SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน ตอนที่ ๙ เหมกปัญหา
ปัญหาเรื่อง ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรมที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
(๘) เหมกปัญหา
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๘. เหมกมาณวกปัญหา
ว่าด้วยปัญหาของเหมกมาณพ
[๑๐๙๑] (เหมกมาณพทูลถามดังนี้ ) ก่อนแต่ศาสนาของพระโคดม อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใด
เคยตอบแก่ข้าพระองค์ว่า เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้ คาตอบทั้งหมด เป็นคาที่เชื่อสืบ
ต่อกันมา คาตอบทั้งหมดนั้น มีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาตอบนั้น
[๑๐๙๒] ข้าแต่พระมุนี บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว มีสติ เที่ยวไปอยู่ พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่า วิสัต
ติกา ในโลกได้ ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น)ที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา แก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด
[๑๐๙๓] (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) เหมกะ นิพพานบทอันไม่แปรผัน เครื่องบรรเทา
ฉันทราคะ ในปิยรูปทั้งหลายที่เห็น ที่ได้ยิน และที่ได้รับรู้ในโลกนี้
[๑๐๙๔] ชนเหล่าใดมีสติ รู้นิพพานนั้นแล้ว เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว ชนเหล่านั้นเป็นผู้
สงบทุกเมื่อ เป็นผู้ข้ามตัณหาที่ชื่อว่า วิสัตติกา ในโลกได้แล้ว
เหมกมาณวกปัญหาที่ ๘ จบ
-------------------------------------------
เหมกมาณวปัญหานิทเทส
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๐ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
๘. เหมกมาณวปัญหานิทเทส
2
ว่าด้วยปัญหาของเหมกมาณพ
(คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของนิทเทส)
[๕๓] (ท่านเหมกะทูลถาม ดังนี้ )
ก่อนแต่ศาสนาของพระโคดม
อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใดเคยพยากรณ์แก่ข้าพระองค์ว่า
เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้
คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นเป็นคาที่เชื่อสืบต่อกันมา
คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ
ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาพยากรณ์นั้น
(๑) คาว่า อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใด ในคาว่า ก่อน ... อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใดเคยพยากรณ์แก่ข้าพระองค์
อธิบายว่า พราหมณ์พาวรี และอาจารย์คนอื่นๆ ของพราหมณ์พาวรี เคยพยากรณ์ คือ เคยบอก แสดง
บัญญัติ กาหนด เปิดเผย จาแนก ทาให้ง่าย ประกาศหลักการของตน ความถูกใจ ความพอใจ ลัทธิ อัธยาศัย
ความประสงค์ของตน รวมความว่า ก่อน ... อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใดเคยพยากรณ์แก่ข้าพระองค์
คาว่า เหมกะ เป็นชื่อของพราหมณ์นั้น ฯลฯ ชื่อเรียกเฉพาะ-
คาว่า แต่ศาสนาของพระโคดม อธิบายว่า แต่ศาสนาของพระโคดม คือ อื่นจากศาสนาของพระโค
ดม ก่อนศาสนาของพระโคดม ก่อนกว่าศาสนาของพระโคดม ได้แก่ ก่อนกว่าศาสนาของพระพุทธเจ้า
ศาสนาของพระชินเจ้า ศาสนาของพระตถาคต ศาสนาของพระอรหันต์ รวมความว่า แต่ศาสนาของพระโค
ดม
คาว่า เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้ อธิบายว่า เล่ากันว่าเหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้
เหตุนี้ จักเป็นอย่างนี้ รวมความว่า เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้
คาว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นเป็นคาที่เชื่อสืบต่อกันมา อธิบายว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นเป็นคา
ที่เชื่อสืบต่อกันมา คือ อาจารย์เหล่านั้นกล่าวธรรมที่ตนไม่รู้ด้วยตนเอง ธรรมที่ไม่ได้ประจักษ์แก่ตนเอง โดย
การเชื่อผู้อื่นว่า ธรรมนี้ เป็นดังนี้ ๆ โดยการเล่าลือ โดยการถือสืบๆ กันมา โดยการอ้างตารา โดยตรรก โดย
การอนุมาน โดยการคิดตรอง ตามแนวเหตุผล โดยเข้าได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว รวมความว่า คาพยากรณ์
ทั้งหมดนั้นเป็นคาที่เชื่อสืบต่อกันมา
คาว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ อธิบายว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่
จะทาให้ตรึกไปต่างๆ คือ ทาให้ความวิตกเจริญ ทาให้ความดาริเจริญ ทาให้กามวิตกเจริญ ทาให้พยาบาท
3
วิตกเจริญ ทาให้วิหิงสาวิตกเจริญ ทาให้ความวิตกถึงญาติเจริญ ทาให้ความวิตกถึงชนบทเจริญ ทาให้ความ
วิตกถึงความไม่ตายเจริญ ทาให้ความวิตกที่ประกอบด้วยความเอ็นดูเจริญ ทาให้ความวิตกที่ประกอบด้วย
ลาภสักการะและความสรรเสริญเจริญ ทาให้ความวิตกที่ประกอบด้วยความปรารถนามิให้ใครดูหมิ่นเจริญ
รวมความว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ
คาว่า ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาพยากรณ์นั้น อธิบายว่า ข้าพระองค์จึงไม่ยินดี คือ ไม่พอใจ ไม่
ยอมรับ ไม่อยากได้ในคาพยากรณ์นั้น รวมความว่า ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาพยากรณ์นั้น ด้วยเหตุนั้น
พราหมณ์นั้นจึงกราบทูลว่า (ท่านเหมกะทูลถาม ดังนี้ )
ก่อนแต่ศาสนาของพระโคดม
อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใดเคยพยากรณ์แก่ข้าพระองค์ว่า
เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้
คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นเป็นคาที่เชื่อสืบต่อกันมา
คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ
ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาพยากรณ์นั้น
[๕๔] (ท่านเหมกะทูลถามว่า)
ข้าแต่พระมุนี บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว
มีสติ เที่ยวไปอยู่ พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้
ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น)
ที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา แก่ข้าพระองค์เถิด
(๒) คาว่า พระองค์ ในคาว่า ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น) ... แก่ข้าพระองค์ เป็นคาที่เหมกมาณพ
เรียกพระผู้มีพระภาค
คาว่า ธรรม ในคาว่า โปรดตรัสบอกธรรม อธิบายว่า ขอพระองค์โปรดตรัส คือ โปรดบอก แสดง
บัญญัติ กาหนด เปิดเผย จาแนก ทาให้ง่าย ประกาศพรหมจรรย์ที่มีความงามในเบื้องต้น มีความงามใน
ท่ามกลาง มีความงามในที่สุด พร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะ บริสุทธิ์ บริบูรณ์ครบถ้วน สติปัฏฐาน ๔
สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ นิพพาน และปฏิปทาเครื่อง
ดาเนินไปสู่นิพพาน รวมความว่า ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น) ... แก่ข้าพระองค์
คาว่า ข้าแต่พระมุนี ... ธรรมที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา อธิบายว่า
4
คาว่า ตัณหา ได้แก่ รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา
ธรรมที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา คือ ธรรมเป็นเครื่องละตัณหา เข้าไปสงบตัณหา สลัดทิ้งตัณหา ระงับตัณหา
คืออมตนิพพาน
คาว่า ข้าแต่พระมุนี อธิบายว่า ญาณท่านเรียกว่า โมนะ ฯลฯ พระองค์ก้าวล่วงกิเลสเครื่องข้อง
และตัณหาดุจตาข่ายได้แล้ว ชื่อว่ามุนี รวมความว่า ข้าแต่พระมุนี ... ธรรมที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา
คาว่า บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว มีสติ เที่ยวไปอยู่ อธิบายว่า บุคคลรู้ชัดแล้ว คือ เทียบเคียง
พิจารณา ทาให้กระจ่าง ทาให้แจ่มแจ้งแล้ว ได้แก่ บุคคลรู้ชัดแล้ว คือ เทียบเคียง พิจารณา ทาให้กระจ่าง ทา
ให้แจ่มแจ้งแล้วว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ฯลฯ สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ฯลฯ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา” ฯลฯ
บุคคลรู้ชัดแล้ว คือ เทียบเคียง พิจารณา ทาให้กระจ่าง ทาให้แจ่มแจ้งแล้วว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้น
เป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมด ล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา”
คาว่า มีสติ ได้แก่ มีสติด้วยเหตุ ๔ อย่าง คือ (๑) ชื่อว่ามีสติ เมื่อเจริญสติปัฏฐานพิจารณากายใน
กาย ฯลฯ บุคคลนั้นพระผู้มีพระภาคตรัสเรียกว่ามีสติ
คาว่า เที่ยวไปอยู่ ได้แก่ เที่ยวไปอยู่ คือ อยู่ เคลื่อนไหว เป็นไป เลี้ยงชีวิต ดาเนินไป ยังชีวิตให้
ดาเนินไป รวมความว่า บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว มีสติ เที่ยวไปอยู่
คาว่า พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้ อธิบายว่า ตัณหาชื่อว่าวิสัตติกา คือ ความกาหนัด
ความกาหนัดนัก ฯลฯ อภิชฌา อกุศลมูลคือโลภะ
คาว่า วิสัตติกา อธิบายว่า ตัณหาชื่อว่าวิสัตติกา เพราะมีความหมายว่าอย่างไร ฯลฯ ซ่านไป
ขยายไป ฉะนั้น จึงชื่อว่าวิสัตติกา
คาว่า ในโลก ได้แก่ ในอบายโลก มนุษยโลก เทวโลก ขันธโลก ธาตุโลก อายตนโลก
คาว่า พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้ อธิบายว่า ผู้มีสติพึงข้าม คือ ข้ามไป ข้ามพ้น ก้าว
ล่วง ล่วงเลยตัณหานี้ ที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกนั่นเอง รวมความว่า พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้
ด้วยเหตุนั้น พราหมณ์นั้นจึงกราบทูลว่า
ข้าแต่พระมุนี บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว
มีสติ เที่ยวไปอยู่ พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้
ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น)
ที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา แก่ข้าพระองค์เถิด
[๕๕] (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า)
เหมกะ นิพพานบทอันไม่แปรผัน
5
เป็นเครื่องกาจัดความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ
ในปิยรูปทั้งหลายที่ได้เห็น ได้ยินได้รับรู้และได้รู้ ในโลกนี้
(๓) คาว่า ที่ได้เห็น ในคาว่า ที่ได้เห็น ได้ยินได้รับรู้และได้รู้ในโลกนี้ ได้แก่ได้เห็นทางตา
คาว่า ได้ยิน ได้แก่ ได้ยินทางหู
คาว่า ได้รับรู้ ได้แก่ ได้รับรู้ คือ ดมกลิ่นทางจมูก ลิ้มรสทางลิ้น สัมผัสทางกาย
คาว่า และได้รู้ ได้แก่ ได้รู้(ธรรมารมณ์)ทางใจ รวมความว่า ที่ได้เห็น ได้ยิน ได้รับรู้และได้รู้ ใน
โลกนี้
ว่าด้วยปิยรูปและสาตรูป
คาว่า เหมกะ ... ในปิยรูปทั้งหลาย อธิบายว่า ก็อะไรเป็นปิยรูป (ปิยรูป คือรูปที่น่ารัก น่า
ปรารถนา) เป็นสาตรูป (สาตรูป คือรูปที่น่ายินดี น่าต้องการ) ในโลก จักขุ เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก
โสตะ (ประสาทหู) ... ฆานะ (ประสาทจมูก) ... ชิวหา (ประสาทลิ้น) ... กาย (ประสาทกาย) ... มโน เป็น
ปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก
รูป เป็นปิยรูป เป็นสาตรูป เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... ธรรมารมณ์ เป็นปิยรูป เป็นสาต
รูปในโลก จักขุวิญญาณ เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก โสตวิญญาณ ... ฆานวิญญาณ ... ชิวหาวิญญาณ ...
กายวิญญาณ ... มโนวิญญาณ เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก จักขุสัมผัส เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก โสต
สัมผัส... ฆานสัมผัส ... ชิวหาสัมผัส ... กายสัมผัส ... มโนสัมผัส เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก
เวทนาที่เกิดจากจักขุสัมผัส เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก เวทนาที่เกิดจากโสตสัมผัส ... เวทนาที่
เกิดจากฆานสัมผัส ... เวทนาที่เกิดจากชิวหาสัมผัส ...เวทนาที่เกิดจากกายสัมผัส ... เวทนาที่เกิดจากมโน
สัมผัส เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก
รูปสัญญา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก สัททสัญญา ... คันธสัญญา ...รสสัญญา ... โผฏฐัพ
พสัญญา ... ธัมมสัญญา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก รูปสัญเจตนา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก สัทท
สัญเจตนา ... คันธสัญเจตนา ... รสสัญเจตนา ... โผฏฐัพพสัญเจตนา ... ธัมมสัญเจตนา เป็นปิยรูป เป็นสาต
รูปในโลก
รูปตัณหา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก สัททตัณหา ... คันธตัณหา ...รสตัณหา ... โผฏฐัพพ
ตัณหา ... ธัมมตัณหา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก
รูปวิตก เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก สัททวิตก ... คันธวิตก ... รสวิตก... โผฏฐัพพวิตก ... ธัมม
วิตก เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก รูปวิจารเป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก ... สัททวิจาร ... คันธวิจาร ... รส
วิจาร ... โผฏฐัพพวิจาร ...ธัมมวิจาร เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก รวมความว่า ในปิยรูปทั้งหลาย
6
คาว่า เหมกะ เป็นคาที่พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพราหมณ์นั้นโดยชื่อ
คาว่า ความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ ในคาว่า เป็นเครื่องกาจัดความกาหนัดด้วยอานาจ
ความพอใจ อธิบายว่า ความพอใจด้วยอานาจความใคร่ ความกาหนัดด้วยอานาจความใคร่ ความทะยาน
อยากด้วยอานาจความใคร่ ความเยื่อใยด้วยอานาจความใคร่ ความเร่าร้อนด้วยอานาจความใคร่ ความสยบ
ด้วยอานาจความใคร่ ความติดใจด้วยอานาจความใคร่ ห้วงน้าคือความใคร่ กิเลส เครื่องประกอบคือความ
ใคร่ กิเลสเครื่องยึดมั่นคือความใคร่ กิเลสเครื่องกั้นจิตคือความพอใจด้วยอานาจความใคร่ในกามทั้งหลาย
คาว่า เป็นเครื่องกาจัดความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ ได้แก่ เป็นเครื่องละความกาหนัดด้วย
อานาจความพอใจ เข้าไปสงบความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ สลัดทิ้งความกาหนัดด้วยอานาจความ
พอใจ ระงับความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ คือ อมตนิพพาน รวมความว่า เป็นเครื่องกาจัดความ
กาหนัดด้วยอานาจความพอใจ
คาว่า นิพพานบทอันไม่แปรผัน อธิบายว่า นิพพานบท (ทางนิพพาน) คือ ตาณบท (ทาง
ปกป้อง) เลณบท (ทางหลีกเร้น) ปรายนบท (ทางไปสู่จุดหมาย) อภยบท (ทางไม่มีภัย)
คาว่า อันไม่แปรผัน ได้แก่ เที่ยง มั่นคง แน่แท้ มีความไม่แปรผันไปเป็นธรรมดา รวมความว่า
นิพพานบทอันไม่แปรผัน ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสตอบว่า
เหมกะ นิพพานบทอันไม่แปรผัน
เป็นเครื่องกาจัดความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ
ในปิยรูปทั้งหลายที่ได้เห็น ได้ยินได้รับรู้และได้รู้ ในโลกนี้
[๕๖] (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า)
ชนเหล่าใดผู้มีสติ รู้นิพพานนั้นแล้ว
เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว
ชนเหล่านั้น เป็นผู้สงบทุกเมื่อ
ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว
(๔) คาว่า นั้น ในคาว่า ชนเหล่าใดผู้มีสติ รู้นิพพานนั้นแล้ว ได้แก่ อมตนิพพาน อันเป็นธรรมระงับสังขาร
ทั้งปวง เป็นที่สลัดทิ้งอุปธิทั้งหมด เป็นที่สิ้นตัณหา เป็นที่คลายกาหนัด เป็นที่ดับกิเลส เป็นที่เย็นสนิท
คาว่า รู้แล้ว ได้แก่ รู้แล้ว คือ ทราบแล้ว เทียบเคียงแล้ว พิจารณาแล้ว ทาให้กระจ่างแล้ว ทาให้
แจ่มแจ้งแล้ว ได้แก่ รู้แล้ว คือ ทราบแล้ว เทียบเคียงแล้ว พิจารณาแล้ว ทาให้กระจ่างแล้ว ทาให้แจ่มแจ้งแล้ว
ว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ฯลฯ สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ฯลฯ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา” ฯลฯ รู้แล้ว ทราบ
7
แล้ว เทียบเคียงแล้ว พิจารณาแล้ว ทาให้กระจ่างแล้ว ทาให้แจ่มแจ้งแล้วว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็น
ธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา”
คาว่า เหล่าใด ได้แก่ พระอรหันตขีณาสพ
คาว่า ผู้มีสติ ได้แก่ ผู้มีสติด้วยเหตุ ๔ อย่าง คือ (๑) ชื่อว่ามีสติ เมื่อเจริญสติปัฏฐานพิจารณากาย
ในกาย ฯลฯ พระอรหันตขีณาสพเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกว่า ผู้มีสติ รวมความว่า ชนเหล่าใดผู้มี
สติ รู้นิพพานนั้นแล้ว
คาว่า เห็นธรรม ในคาว่า เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว อธิบายว่า ผู้เห็นธรรม คือ ผู้รู้ธรรม ผู้
เทียบเคียงธรรม ผู้พิจารณาธรรม ผู้รู้แจ้งธรรม ผู้เห็นแจ้งธรรม ได้แก่ ผู้เห็นธรรม คือ ผู้รู้ธรรม ผู้เทียบเคียง
ธรรม ผู้พิจารณาธรรม ผู้รู้แจ้งธรรม ผู้เห็นแจ้งธรรมว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ฯลฯ สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความ
เกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา”
คาว่า ดับกิเลสได้แล้ว อธิบายว่า ชื่อว่าดับกิเลสได้แล้ว เพราะเป็นผู้ทาให้ราคะดับแล้ว ชื่อว่าดับ
กิเลสได้แล้ว เพราะเป็นผู้ทาให้โทสะดับแล้ว ชื่อว่าดับกิเลสได้แล้ว เพราะเป็นผู้ทาให้โมหะดับแล้ว ชื่อว่าดับ
กิเลสได้แล้ว เพราะเป็นผู้ทาให้โกธะ ฯลฯ อุปนาหะ ฯลฯ อกุสลาภิสังขารทุกประเภทดับแล้ว รวมความว่า
เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว
คาว่า เป็นผู้สงบ ในคาว่า ชนเหล่านั้น เป็นผู้สงบทุกเมื่อ อธิบายว่า ชื่อว่าเป็นผู้สงบ เพราะสงบ
ราคะ ชื่อว่าเป็นผู้สงบ เพราะสงบโทสะ ชื่อว่าเป็นผู้สงบ เพราะสงบโมหะ คือ สงบแล้ว เข้าไปสงบแล้ว สงบ
เย็นแล้ว ดับได้แล้ว ระงับได้แล้ว เพราะสงบ ระงับ สงบเย็น เผา ดับ ปราศจาก สงบระงับโกธะ อุปนาหะ
ฯลฯ อกุสลาภิสังขารทุกประเภทแล้ว รวมความว่า เป็นผู้สงบ
คาว่า เหล่านั้น ได้แก่ พระอรหันตขีณาสพ
คาว่า ทุกเมื่อ อธิบายว่า ทุกเมื่อ คือ ในกาลทุกเมื่อ ตลอดกาลทั้งปวง ตลอดกาลเป็นนิจ ตลอด
กาลยั่งยืน ตลอดกาลต่อเนื่องกัน ตลอดกาลสืบเนื่องกัน ตลอดกาลติดต่อกัน ตลอดกาลเป็นลาดับ ตลอด
กาลติดต่อกันเหมือนระลอกคลื่น ตลอดกาลเป็นไปต่อเนื่องไม่ขาดสาย ตลอดกาลสืบต่อกันกระชั้นชิด
ตลอดกาลก่อนภัต หลังภัต ตลอดปฐมยาม มัชฌิมยาม ปัจฉิมยาม ตลอดข้างแรม ข้างขึ้น ตลอดฤดูฝน ฤดู
หนาว ฤดูร้อน ตลอดปฐมวัย มัชฌิมวัย ปัจฉิมวัย รวมความว่า ชนเหล่านั้นเป็นผู้สงบทุกเมื่อ
คาว่า ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว อธิบายว่า ตัณหา ตรัสเรียกว่า วิสัตติกา คือ
ความกาหนัด ความกาหนัดนัก ฯลฯ อภิชฌา อกุศลมูลคือโลภะ
คาว่า วิสัตติกา อธิบายว่า ตัณหาชื่อว่าวิสัตติกา เพราะมีความหมายว่าอย่างไร ฯลฯ ซ่านไป
ขยายไป ฉะนั้น จึงชื่อว่าวิสัตติกา
คาว่า ในโลก ได้แก่ ในอบายโลก ฯลฯ อายตนโลก
8
คาว่า เป็นผู้ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว อธิบายว่า ตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลก
พระอรหันตขีณาสพ เป็นผู้ข้าม คือ ข้ามขึ้น ข้ามพ้น ก้าวล่วง ก้าวพ้น ล่วงพ้นตัณหาชื่อว่าวิสัตติกาในโลก
แล้ว รวมความว่า เป็นผู้ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสตอบ
ว่า
ชนเหล่าใดผู้มีสติ รู้นิพพานนั้นแล้ว
เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว
ชนเหล่านั้น เป็นสงบทุกเมื่อ
ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว
พร้อมกับการจบคาถา ฯลฯ เหมกมาณพ... โดยประกาศว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระ
ภาคเป็นศาสดาของข้าพระองค์ ข้าพระองค์เป็นสาวก”
เหมกมาณวปัญหานิทเทสที่ ๘ จบ
------------------------------------------

More Related Content

Similar to ๐๘ เหมกปัญหา.pdf

3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfTotsaporn Inthanin
 
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวKaiwan Hongladaromp
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวPoramate Minsiri
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวTum Nuttaporn Voonklinhom
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdfmaruay songtanin
 
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
บาลี 35 80
บาลี 35 80บาลี 35 80
บาลี 35 80Rose Banioki
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Wataustin Austin
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypracticeTongsamut vorasan
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 

Similar to ๐๘ เหมกปัญหา.pdf (20)

3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf17-cit-mano-vinna.pdf
17-cit-mano-vinna.pdf
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
 
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
๒๑.๕ มหาวิยูหสูตร มจร.pdf
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
 
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
 
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
๐๒ ติสสเมตเตยยปัญหา.pdf
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
บาลี 35 80
บาลี 35 80บาลี 35 80
บาลี 35 80
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

๐๘ เหมกปัญหา.pdf

  • 1. 1 ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน ตอนที่ ๙ เหมกปัญหา ปัญหาเรื่อง ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรมที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ (๘) เหมกปัญหา พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต ๘. เหมกมาณวกปัญหา ว่าด้วยปัญหาของเหมกมาณพ [๑๐๙๑] (เหมกมาณพทูลถามดังนี้ ) ก่อนแต่ศาสนาของพระโคดม อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใด เคยตอบแก่ข้าพระองค์ว่า เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้ คาตอบทั้งหมด เป็นคาที่เชื่อสืบ ต่อกันมา คาตอบทั้งหมดนั้น มีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาตอบนั้น [๑๐๙๒] ข้าแต่พระมุนี บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว มีสติ เที่ยวไปอยู่ พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่า วิสัต ติกา ในโลกได้ ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น)ที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา แก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด [๑๐๙๓] (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) เหมกะ นิพพานบทอันไม่แปรผัน เครื่องบรรเทา ฉันทราคะ ในปิยรูปทั้งหลายที่เห็น ที่ได้ยิน และที่ได้รับรู้ในโลกนี้ [๑๐๙๔] ชนเหล่าใดมีสติ รู้นิพพานนั้นแล้ว เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว ชนเหล่านั้นเป็นผู้ สงบทุกเมื่อ เป็นผู้ข้ามตัณหาที่ชื่อว่า วิสัตติกา ในโลกได้แล้ว เหมกมาณวกปัญหาที่ ๘ จบ ------------------------------------------- เหมกมาณวปัญหานิทเทส พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๐ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส ๘. เหมกมาณวปัญหานิทเทส
  • 2. 2 ว่าด้วยปัญหาของเหมกมาณพ (คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของนิทเทส) [๕๓] (ท่านเหมกะทูลถาม ดังนี้ ) ก่อนแต่ศาสนาของพระโคดม อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใดเคยพยากรณ์แก่ข้าพระองค์ว่า เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้ คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นเป็นคาที่เชื่อสืบต่อกันมา คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาพยากรณ์นั้น (๑) คาว่า อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใด ในคาว่า ก่อน ... อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใดเคยพยากรณ์แก่ข้าพระองค์ อธิบายว่า พราหมณ์พาวรี และอาจารย์คนอื่นๆ ของพราหมณ์พาวรี เคยพยากรณ์ คือ เคยบอก แสดง บัญญัติ กาหนด เปิดเผย จาแนก ทาให้ง่าย ประกาศหลักการของตน ความถูกใจ ความพอใจ ลัทธิ อัธยาศัย ความประสงค์ของตน รวมความว่า ก่อน ... อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใดเคยพยากรณ์แก่ข้าพระองค์ คาว่า เหมกะ เป็นชื่อของพราหมณ์นั้น ฯลฯ ชื่อเรียกเฉพาะ- คาว่า แต่ศาสนาของพระโคดม อธิบายว่า แต่ศาสนาของพระโคดม คือ อื่นจากศาสนาของพระโค ดม ก่อนศาสนาของพระโคดม ก่อนกว่าศาสนาของพระโคดม ได้แก่ ก่อนกว่าศาสนาของพระพุทธเจ้า ศาสนาของพระชินเจ้า ศาสนาของพระตถาคต ศาสนาของพระอรหันต์ รวมความว่า แต่ศาสนาของพระโค ดม คาว่า เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้ อธิบายว่า เล่ากันว่าเหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ เหตุนี้ จักเป็นอย่างนี้ รวมความว่า เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้ คาว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นเป็นคาที่เชื่อสืบต่อกันมา อธิบายว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นเป็นคา ที่เชื่อสืบต่อกันมา คือ อาจารย์เหล่านั้นกล่าวธรรมที่ตนไม่รู้ด้วยตนเอง ธรรมที่ไม่ได้ประจักษ์แก่ตนเอง โดย การเชื่อผู้อื่นว่า ธรรมนี้ เป็นดังนี้ ๆ โดยการเล่าลือ โดยการถือสืบๆ กันมา โดยการอ้างตารา โดยตรรก โดย การอนุมาน โดยการคิดตรอง ตามแนวเหตุผล โดยเข้าได้กับทฤษฎีที่พินิจไว้แล้ว รวมความว่า คาพยากรณ์ ทั้งหมดนั้นเป็นคาที่เชื่อสืบต่อกันมา คาว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ อธิบายว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่ จะทาให้ตรึกไปต่างๆ คือ ทาให้ความวิตกเจริญ ทาให้ความดาริเจริญ ทาให้กามวิตกเจริญ ทาให้พยาบาท
  • 3. 3 วิตกเจริญ ทาให้วิหิงสาวิตกเจริญ ทาให้ความวิตกถึงญาติเจริญ ทาให้ความวิตกถึงชนบทเจริญ ทาให้ความ วิตกถึงความไม่ตายเจริญ ทาให้ความวิตกที่ประกอบด้วยความเอ็นดูเจริญ ทาให้ความวิตกที่ประกอบด้วย ลาภสักการะและความสรรเสริญเจริญ ทาให้ความวิตกที่ประกอบด้วยความปรารถนามิให้ใครดูหมิ่นเจริญ รวมความว่า คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ คาว่า ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาพยากรณ์นั้น อธิบายว่า ข้าพระองค์จึงไม่ยินดี คือ ไม่พอใจ ไม่ ยอมรับ ไม่อยากได้ในคาพยากรณ์นั้น รวมความว่า ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาพยากรณ์นั้น ด้วยเหตุนั้น พราหมณ์นั้นจึงกราบทูลว่า (ท่านเหมกะทูลถาม ดังนี้ ) ก่อนแต่ศาสนาของพระโคดม อาจารย์เจ้าลัทธิเหล่าใดเคยพยากรณ์แก่ข้าพระองค์ว่า เหตุนี้ ได้เป็นมาแล้วอย่างนี้ จักเป็นอย่างนี้ คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นเป็นคาที่เชื่อสืบต่อกันมา คาพยากรณ์ทั้งหมดนั้นมีแต่จะทาให้ตรึกไปต่างๆ ข้าพระองค์จึงไม่ยินดีในคาพยากรณ์นั้น [๕๔] (ท่านเหมกะทูลถามว่า) ข้าแต่พระมุนี บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว มีสติ เที่ยวไปอยู่ พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้ ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น) ที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา แก่ข้าพระองค์เถิด (๒) คาว่า พระองค์ ในคาว่า ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น) ... แก่ข้าพระองค์ เป็นคาที่เหมกมาณพ เรียกพระผู้มีพระภาค คาว่า ธรรม ในคาว่า โปรดตรัสบอกธรรม อธิบายว่า ขอพระองค์โปรดตรัส คือ โปรดบอก แสดง บัญญัติ กาหนด เปิดเผย จาแนก ทาให้ง่าย ประกาศพรหมจรรย์ที่มีความงามในเบื้องต้น มีความงามใน ท่ามกลาง มีความงามในที่สุด พร้อมทั้งอรรถและพยัญชนะ บริสุทธิ์ บริบูรณ์ครบถ้วน สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ นิพพาน และปฏิปทาเครื่อง ดาเนินไปสู่นิพพาน รวมความว่า ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น) ... แก่ข้าพระองค์ คาว่า ข้าแต่พระมุนี ... ธรรมที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา อธิบายว่า
  • 4. 4 คาว่า ตัณหา ได้แก่ รูปตัณหา สัททตัณหา คันธตัณหา รสตัณหา โผฏฐัพพตัณหา ธัมมตัณหา ธรรมที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา คือ ธรรมเป็นเครื่องละตัณหา เข้าไปสงบตัณหา สลัดทิ้งตัณหา ระงับตัณหา คืออมตนิพพาน คาว่า ข้าแต่พระมุนี อธิบายว่า ญาณท่านเรียกว่า โมนะ ฯลฯ พระองค์ก้าวล่วงกิเลสเครื่องข้อง และตัณหาดุจตาข่ายได้แล้ว ชื่อว่ามุนี รวมความว่า ข้าแต่พระมุนี ... ธรรมที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา คาว่า บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว มีสติ เที่ยวไปอยู่ อธิบายว่า บุคคลรู้ชัดแล้ว คือ เทียบเคียง พิจารณา ทาให้กระจ่าง ทาให้แจ่มแจ้งแล้ว ได้แก่ บุคคลรู้ชัดแล้ว คือ เทียบเคียง พิจารณา ทาให้กระจ่าง ทา ให้แจ่มแจ้งแล้วว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ฯลฯ สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ฯลฯ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา” ฯลฯ บุคคลรู้ชัดแล้ว คือ เทียบเคียง พิจารณา ทาให้กระจ่าง ทาให้แจ่มแจ้งแล้วว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้น เป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมด ล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา” คาว่า มีสติ ได้แก่ มีสติด้วยเหตุ ๔ อย่าง คือ (๑) ชื่อว่ามีสติ เมื่อเจริญสติปัฏฐานพิจารณากายใน กาย ฯลฯ บุคคลนั้นพระผู้มีพระภาคตรัสเรียกว่ามีสติ คาว่า เที่ยวไปอยู่ ได้แก่ เที่ยวไปอยู่ คือ อยู่ เคลื่อนไหว เป็นไป เลี้ยงชีวิต ดาเนินไป ยังชีวิตให้ ดาเนินไป รวมความว่า บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว มีสติ เที่ยวไปอยู่ คาว่า พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้ อธิบายว่า ตัณหาชื่อว่าวิสัตติกา คือ ความกาหนัด ความกาหนัดนัก ฯลฯ อภิชฌา อกุศลมูลคือโลภะ คาว่า วิสัตติกา อธิบายว่า ตัณหาชื่อว่าวิสัตติกา เพราะมีความหมายว่าอย่างไร ฯลฯ ซ่านไป ขยายไป ฉะนั้น จึงชื่อว่าวิสัตติกา คาว่า ในโลก ได้แก่ ในอบายโลก มนุษยโลก เทวโลก ขันธโลก ธาตุโลก อายตนโลก คาว่า พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้ อธิบายว่า ผู้มีสติพึงข้าม คือ ข้ามไป ข้ามพ้น ก้าว ล่วง ล่วงเลยตัณหานี้ ที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกนั่นเอง รวมความว่า พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้ ด้วยเหตุนั้น พราหมณ์นั้นจึงกราบทูลว่า ข้าแต่พระมุนี บุคคลรู้ชัดธรรมใดแล้ว มีสติ เที่ยวไปอยู่ พึงข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้ ขอพระองค์โปรดตรัสบอกธรรม(นั้น) ที่เป็นเครื่องกาจัดตัณหา แก่ข้าพระองค์เถิด [๕๕] (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า) เหมกะ นิพพานบทอันไม่แปรผัน
  • 5. 5 เป็นเครื่องกาจัดความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ ในปิยรูปทั้งหลายที่ได้เห็น ได้ยินได้รับรู้และได้รู้ ในโลกนี้ (๓) คาว่า ที่ได้เห็น ในคาว่า ที่ได้เห็น ได้ยินได้รับรู้และได้รู้ในโลกนี้ ได้แก่ได้เห็นทางตา คาว่า ได้ยิน ได้แก่ ได้ยินทางหู คาว่า ได้รับรู้ ได้แก่ ได้รับรู้ คือ ดมกลิ่นทางจมูก ลิ้มรสทางลิ้น สัมผัสทางกาย คาว่า และได้รู้ ได้แก่ ได้รู้(ธรรมารมณ์)ทางใจ รวมความว่า ที่ได้เห็น ได้ยิน ได้รับรู้และได้รู้ ใน โลกนี้ ว่าด้วยปิยรูปและสาตรูป คาว่า เหมกะ ... ในปิยรูปทั้งหลาย อธิบายว่า ก็อะไรเป็นปิยรูป (ปิยรูป คือรูปที่น่ารัก น่า ปรารถนา) เป็นสาตรูป (สาตรูป คือรูปที่น่ายินดี น่าต้องการ) ในโลก จักขุ เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก โสตะ (ประสาทหู) ... ฆานะ (ประสาทจมูก) ... ชิวหา (ประสาทลิ้น) ... กาย (ประสาทกาย) ... มโน เป็น ปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก รูป เป็นปิยรูป เป็นสาตรูป เสียง ... กลิ่น ... รส ... โผฏฐัพพะ ... ธรรมารมณ์ เป็นปิยรูป เป็นสาต รูปในโลก จักขุวิญญาณ เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก โสตวิญญาณ ... ฆานวิญญาณ ... ชิวหาวิญญาณ ... กายวิญญาณ ... มโนวิญญาณ เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก จักขุสัมผัส เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก โสต สัมผัส... ฆานสัมผัส ... ชิวหาสัมผัส ... กายสัมผัส ... มโนสัมผัส เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก เวทนาที่เกิดจากจักขุสัมผัส เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก เวทนาที่เกิดจากโสตสัมผัส ... เวทนาที่ เกิดจากฆานสัมผัส ... เวทนาที่เกิดจากชิวหาสัมผัส ...เวทนาที่เกิดจากกายสัมผัส ... เวทนาที่เกิดจากมโน สัมผัส เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก รูปสัญญา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก สัททสัญญา ... คันธสัญญา ...รสสัญญา ... โผฏฐัพ พสัญญา ... ธัมมสัญญา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก รูปสัญเจตนา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก สัทท สัญเจตนา ... คันธสัญเจตนา ... รสสัญเจตนา ... โผฏฐัพพสัญเจตนา ... ธัมมสัญเจตนา เป็นปิยรูป เป็นสาต รูปในโลก รูปตัณหา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก สัททตัณหา ... คันธตัณหา ...รสตัณหา ... โผฏฐัพพ ตัณหา ... ธัมมตัณหา เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก รูปวิตก เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก สัททวิตก ... คันธวิตก ... รสวิตก... โผฏฐัพพวิตก ... ธัมม วิตก เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก รูปวิจารเป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก ... สัททวิจาร ... คันธวิจาร ... รส วิจาร ... โผฏฐัพพวิจาร ...ธัมมวิจาร เป็นปิยรูป เป็นสาตรูปในโลก รวมความว่า ในปิยรูปทั้งหลาย
  • 6. 6 คาว่า เหมกะ เป็นคาที่พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพราหมณ์นั้นโดยชื่อ คาว่า ความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ ในคาว่า เป็นเครื่องกาจัดความกาหนัดด้วยอานาจ ความพอใจ อธิบายว่า ความพอใจด้วยอานาจความใคร่ ความกาหนัดด้วยอานาจความใคร่ ความทะยาน อยากด้วยอานาจความใคร่ ความเยื่อใยด้วยอานาจความใคร่ ความเร่าร้อนด้วยอานาจความใคร่ ความสยบ ด้วยอานาจความใคร่ ความติดใจด้วยอานาจความใคร่ ห้วงน้าคือความใคร่ กิเลส เครื่องประกอบคือความ ใคร่ กิเลสเครื่องยึดมั่นคือความใคร่ กิเลสเครื่องกั้นจิตคือความพอใจด้วยอานาจความใคร่ในกามทั้งหลาย คาว่า เป็นเครื่องกาจัดความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ ได้แก่ เป็นเครื่องละความกาหนัดด้วย อานาจความพอใจ เข้าไปสงบความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ สลัดทิ้งความกาหนัดด้วยอานาจความ พอใจ ระงับความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ คือ อมตนิพพาน รวมความว่า เป็นเครื่องกาจัดความ กาหนัดด้วยอานาจความพอใจ คาว่า นิพพานบทอันไม่แปรผัน อธิบายว่า นิพพานบท (ทางนิพพาน) คือ ตาณบท (ทาง ปกป้อง) เลณบท (ทางหลีกเร้น) ปรายนบท (ทางไปสู่จุดหมาย) อภยบท (ทางไม่มีภัย) คาว่า อันไม่แปรผัน ได้แก่ เที่ยง มั่นคง แน่แท้ มีความไม่แปรผันไปเป็นธรรมดา รวมความว่า นิพพานบทอันไม่แปรผัน ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสตอบว่า เหมกะ นิพพานบทอันไม่แปรผัน เป็นเครื่องกาจัดความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ ในปิยรูปทั้งหลายที่ได้เห็น ได้ยินได้รับรู้และได้รู้ ในโลกนี้ [๕๖] (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า) ชนเหล่าใดผู้มีสติ รู้นิพพานนั้นแล้ว เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว ชนเหล่านั้น เป็นผู้สงบทุกเมื่อ ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว (๔) คาว่า นั้น ในคาว่า ชนเหล่าใดผู้มีสติ รู้นิพพานนั้นแล้ว ได้แก่ อมตนิพพาน อันเป็นธรรมระงับสังขาร ทั้งปวง เป็นที่สลัดทิ้งอุปธิทั้งหมด เป็นที่สิ้นตัณหา เป็นที่คลายกาหนัด เป็นที่ดับกิเลส เป็นที่เย็นสนิท คาว่า รู้แล้ว ได้แก่ รู้แล้ว คือ ทราบแล้ว เทียบเคียงแล้ว พิจารณาแล้ว ทาให้กระจ่างแล้ว ทาให้ แจ่มแจ้งแล้ว ได้แก่ รู้แล้ว คือ ทราบแล้ว เทียบเคียงแล้ว พิจารณาแล้ว ทาให้กระจ่างแล้ว ทาให้แจ่มแจ้งแล้ว ว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ฯลฯ สังขารทั้งปวงเป็นทุกข์ ฯลฯ ธรรมทั้งปวงเป็นอนัตตา” ฯลฯ รู้แล้ว ทราบ
  • 7. 7 แล้ว เทียบเคียงแล้ว พิจารณาแล้ว ทาให้กระจ่างแล้ว ทาให้แจ่มแจ้งแล้วว่า “สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็น ธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา” คาว่า เหล่าใด ได้แก่ พระอรหันตขีณาสพ คาว่า ผู้มีสติ ได้แก่ ผู้มีสติด้วยเหตุ ๔ อย่าง คือ (๑) ชื่อว่ามีสติ เมื่อเจริญสติปัฏฐานพิจารณากาย ในกาย ฯลฯ พระอรหันตขีณาสพเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกว่า ผู้มีสติ รวมความว่า ชนเหล่าใดผู้มี สติ รู้นิพพานนั้นแล้ว คาว่า เห็นธรรม ในคาว่า เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว อธิบายว่า ผู้เห็นธรรม คือ ผู้รู้ธรรม ผู้ เทียบเคียงธรรม ผู้พิจารณาธรรม ผู้รู้แจ้งธรรม ผู้เห็นแจ้งธรรม ได้แก่ ผู้เห็นธรรม คือ ผู้รู้ธรรม ผู้เทียบเคียง ธรรม ผู้พิจารณาธรรม ผู้รู้แจ้งธรรม ผู้เห็นแจ้งธรรมว่า “สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง ฯลฯ สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความ เกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา” คาว่า ดับกิเลสได้แล้ว อธิบายว่า ชื่อว่าดับกิเลสได้แล้ว เพราะเป็นผู้ทาให้ราคะดับแล้ว ชื่อว่าดับ กิเลสได้แล้ว เพราะเป็นผู้ทาให้โทสะดับแล้ว ชื่อว่าดับกิเลสได้แล้ว เพราะเป็นผู้ทาให้โมหะดับแล้ว ชื่อว่าดับ กิเลสได้แล้ว เพราะเป็นผู้ทาให้โกธะ ฯลฯ อุปนาหะ ฯลฯ อกุสลาภิสังขารทุกประเภทดับแล้ว รวมความว่า เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว คาว่า เป็นผู้สงบ ในคาว่า ชนเหล่านั้น เป็นผู้สงบทุกเมื่อ อธิบายว่า ชื่อว่าเป็นผู้สงบ เพราะสงบ ราคะ ชื่อว่าเป็นผู้สงบ เพราะสงบโทสะ ชื่อว่าเป็นผู้สงบ เพราะสงบโมหะ คือ สงบแล้ว เข้าไปสงบแล้ว สงบ เย็นแล้ว ดับได้แล้ว ระงับได้แล้ว เพราะสงบ ระงับ สงบเย็น เผา ดับ ปราศจาก สงบระงับโกธะ อุปนาหะ ฯลฯ อกุสลาภิสังขารทุกประเภทแล้ว รวมความว่า เป็นผู้สงบ คาว่า เหล่านั้น ได้แก่ พระอรหันตขีณาสพ คาว่า ทุกเมื่อ อธิบายว่า ทุกเมื่อ คือ ในกาลทุกเมื่อ ตลอดกาลทั้งปวง ตลอดกาลเป็นนิจ ตลอด กาลยั่งยืน ตลอดกาลต่อเนื่องกัน ตลอดกาลสืบเนื่องกัน ตลอดกาลติดต่อกัน ตลอดกาลเป็นลาดับ ตลอด กาลติดต่อกันเหมือนระลอกคลื่น ตลอดกาลเป็นไปต่อเนื่องไม่ขาดสาย ตลอดกาลสืบต่อกันกระชั้นชิด ตลอดกาลก่อนภัต หลังภัต ตลอดปฐมยาม มัชฌิมยาม ปัจฉิมยาม ตลอดข้างแรม ข้างขึ้น ตลอดฤดูฝน ฤดู หนาว ฤดูร้อน ตลอดปฐมวัย มัชฌิมวัย ปัจฉิมวัย รวมความว่า ชนเหล่านั้นเป็นผู้สงบทุกเมื่อ คาว่า ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว อธิบายว่า ตัณหา ตรัสเรียกว่า วิสัตติกา คือ ความกาหนัด ความกาหนัดนัก ฯลฯ อภิชฌา อกุศลมูลคือโลภะ คาว่า วิสัตติกา อธิบายว่า ตัณหาชื่อว่าวิสัตติกา เพราะมีความหมายว่าอย่างไร ฯลฯ ซ่านไป ขยายไป ฉะนั้น จึงชื่อว่าวิสัตติกา คาว่า ในโลก ได้แก่ ในอบายโลก ฯลฯ อายตนโลก
  • 8. 8 คาว่า เป็นผู้ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว อธิบายว่า ตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลก พระอรหันตขีณาสพ เป็นผู้ข้าม คือ ข้ามขึ้น ข้ามพ้น ก้าวล่วง ก้าวพ้น ล่วงพ้นตัณหาชื่อว่าวิสัตติกาในโลก แล้ว รวมความว่า เป็นผู้ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคจึงตรัสตอบ ว่า ชนเหล่าใดผู้มีสติ รู้นิพพานนั้นแล้ว เห็นธรรม ดับกิเลสได้แล้ว ชนเหล่านั้น เป็นสงบทุกเมื่อ ข้ามตัณหาที่ชื่อว่าวิสัตติกาในโลกได้แล้ว พร้อมกับการจบคาถา ฯลฯ เหมกมาณพ... โดยประกาศว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระ ภาคเป็นศาสดาของข้าพระองค์ ข้าพระองค์เป็นสาวก” เหมกมาณวปัญหานิทเทสที่ ๘ จบ ------------------------------------------