ่ายด้วย ช่างภาพผู้เชี่ยวชาญรู้และใช้ ประโยชน์จากคุณสมบัติทั้งสามอย่างนี้ได้มากกว่าแค่ ควบคุมปริมาณแสง เขาอาจจะบันดาลภาพน�้ำตกที่ สวยงามได้ต่างจากมือใหม่ ถ่ายภาพท้องถนนยาม ค�่ำคืนได้ราวกับภาพในอุดมคติ ถ่ายภาพการแข่งรถ ได้น่าตื่นตาตื่นใจจนเราคิดว่าชาตินี้คงไม่สามารถ ท�ำได้ ...ขอบอกว่ามือใหม่อย่างเราก็พัฒนาไปจนถึง จุดเหล่านั้นได้ด้วยเหมือนกัน เพียงแค่ท�ำความ เข้าใจกับทั้งสามอย่างนี้ให้ดีเท่านั้นเอง เราจะไม่พิจารณาเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง เท่านั้น แต่จะต้องคิดถึงปัจจัยทั้งสามอย่างเข้าด้วย กันเสมอ เพราะต่างก็ต้องเอื้อคุณสมบัติซึ่งกันและ กันอยู่ตลอดเวลา ตัวนู้นเป็นหลักตัวนี้เป็นรอง หรือ สองตัวนั้นเป็นหลักแล้วที่เหลือเป็นรอง ฯลฯ ก็ขึ้นอยู่ กับแต่ละสถานการณ์การถ่ายภาพเป็นส�ำคัญ ...พูดไปท�ำไมมี? มาดูทั้งสามอย่างที่ว่านี้กัน เลยดีกว่า >>> 18 Issue# 1 March 2012 19
  • 11. ส่วนภาพที่ชัดไปทั้งภาพในทุกระยะ ไม่มีตรง ไหนที่เบลอเลย อันนั้นก็จะเรียก “ชัดลึก” จากตัวอย่างข้างบน F2.8 ยอมให้แสงผ่านเข้า มันคือประตูด่านแรกที่จะปล่อยให้แสงเข้าสู่ภายใน ได้มากกว่า F16 ก็จริง แต่ F16 จะให้ภาพที่ “ชัดลึก” กล้อง ลักษณะของมันจะเป็นกลีบซ้อนกันเป็นรูปวงกลม มากกว่า ส่วน F2.8 ก็จะให้ภาพแบบ “ชัดตื้น” ที่สามารถย่อหรือขยายขนาดช่องว่างตรงกลางเพื่อยอม นั่นเอง ให้แสงผ่านได้ โดยปกติแล้วมันจะต้องอยู่ที่ตัวเลนส์ตรง แล้วแบบไหนดีกว่ากันล่ะ? F2.8 น่าจะดีกว่าสิ ไหนสักตรงนึงนั่นแหละ เพราะแสงเข้าได้มากกว่าก็ต้องสว่างกว่า จริงมั๊ย? ขนาดของช่องว่างตรงกลาง (รู) ก็คือปัจจัยในการ (ถ่ายภาพคนได้สวยด้วย) ควบคุมปริมาณแสง รูกว้างมากแสงก็ผ่านเข้ามาได้มาก ก็ไม่จริงเสมอไปนะ เพราะบางครั้งเราก็ต้องการ รูแคบลงแสงก็จะผ่านเข้ามาได้น้อยลงด้วย ถ่ายภาพแบบชัดลึกเหมือนกัน อย่างเช่นภาพสถานที่ • รูรับแสง (Aperture) ขนาดของช่อง (หรือรู) จะก�ำหนดเป็นสัญลักษณ์ ท่องเที่ยว เราก็คงอยากได้ภาพตัวแบบพร้อมสถานที่ ทางตัวเลขร่วมกับตัวอักษร “F” มือใหม่ต้องจ�ำเอาไว้ให้ดี ซึ่งชัดทั้งคู่ด้วยใช่มั๊ยล่ะ? หรือถ้าไปรับจ้างถ่ายภาพ ว่า ยิ่งตัวเลขที่ก�ำกับนั้นมีจ�ำนวนน้อย รูรับแสงก็จะยิ่ง บ้าน ใครที่ไหนจะอยากได้ภาพที่ชัดเฉพาะตรง กว้าง แสงจะยิ่งเข้าได้มาก ในทางกลับกัน ถ้าตัวเลขที่ หน้าต่างหรือประตูรั้วกันล่ะ...จริงมั๊ย? ก�ำกับนั้นมีจ�ำนวนมาก รูรับแสงก็จะยิ่งแคบ แสงก็จะ นั่นแหละ...รูรับแสงแคบๆ ที่ยอมให้แสงผ่านได้ เข้าได้น้อยด้วย น้อยมันก็จะได้เรื่องได้ราวตรงนี้นั่นเอง ภาพสว่าง & ภาพมืดนั่นเอง... อ้อ! แถมให้อีกอย่าง รูรับแสงแคบยังให้ผลเรื่อง ยกตัวอย่าง F2.8 จะมีขนาดช่องว่างใหญ่กว่า F16 ของดวงไฟประกายแฉกอีกด้วยนะ คงจะเคยเห็นกัน F2.8 ก็เลยยอมให้แสงผ่านเข้ามาได้มากกว่าด้วย มาบ้างแล้ว แต่ท�ำยังไง? อันนี้เอาไว้คุยกันทีหลัง คุณสมบัติเฉพาะตัวของรูรับแสงไม่ได้มีแค่นี้ มัน หน้าที่ของเราตอนนี้ก็คือเรื่องของชัดลึกชัดตื้น แสง จะบันดาลลักษณะทางภาพถ่ายที่เรียกกันว่า “ชัดลึก” มากแสงน้อย ส�ำหรับผู้ควบคุมที่เรียกว่า “รูรับแสง” นี้ และ “ชัดตื้น” ให้ปรากฏในภาพได้ด้วย คงเคยเห็นภาพ ให้ดีเสียก่อน ถ่ายสาวๆ สวยหวานที่ด้านหลังเบลอๆ แล้วตัวแบบชัด ลองดูจากตัวอย่างได้เลย... แล้วเดี๋ยวมาว่ากัน เปรี๊ยะกันมั๊ย? นั่นแหละ “ชัดตื้น” ต่อไป >>> 20 Issue# 1 March 2012 21
  • 12. 22 Issue# 1 March 2012 23
  • 13. สัญลักษณ์อย่างหนึ่งของกล้องถ่ายภาพก็คือ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนก็คือ ภาพน�้ำตกที่ไหลเป็น เสียงแช๊ะๆ ซึ่งมันก็คือเสียงจากกลไกภายในที่เรียก เส้นสายสวยงาม ภาพท้องถนนยามค�่ำคืนที่ไฟหน้า ว่า “ชุดชัตเตอร์” นี่แหละ (อันนี้เฉพาะกล้องที่มี รถยาวเป็นทาง ฯลฯ...นั่นแหละ ฝีมือของเขาล่ะ นะ) มันจะมีลักษณะเหมือนประตูอยู่หน้าเซนเซอร์ ความไวชัตเตอร์มีหน่วยเป็นวินาที ยิ่งความไว รับภาพ เมื่อแสงวิ่งผ่านรูรับแสงเข้ามา เจ้าชัตเตอร์ สูงก็ยิ่งหยุดการเคลื่อนไหวได้นิ่งสนิท แต่แสงก็จะ • ความไวชัตเตอร์ (Shutter Speed) นี้ก็จะเปิดให้แสงเข้าไปสู่ เซนเซอร์รับภาพ จากนั้นก็ปิดตัว เข้าได้น้อยตามไปด้วย ในทางกลับกัน ความไวที่ต�่ำ อาจจะได้ปริมาณแสงมาก แต่ภาพก็จะไม่นิ่งสนิท ลงเพื่อกั้นไม่ให้แสงอื่นๆ ตามหลังเข้าไป รวมทั้งอาการสั่นไหวของมือเราเองประกอบกับ ยิ่งชัตเตอร์เปิด-ปิดอย่างรวดเร็ว แสงก็จะเข้า ชัตเตอร์ช้าก็จะท�ำให้ภาพเบลอได้ ได้น้อย แต่ถ้าเปิดและปิดช้าแสงก็จะเข้าได้มาก อ้าว!...ถ้าอย่างนี้จะไปใช้ชัตเตอร์ช้าๆ ท�ำไม ลองนึกภาพประตูกั้นน�้ำดู...ยังไงยังงั้น กันล่ะ? ก็ถ้าอยากได้ภาพน�้ำตกสวยๆ ไหลเป็นสาย คุณสมบัติเฉพาะตัวของชัตเตอร์ก็คือ การ จะใช้ความไวสูงๆ แล้วหยุดน�้ำเป็นเม็ดๆ มันจะสวย หยุดการเคลื่อนไหวในภาพ หรือแสดงอาการ หรือ? เคลื่อนไหวในภาพ ถ้าหากมันเปิดและปิดอย่าง หน่วยที่ว่านั้นก็เช่น 1/1000 วินาที จะมี รวดเร็วก็จะเป็นการหยุดภาพให้นิ่งสนิท ความไวสูงกว่า 1/125 วินาที, 1 วินาที จะเปิดรับ อย่างเช่นภาพถ่ายกีฬาต่างๆ ที่เรามัก แสงนานกว่า 1/60 วินาที อย่างนี้เป็นต้น จะได้เห็นกัน หรือหยดน�้ำที่ค้างอยู่กับ ...ลองเล่นดูจากตัวอย่างเพื่อท�ำความเข้าใจกับ ที่กลางอากาศ ฯลฯ ประมาณนั้น ความไวชัตเตอร์ แล้วเราจะมาลุยต่อที่ปัจจัยสุดท้าย แต่ถ้ามันเปิดแล้วปิดอย่างช้าๆ กัน >>> มันก็จะบันทึกความเคลื่อนไหวไปแบบ ต่อเนื่องจนกว่ามันจะปิดตัวลง 24 Issue# 1 March 2012 25
  • 14. 26 Issue# 1 March 2012 27
  • 15. ปัจจัยตัวนี้จะต่างออกไปหน่อย เพราะมัน แต่เดี๋ยวก่อน! ไม่ใช่ว่ามันจะดีและเก่งกาจ ไม่ได้มีหน้าที่ในการควบคุมปริมาณแสงที่จะ อย่างที่หวังเอาไว้ ข้อเสียของการขยายสัญญาณหรือ ตกกระทบถึงเซนเซอร์รับภาพโดยตรง แต่มันจะ ปรับค่า ISO ขึ้นไปสูงๆ ก็จะเกิดผลกระทบแย่ๆ • ค่าความไวแสง (ISO Speed) ท�ำหน้าที่เป็นตัว “ขยาย” สัญญาณจากแสงให้ ตามมาด้วย นั่นก็คือสัญญาณทางไฟฟ้าที่ว่านั้นไม่ใช่ เด่นชัดมากขึ้นโดยการท�ำงานทางสัญญาณ มีแต่สัญญาณแสงเพียงอย่างเดียวที่จะถูกขยายขึ้น ไฟฟ้า แสงจะเข้ามาน้อยจากปัจจัยอื่นๆ ก็ใช้ มา สัญญาณรบกวนอันน้อยนิดที่แฝงอยู่ในนั้นก็จะ ISO นี่แหละขยายมันให้เด่นชัดมากขึ้น ก็ ถูกขยายตามมาด้วย ท�ำให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียก เหมือนกับที่เราปรับ Volume ในเครื่องเสียงนั่น ว่า “Noise” หรือจุดรบกวนขึ้นในภาพ แหละ ยิ่งปรับเพิ่มมากมันก็ยังดังมากขึ้นใช่ไหม ก็เหมือนกับที่เราเร่ง Volume ขึ้นมานั่นแหละ ล่ะ? มันดังมากขึ้นก็จริง แต่เราก็จะได้ยินเสียงซ่าๆ อัน ยกตัวอย่างเช่น เราจะถ่ายภาพรถวิ่งให้นิ่ง เป็นสัญญาณรบกวนมากขึ้นด้วย...ใช่มั๊ยล่ะ? สนิทแต่ต้องการภาพชัดลึกด้วย เราก็เลือกใช้ ดังนั้นค่า ISO จึงมักจะถูกปรับเอาไว้ที่ สปีดชัตเตอร์ 1/1000 ปรับรูรับแสงไปที่ F16 ระดับต�่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้เพื่อรักษาคุณภาพ เพื่อให้มันชัดลึกมากๆ แต่ทั้งสองปัจจัยนั้นก็จะ ของภาพถ่ายให้เนียนใส แต่ถ้ามันจ�ำเป็นก็ต้องเพิ่ม ท�ำให้แสงเข้ามาถึงเซนเซอร์รับภาพน้อยลงจน ค่า ISO ขึ้นไปสูงๆ เพราะบางครั้งการได้ภาพที่เต็ม ท�ำให้ภาพค่อนข้างมืด เราก็จัดการปรับค่าความ ไปด้วยจุดรบกวนก็ยังดีกว่าไม่ได้ภาพมาแต่อย่างใด ไวแสงหรือ ISO นี่แหละให้มันสูงขึ้น แสงที่เข้า เลย มาน้อยนิดก็จะถูกขยายทางสัญญาณไฟฟ้าเป็น UFO บินมาอยู่ตรงหน้าตอนกลางคืน จะ ภาพถ่ายที่มองเห็นอะไรๆ ได้มากขึ้นนั่นเอง บอกว่าไม่ถ่ายดีกว่า เพราะเดี๋ยวมีแต่ Noise เต็ม ไปหมด...ก็คงไม่ใช่อยู่ดี...จริงมั๊ย? 28 Issue# 1 March 2012 29
  • 16. 30 Issue# 1 March 2012 31
  • 17. จากทั้งสามปัจจัยที่เราท�ำความรู้จักกันนี้ กล้องถ่ายภาพเป็นแค่เครื่องมือตัวหนึ่งที่ไม่ได้ มันจะต้องถูกน�ำมาพิจารณาร่วมกันในการถ่าย เข้าใจความต้องการในใจของเราแต่อย่างใด ภาพแต่ละสถานการณ์ว่าเราอยากได้ภาพแบบ เลย มันแค่รอรับค�ำสั่งจากเราว่าต้องท�ำอย่าง ไหน? และต้องเลือกปรับใช้ค่าแต่ละค่า นั้นอย่างนี้ต่างหาก อย่างไรจึงจะเหมาะสม จากตัวอย่างที่ผ่านมา ส่วนกรณีที่มันท�ำงานร่วมกับเรา หรือ เราแค่ลองเล่นในแต่ละปัจจัยโดยที่ยังไม่ได้เอา บางทีเราแทบไม่ต้องท�ำอะไรเลย (แค่เอานิ้ว ทั้งสามอย่างเข้ามาร่วมกัน แต่คราวนี้ต้องลอง กดปุ่มถ่ายภาพเท่านั้น) อันนั้นก็เรียกว่าการ พิจารณาทั้งสามอย่างไปพร้อมๆ กันดูแล้วล่ะ ถ่ายภาพแบบทั่วๆ ไปที่ไม่ต้องคิดอะไรมากนัก เพราะเมื่อถ่ายภาพจริงๆ เราก็ต้องท�ำแบบนี้ (กล้องถ่ายภาพบางชนิดก็เป็นอย่างนั้น ห้าม อยู่เสมอ คิดอะไร ถ่ายอย่างเดียวพอ) ทุกอย่างระบบ ศึกษาวิธีการปรับตั้งค่าต่างๆ ของทั้ง คอมพิวเตอร์ที่มีการโปรแกรมมาไว้แล้วของ สามปัจจัยได้จากคู่มือที่มาพร้อมกับกล้อง กล้องจะท�ำให้หมด ซึ่งเราก็จะคาดหวังไม่ได้ ของเรา หรือหาใครสักคนที่เข้าใจเรื่องนี้แล้ว เลยว่ามันจะท�ำอะไรออกมาให้ ที่ได้ก็คือได้ ลองสอบถามเขาดู ถ้าหากคุณลงทุนกับกล้อง ภาพแน่ๆ แต่ผลจะเป็นอย่างที่ต้องการมั๊ย? ที่สามารถท�ำอะไรได้มากกว่าแค่กดปุ่ม อันนี้ไม่รู้ล่ะ ชัตเตอร์ ก็ควรจะลองใช้มันให้คุ้ม ใช้มันให้ได้ มากกว่าแค่ยกเล็งแล้วจากนั้นก็ไม่ต้องคิดอะไร ลองดูกับกล้องจริงๆ แล้วเราจะ อีกเลย... ได้ประสบการณ์เยอะกว่านี้มาก แรกๆ ถ้าจะฝึกจริงๆ จังๆ ขอแนะน�ำให้ใช้ อาจจะยัง งงๆ นิ ด หน ่ อ ย แต ่ เ มื่อ เริ่ ม โหมด “M” หรือ Manual ซึ่งจะท�ำให้เรา ช�ำนาญมากขึนแล้วอะไรๆ ก็ดจะสังได้ไป ้ ู ่ ปรับตั้งค่าต่างๆ ได้อย่างอิสระ ลองหาดูซิว่า หมด...อย่าได้กลัว โหมด M ที่ว่านี้อยู่ตรงไหน? ...ไม่มใครท�ำเรืองนีเป็นมาตังแต่ ี ่ ้ ้ เกิด แต่เมือเกิดมาแล้วก็ควรจะท�ำให้ได้ ่ ทั้งสามปัจจัยเป็นสิ่งที่ปฏิเสธไม่ได้เลย สิ...จริงมั๊ย? ในการถ่ายภาพแต่ละครั้ง หากเราต้องการ เป็นเซียนก็ควรที่จะต้องเข้าใจมันให้ดี เพราะ 32 Issue# 1 March 2012 33
  • 18. Composition Adventure ปิยะฉัตร แกหลง ปัญหาใหญ่ยงอย่างหนึงของคนถ่ายภาพทังมือ ิ่ ่ ้ เก่าและมือใหม่ที่ผมมักจะได้ยินอยู่เสมอๆ ก็ คือเรื่องของ “การจัดวางองค์ประกอบภาพ” ผมจะพาทุกท่านเข้าไปเรียนรู้เรื่องการ ครับ ไม่ว่าจะไปทางไหนก็ต้องได้ยินหัวข้อนี้ จัดวางองค์ประกอบส�ำหรับภาพถ่ายครับ ตังใจ้ อยู่ทั่วไปหมด ซึ่งผู้คนหลังกล้องส่วนใหญ่มัก จริงๆ ว่าอยากจะให้เราถ่ายภาพสวยๆ ประดับ จะไม่เข้าใจว่ามันคืออะไร? และต้องท�ำตัวยัง วงการกันได้ทุกคน เพราะนอกจากเรื่องของ ไงต่อเรื่องนี้? บ้างก็ให้ความส�ำคัญต่อเรื่องนี้ แสงและเรื่องราวหรือเทคนิคแล้ว การจัดวาง แต่ไม่รจริงๆ ว่าวิธทเขาท�ำกันน่ะมันคือยังไง? ู้ ี ี่ องค์ประกอบภาพก็ส�ำคัญไม่น้อยหน้ากันเลย เผลอๆ มันยังจะเป็นหัวข้อใหญ่ที่ควบคุมเรื่อง ...มันไม่มีวิธีท�ำหรอกครับ แต่มันมีวิธีเรียนรู้ อื่นๆ เอาไว้อีกทีเสียด้วยซ�้ำไป และฝึกฝนอยู่ ซึ่งผมเชื่อว่าถ้าเราใส่ใจจริงๆ ละ ก็ เป็นท�ำได้ทกคนแหละ มากบ้างน้อยบ้างก็สด ภาพบางภาพบางทีก็ไม่มีอะไร แต่ด้วย ุ ุ แท้แต่ความขยันของแต่ละคนละนะ... การจัดวางองค์ประกอบภาพ การเลือกใช้มุม กล้องที่เหมาะสมก็ท�ำให้มันกลายเป็นเรื่องขึ้น มาได้เหมือนกันนะ...นีแหละครับ พลังของการ ่ จัดวางองค์ประกอบภาพล่ะ 34 Issue# 1 March 2012 35
  • 19. Composition Adventure ลองมาดูหวข้อแรกอันเป็นพืนฐานกันก่อนเลย ั ้ ครับ เรื่องที่ผมพยายามจะให้มันเป็นเรื่องขึ้นมาให้ ได้ก็คือ “น�้ำหนัก” ซึ่งไม่ใช่น�้ำหนักตัวของคนถ่าย ภาพนะ แต่เป็นการจัดวางน�้ำหนักสิ่งของประดามีที่ การถายภาพเปนอะไรทไมเหมอนกบงานศลปะ ่ ็ ี่ ่ ื ั ิ จะปรากฏอยู่ในพื้นที่ภาพถ่ายของเรานี่แหละ แขนงอืนๆ ตรงทีวา แค่เราขยับต�ำแหน่งนิดเดียวก็ได้ ่ ่่ ภาพที่เปลี่ยนไปแล้ว ดังนั้นการจัดวางองค์ประกอบ ก่อนอื่นเราต้องท�ำความเข้าใจเสียก่อนว่า ให้กับภาพจึงขึ้นอยู่กับท่อนขาและหัวสมองของเรา ภาพถ่ายของเรานั้นจะมีพื้นที่อันจ�ำกัดอยู่ภายใน เป็นส�ำคัญครับ คนหมูมากทีมกล้องอยู่ ่ ่ ี กรอบสี่เหลี่ยม มันไม่ได้ต่อเนื่องออกไปได้เรื่อยๆ ด้านหน้ามักจะเดินไปถึงจุดๆ หนึงแล้ว ่ เหมือนกับที่เรากวาดตามองหรือเดินไปดูทางนู้นที ร้องอุทานมาว่า พระเจ้ายอดมันจอร์จ ทางนี้ที และในเมื่อมันอยู่ภายใต้พื้นที่จ�ำกัด มันจึง โคตรๆ แล้วก็ยกกล้องขึ้นกดโดยที่ขา ต้องอาศัยการจัดวางต�ำแหน่งของสิ่งต่างๆ ที่จะ ตายอยูกบทีอย่างนัน ภาพมันก็ออกมา ่ ั ่ ้ ปรากฏอยูในภาพ อันนีควรจะอยูตรงนัน อันนันควร ่ ้ ่ ้ ้ อย่างนั้นแหละครับ เสร็จแล้วก็ท�ำหน้า จะอยู่ตรงนี้ ส่วนไอ้หมอนี่ควรจะหายไป ฯลฯ อะไร งงว่ า ท� ำ ไมมั น ไม่ ส วยอย่ า งที่ ต าเห็ น ประมาณนั้น (วะ) ไปหามุมอืนดีกว่า แล้วก็เดินฉับๆ ่ ต่อไป ถึงตรงไหนก็ขาตายคาทีกดชัตเตอร์อยูตรงนัน ่ ่ ้ แล้วก็อีหรอบเดิม...กล้องตัวนี้มันไม่ดีแหงๆ ลองสงเกตดสกนดครบ ชางภาพแถวๆ นนบาง ั ู ั ิ ั ่ ั้ คนไม่ท�ำอย่างนั้นหรอก เล็งแล้วเล็งอีก ย่อตัว นอน 36 Issue# 1 March 2012 37
  • 20. Composition Adventure ราบไปกับพื้น ปีนต้นไม้ หรือท�ำอะไรประหลาดๆ ที่ “น�ำหนัก” คือสิงส�ำคัญส�ำหรับการจัดวางวัตถุ ้ ่ มนุษย์มนาเขาไม่ท�ำกัน นั่นก็เพราะเขาก�ำลังเล็ง ในภาพครับ ทุกเรื่องในจักรวาลนี้มีเรื่องใหญ่อยู่เรื่อง เหลี่ ย มเล็ ง มุ ม เพื่ อ จั ด การกั บ องค ์ ป ระกอบภาพนี่ หนึ่งก็คือการรักษาสมดุล ภาพถ่ายในกรอบสีเหลี่ยม ่ แหละ แล้วเขาก็ได้ภาพไปในแบบทีเราได้แต่นงร�ำพึง ่ ั่ ของเราเองก็เหมือนกันทีตองมีการรักษาสมดุลให้กบ ่ ้ ั ว่าสวยโคตรๆ มันไปถ่ายตรงไหนของมันเนี่ย? ภาพ...สมดุลเป็นใครมาจากไหน แล้วมันป่วยเหรอถึง ได้ต้องไปรักษามันน่ะ? รูมยครับว่าอย่างหนึงทีตางออกไประหว่างชาว ้ ั๊ ่ ่ ่ บ้านกับมืออาชีพคืออะไร? ชาวบ้านจะมองอะไรต่อ ภาพที่เสียสมดุลก็คือภาพที่ป่วยนั่นแหละครับ อะไรไปเรือยเฉือย อันนันสวย อ่ะ กดซะหน่อย โอ๊ะ! ่ ่ ้ หากเรารักษาความสมดุลในเรืองของน�ำหนักเอาไว้ไม่ ่ ้ อันนี้ก็ดี กดซะสิเรา ก็คือการมองภาพกว้างๆ นั่น ได้ ภาพของเราก็จะดูหนักไปด้านใดด้านหนึ่งทันที ที่ แหละครับ แต่พวกมืออาชีพจะไม่มองกันแบบนี้ เขา แย่ก็คือบางภาพเข้าขั้นโคม่าคือหนักกระจัดกระจาย จะมองแล้ ว พิ จ ารณาดู ว ่ า ถ้ า มั น ต้ อ งอยู ่ ใ นกรอบ ทั่วไปหมด หาจุดพักพิงสายตาไม่ได้เลยก็มี และผม สีเหลียมมันจะเป็นยังไง? มันจะน่าดูมย? มันควรจะ ่ ่ ั๊ คิดว่าเป็นส่วนใหญ่ซะด้วยนะ อยูมมไหนถึงจะดี? บางคนนีมองไปด้วยพร้อมกับวัด ่ ุ ่ แสงไปด้วยเลยนะครับท�ำเป็นเล่นไป หรือบางคนก็ ยกนิ้วโป้งกับนิ้วชี้จากมือทั้งสองข้างเพื่อมาท�ำเป็นก รอบภาพเอาไว้เล็งดูพื้นที่ อันนั้นก็เบสิคดีเหมือนกัน มันก็เป็นไปเพื่อเรื่องนี้แหละ ตัวอย่างที่เบสิคสุดๆ และผมคิดว่าทุกคนเคย ท�ำมาแล้วด้วยหัวใจทีเรียกร้องความปลอดภัยไว้กอน ่ ่ ไม่อยากเป็นชาวบ้านธรรมดาเหรอครับ? งัน้ ก็คือ การถ่ายภาพโดยให้วัตถุที่เราจะถ่ายนั้นอยู่ตรง จงมาศึกษาเรื่องของการจัดวางองค์ประกอบภาพ กลางพอดีเป๊ะ! ใช่แล้วครับ สิงส�ำคัญอยูตรงกลางนัน ่ ่ ้ แต่โดยดีเสียเถิด... ย่อมปลอดภัยในเรื่องของการจัดวางน�้ำหนักในภาพ แน่ๆ 38 Issue# 1 March 2012 39
  • 21. Composition Adventure ถ้าโลกนี้มีวิธีการเพื่อความปลอดภัยในเรื่อง ตวอวนละ ตรจะทำยงไง? จะไปหากอนหนใหญยกษเพอ ั ้ ่ ู � ั ้ ิ ่ ั ์ ื่ ของน�้ำหนักอยู่วิธีเดียวคือให้ทุกอย่างอยู่ตรงกลาง ถ่วงน�้ำหนักคุณเธอได้ที่ไหน? เราก็คงไม่มีกระเป๋าเสื้ออยู่ด้านซ้าย (ส�ำหรับเรื่องนี้ เห็นทีโดราเอมอนคงจะปลอดภัยที่สุด) นักฟุตบอล ...คงไม่ต้องวนเข้าสู่วงเวียนชีวิตขนาดนั้น ขอแค่ ทุกต�ำแหน่งต้องวิ่งเป็นแถวเรียงเดี่ยวอยู่กลางสนาม อย่า “ขาตาย” ในยามถือกล้องเท่านั้นแหละครับ เพื่อพาบอลขึ้นไปข้างหน้า รถยนต์ที่เราขับคงไม่ต้อง มีพวงมาลัยซ้ายหรือขวา เพราะต้องนังอยูกงกลางรถ ่ ่ ึ่ เดินเปลี่ยนมุมเข้าไปสิ...ขยับซ้ายขยับขวา ย่อตัว ถ้าจะมีคนขึ้นรถก็ต้องมีจ�ำนวนคู่เท่านั้นเพื่อรักษา ยืดตัว เดินหน้าถอยหลัง แค่นกมผลต่อมุมภาพและองค์ ี้ ็ ี สมดุลของน�้ำหนักซ้ายและขวา กับข้าวทุกอย่างต้อง ประกอบทางด้านน�้ำหนักแล้ว มากองรวมกันอยูกลางจานเพือไม่ให้จานหนักไปด้าน ่ ่ ใดด้านหนึ่ง กินกันเป็นพระกัมมัฏฐานเลยทีเดียว เรามักเข้าใจกันว่า ถ้าพูดถึงสิ่งที่มี น�้ำหนักมันก็ต้องเป็นสิ่งของแน่อยู่แล้ว แตเพราะเราไมไดมวธอยแคอยางเดยวในเรอง ่ ่ ้ ี ิ ี ู่ ่ ่ ี ื่ รถยนต์นั่นไงหนักพอมั๊ย? หรือถ้าจะ นี้ ดังนันการถ่ายภาพจึงไม่จำเป็นต้องจัดทุกอย่างเอา ้ � ให้ชวร์กรถสิบล้อหรือรถไฟกันไปเลย ั ็ ไว้ตรงกลางเสมอ อาจจะจัดให้ตัวเด่นอยู่ริมก็ได้ อยู่ ทีนี้ละหนักแน่ๆ ซ้ายขวาบนล่างยังไงก็ได้ ทีสำคัญก็คอ เราต้องมีอย่าง ่ � ื อื่นช่วงถ่วงน�้ำหนักเพื่อรักษาสมดุลในภาพเอาไว้ ผิดครับผิด...ในแง่ของงานศิลปะละก็ผิดแน่นอน เพราะนอกจากสิ่งของแล้ว พื้นที่ว่าง สี หรือความรู้สึก โอ้พระเจ้า! อยากจะถ่ายภาพแฟนโดยให้เขา ล้ ว นแล้ ว แต่ มี อิ ท ธิ พ ลในเรื่ อ งของน�้ ำ หนั ก ทั้ ง นั้ น ก็ หรือเธออยูรมซ้ายหรือขวาของภาพ มิตองไปยกก้อน ่ิ ้ ภาพถ่ายของเรามันเป็นเรื่องของความรู้สึกจากการมอง หินมาวางไว้ทตำแหน่งตรงข้ามอีกหรือ? แล้วถ้าแฟน ี่ � เห็นนี่นะ 40 Issue# 1 March 2012 41
  • 22. Composition Adventure ดังนั้นพื้นที่ว่างจึงสามารถช่วยในเรื่องการถ่วงน�้ำ หนักเพื่อจัดวางองค์ประกอบภาพของเราได้ด้ว ตัวอย่างเช่นท้องฟ้ากว้างๆ ในภาพที่มีเจดีย์อยู่ไม่ ไกล เจดียเป็นสิงทีมนำหนัก แต่กไม่หนักมากนักเมือเทียบ ์ ่ ่ ี �้ ็ ่ กับท้องฟ้ากว้างๆ แต่ถาเจดียเข้ามาอยูซะเต็มภาพ ท้องฟ้า ้ ์ ่ นิดเดียว อันนี้เจดีย์หนักแน่ๆ หนักมากด้วยเลยล่ะ เรื่องของสัดส่วนพื้นที่จึงเข้ามามีผลด้วยครับ เอา ล่ะ...ดูจากภาพตัวอย่างก็แล้วกัน ผมยังไม่มวตถุสงของให้ ี ั ิ่ ดูนะ เอาแค่เฉพาะเรื่องของพื้นที่ว่างก่อน จะเห็นได้วามันมีพนทีวางๆ โล่งๆ ในปริมาณทีมาก ่ ื้ ่ ่ ่ กว่าวงกลมสีด�ำหลายเท่า จากนั้นก็เอาวงกลมนี้ไปวางไว้ ตรงไหนสักตรง ตรงไหนล่ะที่มันจะถ่วงน�้ำหนักกันได้ดี ทีสดเมือเทียบกับพืนทีวางในกรอบภาพสีเหลียมของเรา? ่ ุ ่ ้ ่่ ่ ่ คุณว่าอันไหนน่าจะดีที่สุดล่ะครับ? อันซ้ายก็หนักซ้ายเกินไป อันขวาก็หนักขวาเกินไป ดังนั้นมันก็คืออันกลางใช่ไหมล่ะ? แต่นั่นมันเบสิคและ ปลอดภัยไว้กอนเหมือนเดิมครับ เราลองย้ายมันมาไว้ตรง ่ นี้ดูซิ อืมมม...ไม่เลวนะ ยังพอถ่วงน�้ำหนักกันได้ดีอยู่ ...ลองย้ายอีกซิ! อืออออ พอได้ๆ ...ชักเข้าท่าแฮะ เอาเรือเข้าจอดเลยงั้น เริ่มได้ไอเดียส�ำหรับการจัดวางองค์ประกอบภาพ แบบเบื้องต้นหรือยังครับ? ถ้าเราเปลี่ยนวงกลมสีด�ำเป็น วัตถุหลักที่เราก�ำลังจะถ่ายภาพ พื้นที่ว่างคือท้องฟ้า มัน น่าจะวางมุมกล้องแบบไหนดี? 42 Issue# 1 March 2012 43
  • 23. Composition Adventure ทีนี้ลองมาดูเรื่องสีกันบ้าง อย่างที่บอกครับว่าสี ก็มีน�้ำหนักอยู่ในตัวของมันเหมือนกัน หลักการง่ายๆ ก็คอ สีทบจะให้รสกมีนำหนักมากกว่า ในขณะทีสสว่าง ื ึ ู้ ึ �้ ่ ี จะมีความรูสกเบากว่า ถูกมัย? ลองดูจากภาพตัวอย่าง ้ ึ ๊ นี่เลยครับ เราจะเห็นว่าภาพนี้หนักซ้ายนะ เพราะสีทาง ด้านซ้ายมันดูหนักกว่า แล้วจะท�ำยังไง? เราก็จัดการ เอาเรื่องของพื้นที่เข้ามาช่วยเลยครับ สีสว่างเบากว่า ก็ให้พื้นที่กับมันเยอะๆ หน่อย แล้ววางต�ำแหน่งสีทึบ ใหม่ แค่นี้ก็เรียบร้อยแล้ว พื้นที่ว่างยังเป็นเหตุผลส�ำคัญอีกประการหนึ่ง ด้วย นันก็คอจะช่วยให้มพนทีพกหายใจในภาพมากขึน ่ ื ี ื้ ่ ั ้ (อันนี้ผมเข้าใจว่าคงเป็นแค่ค�ำเปรียบเปรยล่ะนะ...จะ ต้องไปหายใจกันท�ำไมในภาพ ที่อื่นมีเยอะแยะ) ทั้งนี้ ก็เพือลดความสับสนวุนวายในภาพลง มีพนทีโล่งๆ พัก ่ ่ ื้ ่ สายตามากขึน และท�ำให้ตวแบบหลักในภาพดูโดดเด่น ้ ั ขึ้นด้วย เพราะถ้าในภาพมีแต่อะไรก็ไม่รู้เต็มไปหมด พระเอกของเราก็โดนแย่งซีนไม่ได้ผดไม่ได้เกิดกันพอดี ุ นอกจากเรืองของน�ำหนักแล้ว ความตรงข้ามกัน ่ ้ ของสียงช่วยเรืองความโดดเด่นของสิงทีเราจะถ่ายภาพ ั ่ ่ ่ ด้วย สมมติว่าเราพาคนมาคนนึง ใส่เสื้อผ้าสีอ่อน เรา จะเลือกไปถ่ายภาพตรงทีดานหลังเป็นสีออนหรือสีเข้ม ่ ้ ่ ดี? อันนี้ลองคิดหาค�ำตอบดูเอาเองนะครับ 44 Issue# 1 March 2012 45