SlideShare a Scribd company logo
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
การเขียนโปรแกรมแบบโปรแกรมย่อย
วัตถุประสงค์ของการสร้างโปรแกรมย่อย
1. เป็นส่วนโปรแกรมที่ใช้ซ้ากันในหลาย ๆ แห่ง และจะแยกออกมาทาเป็นโปรแกรมย่อย
2. เป็นคาที่สร้างขึ้นใหม่ เพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป
3. เมื่อต้องการเขียนโปรแกรมเป็น Module จุดประสงค์ของการเขียนโปรแกรมเป็น Module ก็เพื่อ
ตรวจหาที่ผิดได้ง่าย ดังนั้น โปรแกรมย่อยหนึ่ง ๆ ก็คือ Module ๆ หนึ่ง
4. เพื่อสนองความต้องการของการเขียนโปรแกรมจากบนลงล่าง
ประเภทของโปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่เฉพาะตัวโดยแยกการทางานออกจาก
โปรแกรมอย่างอิสระ
การเขียนโปรแกรมที่มีการทางานแบบโปรแกรมย่อยจะช่วยลดความซับซ้อนของโปรแกรม ซึ่งจะทาให้สามารถแก้ไขและ
เพิ่มเติม การทางานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ในบางครั้งโปรแกรมหลักจะมีการส่งข้อมูลไปทางานในโปรแกรมย่อยด้วย โดย
ข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์ (Parameter)
Visual Basic 2008 สามารแบ่งโปรแกรมย่อยได้ 2 ประเภท คือ
Sub มาจากคาเต็มว่า ซับรูทีน (Subroutine) เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานแล้ว จะไม่มีการส่งผลการทางานกลับไปยัง
โปรแกรม ที่เรียกซับรูทีนนี้ ใช้งาน
Function เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานเสร็จแล้ว จะต้องมีการส่งผลการทางานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนี้ ใช้งาน
ในที่นี้ ผู้เรียกใช้ Sub หรือ Function จะเป็นตัวโปรแกรมหลัก หรือโปรแกรมย่อยอื่นๆก็ได้
การใช้ ฟังก์ชันมาตรฐาน ภาษาซี
ฟังก์ชันในภาษา C โดยจะประกอบไปด้วยเนื้ อหาหลัก ๆ คือ เรื่องที่
หนึ่ง ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียน
ขึ้นและเก็บไว้ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้มที่มี
นามสกุล *.h ต่าง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้นหรือเรียก
อีกอย่างว่าโปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมาใช้งานอย่างใด
อย่างหนึ่งตามความต้องการของงานนั้น ๆ โดยรายละเอียดของแต่ละ
ฟังก์ชันมีดังต่อไปนี้
ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions)
เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้
ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ เมื่อ
ต้องการใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้
คาสั่ง #include<header file.h> เข้ามาในส่วนตอนต้นของโปรแกรม จึงจะ
สามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็นฟังก์ชันที่
บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วยในการเขียนโปรแกรมทาให้
การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้งเราอาจจะเรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า ”
ไลบรารีฟังก์ชัน” (library functions)
1.1 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions)
เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่จะใช้
ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่
ตอนต้นของโปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องมี
ชนิด (type) เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชัน
ประเภทนี้ จะได้ค่าส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน
กรณีศึกษาการใช่โปรแกรมย่อย
1. พิมพ์ส่วนหัวของโปรแกรมย่อยลงในหน้าต่าง Code Editor
จากนั้นกด Enter
2. จะปรากฎข้อความ End Sub ของโปรแกรมย่อยนั้น จากนั้น
พิมพ์คาสั่งสร้างโปรแกรมย่อย
การแสดงหรือแก้ไขคาสั่งที่อยู่ในโปรแกรมย่อย
1. เลือกคลาสที่จะประกาศโปรแกรมย่อย จากรายการ Object ListBox
(เลือก Module1)
2. เลือกชื่อโปรแกรมย่อยที่ต้องการ จากรายการ Procedure ListBox
(เลือก MyFunction)
3. VB.NET จะแสดงโปรแกรมย่อยที่เลือก
กรณีศึกษาการใช่ฟังก์ชันมาตรฐาน
ฟังก์ชันมาตรฐาน (Standard Function)
ฟังก์ชันมาตรฐาน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจาก
ไลบรารี่ของภาษาซีได้ทันที เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับ
สตริง ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแสดงผล และ
ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเวลา เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรารี่ผ่านคาสั่ง
#include แล้วตามด้วยชื่อของไลบรารี่นั้น ๆ ในส่วนของ header
directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
2.1ไลบรารี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.1.1 ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล
2.1.2 ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล
2.2 ไลบรารี่ (library) conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.1.1 ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter
2.1.2 ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter
2.1.3 ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับข้อมูล
2.1.4 ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ
2.1.5 ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ
2.3 ไลบรารี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.3.1 ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รับเข้ามา
2.3.2 ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการทาสาเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยังอีกข้อความหนึ่ง
2.3.3 ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ
2.3.4 ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
2.4 ไลบรารี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.4.1 ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจานวนเต็ม
2.4.2 ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential)
2.4.3 ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy
2.4.4 ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x
2.4.5 ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x
2.4.6 ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x
2.4.7 ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n
2.4.8 ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10
2.4.9 ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x
2.4.10 ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x
2.4.11 ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ (absolute value) x
2.5 ไลบรารี่ (library) ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.5.1 ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น
ตัวอักษรหรือตัวเลข
2.5.2 ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น
ตัวอักษรหรือไม่
2.5.3 ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเลข 0 ถึง
9 หรือไม่
2.5.4 ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเล็ก
หรือไม่
2.5.5 ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่
หรือไม่
2.5.6 ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก
2.5.7 ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กให้เป็นตัวใหญ่
2.6 ไลบรารี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.6.1 ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น
ตัวเลขจานวนเต็ม (integer)
2.6.2 ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น
ตัวเลขจานวนทศนิยม( flot)
2.6.3 ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น
ตัวเลขจานวนเต็ม (integer) ชนิด long integer
2.7 ไลบรารี่ (library) dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้
2.7.1 ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของระบบปฏิบัติการ
2.7.2 ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของระบบปฏิบัติการ
หลังจากเมื่อต้นปี ทาง Lenovo ได้เปิดตัวซับแบรนด์น้องใหม่ที่ชื่อว่า Legion แบ
รนด์เกมมิ่งเกียร์ ภายในงาน CES 2017 ที่ผ่านมา ก็ถึงเวลาที่ทาง Lenovo ประเทศ
ไทยจะเปิดตัวแบรนด์น้องใหม่สุดร้อนแรงนี้ อย่างเป็นทางการในประเทศไทยกันบ้าง ซึ่ง
ภายในงานนี้ ยังได้มีการนา Gaming Laptop ซีรีย์ล่าสุดทั้ง Y520 และ Y720 มา
ให้ได้ชมกัน รวมทั้งได้ให้ข้อมูลเกมมิ่งแล็ปท็อปทั้ง 3 รุ่น (รวมรุ่น Y920) ให้ได้ทราบ
กันภายในงานอีกด้วย
ในปี 2005 นาย Mark Zuckerberg ตัดสินใจดรอปการเรียนในสาขา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ จากมหาวิทยาลัย Harvard เพื่อมาทางานในตาแหน่ง
CEO ของบริษัทที่มีมูลค่ากว่า 4 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 14 ล้านล้าน
บาท) เขามีความมุ่งมั่นในการปลุกปั้นบริการโซเชียลเน็ตเวิร์คน้องใหม่ จนประสบ
ความสาเร็จเป็นอย่างสูงในปัจจุบัน และในเวลานี้ หลังจากที่เขาดรอปการเรียนมา
เป็นเวลาร่วม 12 ปี CEO ของ Facebook ได้ส่งข้อความไปยัง
มหาวิทยาลัย Harvard ว่าเข้าต้องการกลับเข้าคลาสเรียนอีกครั้งในปี 2017
และคราวนี้ เขาจะต้องเรียนจบให้ได้
ซึ่งข่าวการกลับมาเรียนอีกครั้งของ Mark Zuckerberg ได้ถูกเผยแพร่ผ่าน
เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย Harvard โดยคุณ Drew Faust ดารงตาแหน่ง
ผู้อานวยการของ Harvard ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ เอาไว้ว่า "บทบาทความ
เป็นผู้นาของ Mark Zuckerberg ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ในฐานะที่ทา
ให้โซเชียลเน็ตเวิร์คได้รับความนิยม และเติบโตมาจนถึงปัจจุบันนี้
และ Facebook เป็นนวัตกรรมที่สาคัญของโลกยุคใหม่ มันส่งผลกระทบต่อ
การที่ผู้คนทั้งโลก มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน และถ้าพูดถึงในเรื่องของการที่ใคร
สักคน สามารถนาเทคโนโลยี มาเปลี่ยนแปลงโลกได้อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน ก็
ยากที่จะหาใครมาเทียบเคียงกับเขาได้ นอกจากการเป็นผู้ก่อตั้ง Facebook
แล้ว Mark Zuckerberg ยังให้ความสาคัญกับงานทางด้านอื่นๆ ที่ผลักดัน
วิทยาการของโลกให้ก้าวหน้าไป รวมถึงส่งเสริมการศึกษา และยังแสดงออกถึงความ
เป็นผู้ใจบุญเอื้อเฟื้ อต่อผู้อื่นอีกด้วย"
ต้องบอกว่านี่เป็นข่าวดีสาหรับแฮกเกอร์ รวมถึงบรรดานักล่าบักบนระบบซอฟต์แวร์
ต่างๆ เลยทีเดียว เพราะทางบริษัทไอทียักษ์ใหญ่ 2 รายอย่าง Google
และ Microsoft ส่งคาเชิญไปยังบรรดาแฮกเกอร์ นักล่าบัก รวมถึงนักวิจัย
ทางด้านระบบความปลอดภัยข้อมูล ให้มาหากินในเชิงสร้างสรรค์ และถูก
กฎหมาย ด้วยการเพิ่มเงินรางวัล แก่ผู้ที่แจ้งเบาะแส เกี่ยวกับจุดอ่อน หรือช่อง
โหว่ทางด้านความปลอดภัยที่มีอยู่ในระบบซอฟต์แวร์ต่างๆ ของทาง Google
และ Microsoft
ผู้จัดทา
นาย วรวุฒิ เลขที่ 3
นางสาว เบญจมาศ เลขที่ 20
นางสาว โชติรส เลขที่ 21
นางสาว ทักษพร เลขที่ 22
นางสาว นฤมล เลขที่ 23
โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
วิชา การเขียนโปรแกรมประยุกต์ (ง30213)
ครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม

More Related Content

What's hot

ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
Morn Suwanno
 
การเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcelการเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcelKrongkaew kumpet
 
Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Theeravaj Tum
 

What's hot (7)

3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
Presenter
PresenterPresenter
Presenter
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
Presenter1234567
Presenter1234567Presenter1234567
Presenter1234567
 
การเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcelการเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcel
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0
 

Viewers also liked

การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
RCRA training
RCRA trainingRCRA training
RCRA training
hazcomtraining
 
Contabilidad
ContabilidadContabilidad
Contabilidad
alvaro sierra
 
Three easy ways to lose weight
Three easy ways to lose weightThree easy ways to lose weight
Three easy ways to lose weight
Naim Khalid
 
Ten facts about obesity
Ten facts about obesityTen facts about obesity
Ten facts about obesity
Naim Khalid
 
Final atp2017 smarter proctoring
Final atp2017 smarter proctoringFinal atp2017 smarter proctoring
Final atp2017 smarter proctoring
Mac Adkins
 
Premier Oil Investor Presentation 2017-February
Premier Oil Investor Presentation 2017-FebruaryPremier Oil Investor Presentation 2017-February
Premier Oil Investor Presentation 2017-February
OILWIRE
 
Contabilidad: santiago duque
Contabilidad: santiago duqueContabilidad: santiago duque
Contabilidad: santiago duque
santiago duque
 
Bridging Funders and Communities in the Trump Era: CHANGE Partner Briefing
Bridging Funders and Communities in the Trump Era: CHANGE Partner BriefingBridging Funders and Communities in the Trump Era: CHANGE Partner Briefing
Bridging Funders and Communities in the Trump Era: CHANGE Partner Briefing
Maria Teresa Mabry
 
Errores de una investigación de mercado
Errores de una investigación de mercadoErrores de una investigación de mercado
Errores de una investigación de mercado
gabriela rodriguez
 
Contabiladad.
Contabiladad.Contabiladad.
Contabiladad.
JhonathanHerrera04
 

Viewers also liked (13)

การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
RCRA training
RCRA trainingRCRA training
RCRA training
 
Contabilidad
ContabilidadContabilidad
Contabilidad
 
Three easy ways to lose weight
Three easy ways to lose weightThree easy ways to lose weight
Three easy ways to lose weight
 
Ten facts about obesity
Ten facts about obesityTen facts about obesity
Ten facts about obesity
 
Final atp2017 smarter proctoring
Final atp2017 smarter proctoringFinal atp2017 smarter proctoring
Final atp2017 smarter proctoring
 
Premier Oil Investor Presentation 2017-February
Premier Oil Investor Presentation 2017-FebruaryPremier Oil Investor Presentation 2017-February
Premier Oil Investor Presentation 2017-February
 
Contabilidad: santiago duque
Contabilidad: santiago duqueContabilidad: santiago duque
Contabilidad: santiago duque
 
Bridging Funders and Communities in the Trump Era: CHANGE Partner Briefing
Bridging Funders and Communities in the Trump Era: CHANGE Partner BriefingBridging Funders and Communities in the Trump Era: CHANGE Partner Briefing
Bridging Funders and Communities in the Trump Era: CHANGE Partner Briefing
 
Errores de una investigación de mercado
Errores de una investigación de mercadoErrores de una investigación de mercado
Errores de una investigación de mercado
 
Contabiladad.
Contabiladad.Contabiladad.
Contabiladad.
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานPrapatsorn Keawnoun
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...Monnapa Insang
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
Worapod Khomkham
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Thachanok Plubpibool
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
Thachanok Plubpibool
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
Kanchana Theugcharoon
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6Tom Nuntiya
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอมdekthai
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอมNooLuck
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกNuunamnoy Singkham
 
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. StaffBasic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. StaffKrit Kamtuo
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
Parn Nichakorn
 

Similar to โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (20)

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน...
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชั่นมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน (1)
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
Mindmapping
MindmappingMindmapping
Mindmapping
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6
 
งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1งานทำBlog บทที่ 1
งานทำBlog บทที่ 1
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา Cโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
 
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
 
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. StaffBasic Windows 7 Application for KKU. Staff
Basic Windows 7 Application for KKU. Staff
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
Learn 1
Learn 1Learn 1
Learn 1
 

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน

  • 3. วัตถุประสงค์ของการสร้างโปรแกรมย่อย 1. เป็นส่วนโปรแกรมที่ใช้ซ้ากันในหลาย ๆ แห่ง และจะแยกออกมาทาเป็นโปรแกรมย่อย 2. เป็นคาที่สร้างขึ้นใหม่ เพื่อเก็บไว้ใช้ต่อไป 3. เมื่อต้องการเขียนโปรแกรมเป็น Module จุดประสงค์ของการเขียนโปรแกรมเป็น Module ก็เพื่อ ตรวจหาที่ผิดได้ง่าย ดังนั้น โปรแกรมย่อยหนึ่ง ๆ ก็คือ Module ๆ หนึ่ง 4. เพื่อสนองความต้องการของการเขียนโปรแกรมจากบนลงล่าง
  • 4. ประเภทของโปรแกรมย่อย (Procedure) เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรม มีหน้าที่เฉพาะตัวโดยแยกการทางานออกจาก โปรแกรมอย่างอิสระ การเขียนโปรแกรมที่มีการทางานแบบโปรแกรมย่อยจะช่วยลดความซับซ้อนของโปรแกรม ซึ่งจะทาให้สามารถแก้ไขและ เพิ่มเติม การทางานของโปรแกรมได้ง่ายขึ้น ในบางครั้งโปรแกรมหลักจะมีการส่งข้อมูลไปทางานในโปรแกรมย่อยด้วย โดย ข้อมูลนั้นจะเก็บอยู่ในรูป ตัวแปรพิเศษเรียกว่า พารามิเตอร์ (Parameter) Visual Basic 2008 สามารแบ่งโปรแกรมย่อยได้ 2 ประเภท คือ Sub มาจากคาเต็มว่า ซับรูทีน (Subroutine) เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานแล้ว จะไม่มีการส่งผลการทางานกลับไปยัง โปรแกรม ที่เรียกซับรูทีนนี้ ใช้งาน Function เป็นโปรแกรมย่อยเมื่อทางานเสร็จแล้ว จะต้องมีการส่งผลการทางานกลับไปยังโปรแกรมที่เรียกฟังก์ชันนี้ ใช้งาน ในที่นี้ ผู้เรียกใช้ Sub หรือ Function จะเป็นตัวโปรแกรมหลัก หรือโปรแกรมย่อยอื่นๆก็ได้
  • 6. ฟังก์ชันในภาษา C โดยจะประกอบไปด้วยเนื้ อหาหลัก ๆ คือ เรื่องที่ หนึ่ง ฟังก์ชันมาตรฐาน เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียน ขึ้นและเก็บไว้ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้มที่มี นามสกุล *.h ต่าง ๆ ส่วนเรื่องที่สอง เป็นฟังก์ชันที่เขียนขึ้นหรือเรียก อีกอย่างว่าโปรแกรมย่อย ที่ผู้เขียนโปรแกรมเขียนขึ้นมาใช้งานอย่างใด อย่างหนึ่งตามความต้องการของงานนั้น ๆ โดยรายละเอียดของแต่ละ ฟังก์ชันมีดังต่อไปนี้
  • 7. ฟังก์ชันมาตรฐาน (standard functions) เป็นฟังก์ชันที่บริษัทที่ผลิตภาษา C ได้เขียนขึ้นและเก็บไว้ ใน header file ภาษา C คือเก็บไว้ในแฟ้มที่มีนามสกุล *.h ต่าง ๆ เมื่อ ต้องการใช้ฟังก์ชันใด จะต้องรู้ว่าฟังก์ชันนั้นอยู่ใน header file ใดจากนั้นจึงค่อยใช้ คาสั่ง #include<header file.h> เข้ามาในส่วนตอนต้นของโปรแกรม จึงจะ สามารถใช้ฟังก์ชันที่ต้องการได้ ซึ่งฟังก์ชันมาตรฐานเป็นฟังก์ชันที่ บริษัทผู้ผลิต C compiler เขียนขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้นาไปช่วยในการเขียนโปรแกรมทาให้ การเขียนโปรแกรมสะดวกและง่ายขึ้น บางครั้งเราอาจจะเรียกฟังก์ชันมาตรฐานว่า ” ไลบรารีฟังก์ชัน” (library functions)
  • 8. 1.1 ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ (mathematic functions) เป็นฟังก์ชันที่ใช้สาหรับการคานวณทางคณิตศาสตร์ และก่อนที่จะใช้ ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องใช้คาสั่ง #include <math.h> แทรกอยู่ ตอนต้นของโปรแกรม และตัวแปรที่จะใช้ฟังก์ชันประเภทนี้ จะต้องมี ชนิด (type) เป็น double เนื่องจากผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชัน ประเภทนี้ จะได้ค่าส่งกลับของข้อมูลเป็น double เช่นกัน
  • 11. 2. จะปรากฎข้อความ End Sub ของโปรแกรมย่อยนั้น จากนั้น พิมพ์คาสั่งสร้างโปรแกรมย่อย
  • 12. การแสดงหรือแก้ไขคาสั่งที่อยู่ในโปรแกรมย่อย 1. เลือกคลาสที่จะประกาศโปรแกรมย่อย จากรายการ Object ListBox (เลือก Module1) 2. เลือกชื่อโปรแกรมย่อยที่ต้องการ จากรายการ Procedure ListBox (เลือก MyFunction) 3. VB.NET จะแสดงโปรแกรมย่อยที่เลือก
  • 14. ฟังก์ชันมาตรฐาน (Standard Function) ฟังก์ชันมาตรฐาน คือ ฟังก์ชันที่ผู้ใช้สามารถเรียกใช้งานจาก ไลบรารี่ของภาษาซีได้ทันที เช่น ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเกี่ยวกับ สตริง ฟังก์ชันเกี่ยวกับการเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเกี่ยวกับการแสดงผล และ ฟังก์ชันเกี่ยวกับวันเวลา เป็นต้น โดยจะเรียกไลบรารี่ผ่านคาสั่ง #include แล้วตามด้วยชื่อของไลบรารี่นั้น ๆ ในส่วนของ header directive ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
  • 15. 2.1ไลบรารี่ (library) stdio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.1.1 ฟังก์ชัน printf() ใช้ในการแสดงผลข้อมูล 2.1.2 ฟังก์ชัน Scanf() ใช้ในการรับข้อมูล 2.2 ไลบรารี่ (library) conio.h เกี่ยวกับการแสดงผลทางจอภาพ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.1.1 ฟังก์ชัน getchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยการกด Enter 2.1.2 ฟังก์ชัน getche() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระ โดยไม่ต้องกด Enter 2.1.3 ฟังก์ชัน getch() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระไม่ปรากฏให้เห็นในการรับข้อมูล 2.1.4 ฟังก์ชัน putchar() ใช้ในการรับข้อมูล 1 อักขระออกทางจอภาพ 2.1.5 ฟังก์ชัน clrscr() ใช้ในการลบจอภาพ 2.3 ไลบรารี่ (library) string.h เกี่ยวกับข้อความ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.3.1 ฟังก์ชัน strlen() ใช้ในการนับความยาวของอักขระที่รับเข้ามา 2.3.2 ฟังก์ชัน strcpy() ใช้ในการทาสาเนาข้อความจากข้อความหนึ่งไปยังอีกข้อความหนึ่ง 2.3.3 ฟังก์ชัน strcmp () ใช้ในการเปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความ 2.3.4 ฟังก์ชัน strcal() ใช้ในการเชื่อมตั้งแต่ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
  • 16. 2.4 ไลบรารี่ (library)marth.h เกี่ยวกับทางคณิตศาสตร์ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.4.1 ฟังก์ชัน sqrt() ใช้ในการหาราก (root) ที่สองของเลขจานวนเต็ม 2.4.2 ฟังก์ชัน exp(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า ex (Exponential) 2.4.3 ฟังก์ชัน pow(x,y) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า xy 2.4.4 ฟังก์ชัน sin(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า sine ของ x 2.4.5 ฟังก์ชัน cos(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า cosine ของ x 2.4.6 ฟังก์ชัน tan(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า tan ของ x 2.4.7 ฟังก์ชัน log(n) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน n 2.4.8 ฟังก์ชัน log10(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่า log ฐาน 10 2.4.9 ฟังก์ชัน ceil(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าปัดเศษทศนิยมของตัวแปร x 2.4.10 ฟังก์ชัน floor(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าตัดเศษทศนิยมทิ้งของตัวแปร x 2.4.11 ฟังก์ชัน fabs(x) เป็นฟังก์ชันที่ใช้หาค่าสมบูรณ์ (absolute value) x
  • 17. 2.5 ไลบรารี่ (library) ctype.h เกี่ยวกับตัวอักษร มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.5.1 ฟังก์ชัน isalnum(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น ตัวอักษรหรือตัวเลข 2.5.2 ฟังก์ชัน isalpha(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรมีค่าเป็น ตัวอักษรหรือไม่ 2.5.3 ฟังก์ชัน isdigit(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเลข 0 ถึง 9 หรือไม่ 2.5.4 ฟังก์ชัน islower(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวเล็ก หรือไม่ 2.5.5 ฟังก์ชัน isupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ตรวจสอบว่าข้อมูลที่อยู่ในตัวแปรเป็นตัวใหญ่ หรือไม่ 2.5.6 ฟังก์ชัน tolowre(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวใหญ่ให้เป็นตัวเล็ก 2.5.7 ฟังก์ชัน toupper(ch) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการเปลี่ยนตัวอักษรตัวเล็กให้เป็นตัวใหญ่
  • 18. 2.6 ไลบรารี่ (library) stdlib.h เกี่ยวกับการแปลงค่า string มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.6.1 ฟังก์ชัน atoi(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น ตัวเลขจานวนเต็ม (integer) 2.6.2 ฟังก์ชัน atof(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น ตัวเลขจานวนทศนิยม( flot) 2.6.3 ฟังก์ชัน atol(s) เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการแปลงค่า ข้อความ (string) เป็น ตัวเลขจานวนเต็ม (integer) ชนิด long integer 2.7 ไลบรารี่ (library) dos.h เกี่ยวกับการติดต่อระบบปฏิบัติการ มีฟังก์ชันที่ใช้ดังนี้ 2.7.1 ฟังก์ชัน gettime() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อเวลาของระบบปฏิบัติการ 2.7.2 ฟังก์ชัน getdate() เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการติดต่อวันที่ของระบบปฏิบัติการ
  • 19. หลังจากเมื่อต้นปี ทาง Lenovo ได้เปิดตัวซับแบรนด์น้องใหม่ที่ชื่อว่า Legion แบ รนด์เกมมิ่งเกียร์ ภายในงาน CES 2017 ที่ผ่านมา ก็ถึงเวลาที่ทาง Lenovo ประเทศ ไทยจะเปิดตัวแบรนด์น้องใหม่สุดร้อนแรงนี้ อย่างเป็นทางการในประเทศไทยกันบ้าง ซึ่ง ภายในงานนี้ ยังได้มีการนา Gaming Laptop ซีรีย์ล่าสุดทั้ง Y520 และ Y720 มา ให้ได้ชมกัน รวมทั้งได้ให้ข้อมูลเกมมิ่งแล็ปท็อปทั้ง 3 รุ่น (รวมรุ่น Y920) ให้ได้ทราบ กันภายในงานอีกด้วย
  • 20. ในปี 2005 นาย Mark Zuckerberg ตัดสินใจดรอปการเรียนในสาขา วิทยาการคอมพิวเตอร์ จากมหาวิทยาลัย Harvard เพื่อมาทางานในตาแหน่ง CEO ของบริษัทที่มีมูลค่ากว่า 4 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 14 ล้านล้าน บาท) เขามีความมุ่งมั่นในการปลุกปั้นบริการโซเชียลเน็ตเวิร์คน้องใหม่ จนประสบ ความสาเร็จเป็นอย่างสูงในปัจจุบัน และในเวลานี้ หลังจากที่เขาดรอปการเรียนมา เป็นเวลาร่วม 12 ปี CEO ของ Facebook ได้ส่งข้อความไปยัง มหาวิทยาลัย Harvard ว่าเข้าต้องการกลับเข้าคลาสเรียนอีกครั้งในปี 2017
  • 21. และคราวนี้ เขาจะต้องเรียนจบให้ได้ ซึ่งข่าวการกลับมาเรียนอีกครั้งของ Mark Zuckerberg ได้ถูกเผยแพร่ผ่าน เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย Harvard โดยคุณ Drew Faust ดารงตาแหน่ง ผู้อานวยการของ Harvard ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องนี้ เอาไว้ว่า "บทบาทความ เป็นผู้นาของ Mark Zuckerberg ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ในฐานะที่ทา ให้โซเชียลเน็ตเวิร์คได้รับความนิยม และเติบโตมาจนถึงปัจจุบันนี้ และ Facebook เป็นนวัตกรรมที่สาคัญของโลกยุคใหม่ มันส่งผลกระทบต่อ การที่ผู้คนทั้งโลก มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน และถ้าพูดถึงในเรื่องของการที่ใคร สักคน สามารถนาเทคโนโลยี มาเปลี่ยนแปลงโลกได้อย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน ก็ ยากที่จะหาใครมาเทียบเคียงกับเขาได้ นอกจากการเป็นผู้ก่อตั้ง Facebook แล้ว Mark Zuckerberg ยังให้ความสาคัญกับงานทางด้านอื่นๆ ที่ผลักดัน วิทยาการของโลกให้ก้าวหน้าไป รวมถึงส่งเสริมการศึกษา และยังแสดงออกถึงความ เป็นผู้ใจบุญเอื้อเฟื้ อต่อผู้อื่นอีกด้วย"
  • 22. ต้องบอกว่านี่เป็นข่าวดีสาหรับแฮกเกอร์ รวมถึงบรรดานักล่าบักบนระบบซอฟต์แวร์ ต่างๆ เลยทีเดียว เพราะทางบริษัทไอทียักษ์ใหญ่ 2 รายอย่าง Google และ Microsoft ส่งคาเชิญไปยังบรรดาแฮกเกอร์ นักล่าบัก รวมถึงนักวิจัย ทางด้านระบบความปลอดภัยข้อมูล ให้มาหากินในเชิงสร้างสรรค์ และถูก กฎหมาย ด้วยการเพิ่มเงินรางวัล แก่ผู้ที่แจ้งเบาะแส เกี่ยวกับจุดอ่อน หรือช่อง โหว่ทางด้านความปลอดภัยที่มีอยู่ในระบบซอฟต์แวร์ต่างๆ ของทาง Google และ Microsoft
  • 23. ผู้จัดทา นาย วรวุฒิ เลขที่ 3 นางสาว เบญจมาศ เลขที่ 20 นางสาว โชติรส เลขที่ 21 นางสาว ทักษพร เลขที่ 22 นางสาว นฤมล เลขที่ 23 โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี วิชา การเขียนโปรแกรมประยุกต์ (ง30213) ครู ทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม