SlideShare a Scribd company logo
1 of 12

การประกาศฟังก์ชันหรือ Method รูปแบบทั่วไปของ Method จะเป็นดังนี้
Accessibility return_data_type methodName(parameter_list ) { //
รายละเอียด }
•Accessibility คือ การกาหนดชนิดการเรียกใช้และการเข้าถึง Method
ตัวอย่างของ Accessibility เช่น public,protected,private,static เป็นต้น
•return_data_type คือ ค่าที่ส่งกลับมาจาก Method ถ้าไม่มีใช้คาว่า Void
ตัวอย่างของ return_data_type เช่น int,char,string,float,int[ ],string[ ] เป็นต้น
•methodName คือ ชื่อของ method เช่น maxFunction
•parameter_list คือ ตัวแปรที่รับเข้ามาใน method
ตัวอย่างของ parameter_list เช่น int x1,float x2,char x3 เป็นต้น
•ตัวอย่างการประกาศ Method
โครงสร้างของเมธอด (Method Structure)

คลาส Math
Abs() ใช้หาค่าสัมบูรณ์
Sqrt() ใช้หาค่ารากที่สอง
Now() ใช้หาค่ายกกาลัง
Ceil() ใช้ปัดเศษค่าทศนิยมให้มากขึ้น
Floor() ใช้ปัดเศษทศนิยมให้มีค่าน้อยล
แนะนาคลาส Math และเมธอดทางคณิตศาสตร์
คลาส Math เป็นคลาสที่ Java มีมาให้อยู่แล้วเพื่อใช้สาหรับการประมวลผลทางคณิตศาสตร์
คลาส Math นี้จะอยู่ในแพคเกจ Java.lang คลาสนี้มีค่าคงตัวที่น่าสนใจ 2 ตัวคือ
1.Math.E
2.Math.Pl
ตัวอย่างคลาส Math
 การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุโดยใช้ Java : การเรียกใช้ method ของ object
 objectName .methodName[(arguments)];
 objectName คือชื่อของ object
 methodName คือชื่อ method ของ object นั้น
 arguments คือค่าที่ต้องการส่งผ่านไปให้กับ method ของ object นั้น โดยที่จะต้องมีชนิดข้อมูลและจานวน
argument ให้สอดคล้องกับที่ประกาศใน method ของ object นั้น
 ตัวอย่าง
 s1.setName(“Thana”);
ตัวอย่างคลาส ที่เตรียมให้ถูกเรียกใช้class TAirPlane { int color; // สี เป็น คุณสมบัติอีกแบบ static
void Fly() { }; // บิน เป็น พฤติกรรม หรือ กริยา ที่ object ทาได้ static void Land() { }; // ลงจอด
เป็น อีกพฤติกรรมหนึ่ง TAirPlane() { System.out.println(“result of constructor”); }}
TAirPlane AirPlane1; // สร้าง object ชื่อ AirPlane1 จาก class ชื่อ
TAirPlaneAirPlane1 = new AirPlane1(); // จองพื้นที่ในหน่วยความจา จึงจะเริ่มเรียกใช้ได้
AirPlane1.Fly(); // สั่งให้ object AirPlane1 ทากริยา บินAirPlane1.color = RED; //
เปลี่ยน สี (คุณสมบัติ) ของเครื่องบิน ให้เป็นสีแดง
การเรียกใช้methods

 วิธีเรียกใช้ method แบบต่าง ๆ
 แบบที่ 1 : เรียกใช้ Constructor และใช้พื้นที่ในหน่วยความจาclass hello1 { public
static void main(String args[]) { TAirPlane abc = new
TAirPlane(); }} แบบที่ 2 : แยกประกาศใช้คลาสและใช้พื้นที่ในหน่วยความจาclass hello2 {
public static void main(String args[]) { TAirPlane abc; abc =
new TAirPlane(); }} แบบที่ 3 : ใช้พื้นที่ในหน่วยความจา และเป็นการเรียกใช้ constructor
ซึ่ง class นี้ ต้องอยู่ใน Directory เดียวกันclass hello3 { public static void
main(String args[]) { new TAirPlane(); }} แบบที่ 4 : เรียกใช้ method
Fly() แต่จะเรียก constructor มาก่อน ถ้า class นั้นมี constructorclass hello4 {
public static void main(String args[]) { new TAirPlane().Fly(); }}
แบบที่ 5 : เมื่อสร้างวัตถุขึ้นมา สามารถเรียกใช้ method อื่น โดย constructor ทางานเฉพาะครั้งแรก
class hello5 { public static void main(String args[]) { TAirPlane
abc = new TAirPlane(); abc.Fly(); abc.Land(); }} แบบที่ 6 : แสดงตัวอย่าง
การเรียก main และต้องส่ง Array of String เข้าไปclass hello6 { public static
void main(String args[]) { TAirPlane abc = new TAirPlane();
String a[] = {}; // new String[0]; abc.main(a); }} แบบที่ 7 : เรียกใช้
method ภายในคลาสเดียวกันclass hello7 { public static void main(String
args[]) { minihello(); } static void minihello() {
System.out.println(“result of mini hello”); }} แบบที่ 8 : เรียกใช้ method
แบบอ้างชื่อคลาส ในคลาสเดียวกันclass hello8 { public static void main(String
args[]) { hello8 x = new hello8(); x.minihello(); } static void
minihello() { System.out.println(“result of mini hello”); }} แบบที่ 9 :
เรียกใช้ method แบบไม่กาหนด method เป็น Static พร้อมรับ และคืนค่า:: ผลลัพธ์คือ 8

 class hello9 { public static void main(String args[]) { hello9 xx
= new hello9(); System.out.println(xx.oho(4)); } int oho(int x)
{ return (x * 2); }} แบบที่ 10 : เรียกใช้ method ภายในคลาสเดียวกัน โดย method
สามารถรับ และส่งค่าได้:: เรียก method ใน static ตัว method ที่ถูกเรียกต้องเป็น static
ด้วย
 class hello10 { public static void main(String args[]) {
System.out.println(oho(5)); } static int oho(int x) { x = x * 2;
return x; }} แบบที่ 11 : ใช้ extends เพื่อการสืบทอด (Inheritance)::
Constructor ของ TAirPlane จะไม่ถูกเรียกมาทางาน
 class hello11 extends TAirPlane { public static void main(String
args[]) { Fly(); Land(); }} แบบที่ 12 : ใช้ extends เพื่อการสืบทอด
(Inheritance) แบบผ่าน constructor:: Constructor ของ TAirPlane จะถูก
เรียกมาทางาน
 class hello12 extends TAirPlane { hello12() { Fly(); Land(); }
public static void main(String args[]) { new hello12(); }}

 เมธอดที่มีการส่งค่ากลับ
 เป็นวิธีที่ไม่มีพารามิเตอร์พารามิเตอร์ แต่เมื่อสิ้นสุดการทางานของวิธีการจะทาการ
กลับไปกลับไปยังวิธีการเมื่อถูกเรียกใช้งาน
 ตัวอย่างโปรแกรม: การกลับรายการเพื่อแสดงสูตรคูณแม่ 2-3
 เอาท์พุท:
เมธอดที่มีการส่งค่ากลับ

 ตัวแปรที่ประกาศใช้ในเมธอดเรียกว่าตัวแปรแบบท้องถิ่น หรือตัวแปรแบบโลคอล
(local variable) โดยจะใช้ได้เฉพาะสเตตเมนต์ในเมธอดเท่านั้น สเตตเมนต์
ต่างๆที่อยู่นอกเมธอดที่ประกาศตัวแปรนี้จะไม่สามารถเรียกใช้ตัวแปรนี้ได้ การประการ
ตัวแปรแบบโลคอลนี้ จะทาให้เมธอดหลายๆเมธอดใช้ชื่อตัวแปรเดียวกันได้
 แม้ตัวแปรในเมธอดที่สร้างขึ้นจะมีชื่อเดียวกัน โดยแต่ละเมธอดมีการกาหนดค่าให้กับตัว
แปรเป็นค่าที่ไม่เท่ากัน ถ้าสังเกตจากผลลัพธ์จะพบว่าตัวแปรทั้งสองไม่เกี่ยวข้องกัน การ
ประกาศตัวแปรแบบโลคอลนี้ เมื่อเมธอดถูกเรียกใช้มันจะสร้างหน่วยความจาขึ้นมา
สาหรับเก็บตัวแปรนั้น แต่เมื่อเมธอดทางานเสร็จสิ้นลงหน่วยความจาสาหรับตัวแปรนั้น
จะถูกยกเลิกไป
ตัวแปรแบบ Local

 โอเวอร์โหลดเมธอด ( Overloading Method)
 วิธีชนิดข้อมูลของพารามิเตอร์วิธีการที่หลากหลายและชนิดของข้อมูลพารามิเตอร์ต่างกันก็ต้องมีการสร้าง
วิธีการขึ้นมาใหม่มีประโยชน์คือ ง่ายต่อการจาชื่อวิธีการที่มีข้อผิดพลาดในเรื่องของค่าพารามิเตอร์
 ตัวอย่างเช่น
 static double Numb (double a, b สองครั้ง)
 int คงที่ Numb (int a, int b)
 เอาท์พุท:
โอเวอร์โหลดเมธอด

 รหัสแหล่งที่มา:
 1 //T1.java
 2 คลาสสาธารณะ T1 {
 3 สาธารณะ static void main (String [] args)
 4 {
 5 System.out.println ("Display Type Integer =" + Numb (4,5));
 6 System.out.println ("Display Type Double =" + Numb
(14.75,50.25));
 7} // end main
 8
 9 ประชาชนคงคู่ Numb (คู่ n1, คู่ n2)

 10 {if (n1> n2)
 ผลตอบแทน 11 n1;
 12 อื่น ๆ
 ผลตอบแทน 13 n2; } // end
 14
 15 สาธารณะคง int Numb (int n1, int n2)
 16 {if (n1> n2)
 ผลตอบแทน 17 n1;
 18 อื่น ๆ
 19 กลับ n2; } // end
 20
 21} // end clas

 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3
 นายพีรดนย์ รูปทอง ม.6/3 เลขที่ 10
 นางสาวธัญสมร ทองคา ม.6/3 เลขที่ 22
 นางสาวกรรณิการ์ บุญเยี่ยม ม.6/3 เลขที่ 32
 นางสาวณัชชา บัวงาม ม.6/3 เลขที่ 33
 นางสาวสุวดี ป้อมสันเทียะ ม.6/3 เลขที่ 34
 นางสาวอาภาศิริ เชาว์รัษา ม.6/3 เลขที่ 35
สมาชิกผู้จัดทา

More Related Content

What's hot (7)

Week 9 เรื่อง การใช้คำสั่ง plot
Week 9 เรื่อง การใช้คำสั่ง plotWeek 9 เรื่อง การใช้คำสั่ง plot
Week 9 เรื่อง การใช้คำสั่ง plot
 
Computer Programming 2.2
Computer Programming 2.2Computer Programming 2.2
Computer Programming 2.2
 
Python101
Python101Python101
Python101
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10งานทำBlog บทที่ 10
งานทำBlog บทที่ 10
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี59170259 ผลคุณี
59170259 ผลคุณี
 

Similar to Methods

Similar to Methods (6)

Methods
MethodsMethods
Methods
 
Method
MethodMethod
Method
 
เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3 เมธอด กลุ่ม3
เมธอด กลุ่ม3
 
Power point
Power pointPower point
Power point
 
5.Methods cs
5.Methods cs5.Methods cs
5.Methods cs
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
 

More from นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต

More from นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต (19)

สร้างเมนูริบบอนส่วนตัวไว้ใช้ใน Word 2010
สร้างเมนูริบบอนส่วนตัวไว้ใช้ใน Word 2010สร้างเมนูริบบอนส่วนตัวไว้ใช้ใน Word 2010
สร้างเมนูริบบอนส่วนตัวไว้ใช้ใน Word 2010
 
เลือกข้อความ
เลือกข้อความเลือกข้อความ
เลือกข้อความ
 
พิมพ์สมการเคมี
พิมพ์สมการเคมีพิมพ์สมการเคมี
พิมพ์สมการเคมี
 
แทรกวันที่และเวลา
แทรกวันที่และเวลาแทรกวันที่และเวลา
แทรกวันที่และเวลา
 
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
การแบ่งหน้าจอข้อมูล
การแบ่งหน้าจอข้อมูลการแบ่งหน้าจอข้อมูล
การแบ่งหน้าจอข้อมูล
 
ตัวอย่างการพิมพ์ข้อความใน Notepad
ตัวอย่างการพิมพ์ข้อความใน Notepadตัวอย่างการพิมพ์ข้อความใน Notepad
ตัวอย่างการพิมพ์ข้อความใน Notepad
 
การสร้างตาราง
การสร้างตารางการสร้างตาราง
การสร้างตาราง
 
การใส่ลักษณะพิเศษให้ภาพ
การใส่ลักษณะพิเศษให้ภาพการใส่ลักษณะพิเศษให้ภาพ
การใส่ลักษณะพิเศษให้ภาพ
 
รายงาน
รายงาน รายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
โปรแกรม Office แบบ freeware และoffice ใน smart
โปรแกรม Office แบบ freeware และoffice ใน smartโปรแกรม Office แบบ freeware และoffice ใน smart
โปรแกรม Office แบบ freeware และoffice ใน smart
 
การสร้างสูตรคำนวณ
การสร้างสูตรคำนวณการสร้างสูตรคำนวณ
การสร้างสูตรคำนวณ
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
 
การบวกในโปรแกรม Excel โดยใช้สูตร
การบวกในโปรแกรม Excel โดยใช้สูตรการบวกในโปรแกรม Excel โดยใช้สูตร
การบวกในโปรแกรม Excel โดยใช้สูตร
 
กำหนดเอกสารให้แสดงทั้งแนวตั้งและแนวนอนคละกัน
กำหนดเอกสารให้แสดงทั้งแนวตั้งและแนวนอนคละกันกำหนดเอกสารให้แสดงทั้งแนวตั้งและแนวนอนคละกัน
กำหนดเอกสารให้แสดงทั้งแนวตั้งและแนวนอนคละกัน
 
Tirp
TirpTirp
Tirp
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 

Methods

  • 1.
  • 2.  การประกาศฟังก์ชันหรือ Method รูปแบบทั่วไปของ Method จะเป็นดังนี้ Accessibility return_data_type methodName(parameter_list ) { // รายละเอียด } •Accessibility คือ การกาหนดชนิดการเรียกใช้และการเข้าถึง Method ตัวอย่างของ Accessibility เช่น public,protected,private,static เป็นต้น •return_data_type คือ ค่าที่ส่งกลับมาจาก Method ถ้าไม่มีใช้คาว่า Void ตัวอย่างของ return_data_type เช่น int,char,string,float,int[ ],string[ ] เป็นต้น •methodName คือ ชื่อของ method เช่น maxFunction •parameter_list คือ ตัวแปรที่รับเข้ามาใน method ตัวอย่างของ parameter_list เช่น int x1,float x2,char x3 เป็นต้น •ตัวอย่างการประกาศ Method โครงสร้างของเมธอด (Method Structure)
  • 3.  คลาส Math Abs() ใช้หาค่าสัมบูรณ์ Sqrt() ใช้หาค่ารากที่สอง Now() ใช้หาค่ายกกาลัง Ceil() ใช้ปัดเศษค่าทศนิยมให้มากขึ้น Floor() ใช้ปัดเศษทศนิยมให้มีค่าน้อยล แนะนาคลาส Math และเมธอดทางคณิตศาสตร์ คลาส Math เป็นคลาสที่ Java มีมาให้อยู่แล้วเพื่อใช้สาหรับการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ คลาส Math นี้จะอยู่ในแพคเกจ Java.lang คลาสนี้มีค่าคงตัวที่น่าสนใจ 2 ตัวคือ 1.Math.E 2.Math.Pl ตัวอย่างคลาส Math
  • 4.  การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุโดยใช้ Java : การเรียกใช้ method ของ object  objectName .methodName[(arguments)];  objectName คือชื่อของ object  methodName คือชื่อ method ของ object นั้น  arguments คือค่าที่ต้องการส่งผ่านไปให้กับ method ของ object นั้น โดยที่จะต้องมีชนิดข้อมูลและจานวน argument ให้สอดคล้องกับที่ประกาศใน method ของ object นั้น  ตัวอย่าง  s1.setName(“Thana”); ตัวอย่างคลาส ที่เตรียมให้ถูกเรียกใช้class TAirPlane { int color; // สี เป็น คุณสมบัติอีกแบบ static void Fly() { }; // บิน เป็น พฤติกรรม หรือ กริยา ที่ object ทาได้ static void Land() { }; // ลงจอด เป็น อีกพฤติกรรมหนึ่ง TAirPlane() { System.out.println(“result of constructor”); }} TAirPlane AirPlane1; // สร้าง object ชื่อ AirPlane1 จาก class ชื่อ TAirPlaneAirPlane1 = new AirPlane1(); // จองพื้นที่ในหน่วยความจา จึงจะเริ่มเรียกใช้ได้ AirPlane1.Fly(); // สั่งให้ object AirPlane1 ทากริยา บินAirPlane1.color = RED; // เปลี่ยน สี (คุณสมบัติ) ของเครื่องบิน ให้เป็นสีแดง การเรียกใช้methods
  • 5.   วิธีเรียกใช้ method แบบต่าง ๆ  แบบที่ 1 : เรียกใช้ Constructor และใช้พื้นที่ในหน่วยความจาclass hello1 { public static void main(String args[]) { TAirPlane abc = new TAirPlane(); }} แบบที่ 2 : แยกประกาศใช้คลาสและใช้พื้นที่ในหน่วยความจาclass hello2 { public static void main(String args[]) { TAirPlane abc; abc = new TAirPlane(); }} แบบที่ 3 : ใช้พื้นที่ในหน่วยความจา และเป็นการเรียกใช้ constructor ซึ่ง class นี้ ต้องอยู่ใน Directory เดียวกันclass hello3 { public static void main(String args[]) { new TAirPlane(); }} แบบที่ 4 : เรียกใช้ method Fly() แต่จะเรียก constructor มาก่อน ถ้า class นั้นมี constructorclass hello4 { public static void main(String args[]) { new TAirPlane().Fly(); }} แบบที่ 5 : เมื่อสร้างวัตถุขึ้นมา สามารถเรียกใช้ method อื่น โดย constructor ทางานเฉพาะครั้งแรก class hello5 { public static void main(String args[]) { TAirPlane abc = new TAirPlane(); abc.Fly(); abc.Land(); }} แบบที่ 6 : แสดงตัวอย่าง การเรียก main และต้องส่ง Array of String เข้าไปclass hello6 { public static void main(String args[]) { TAirPlane abc = new TAirPlane(); String a[] = {}; // new String[0]; abc.main(a); }} แบบที่ 7 : เรียกใช้ method ภายในคลาสเดียวกันclass hello7 { public static void main(String args[]) { minihello(); } static void minihello() { System.out.println(“result of mini hello”); }} แบบที่ 8 : เรียกใช้ method แบบอ้างชื่อคลาส ในคลาสเดียวกันclass hello8 { public static void main(String args[]) { hello8 x = new hello8(); x.minihello(); } static void minihello() { System.out.println(“result of mini hello”); }} แบบที่ 9 : เรียกใช้ method แบบไม่กาหนด method เป็น Static พร้อมรับ และคืนค่า:: ผลลัพธ์คือ 8
  • 6.   class hello9 { public static void main(String args[]) { hello9 xx = new hello9(); System.out.println(xx.oho(4)); } int oho(int x) { return (x * 2); }} แบบที่ 10 : เรียกใช้ method ภายในคลาสเดียวกัน โดย method สามารถรับ และส่งค่าได้:: เรียก method ใน static ตัว method ที่ถูกเรียกต้องเป็น static ด้วย  class hello10 { public static void main(String args[]) { System.out.println(oho(5)); } static int oho(int x) { x = x * 2; return x; }} แบบที่ 11 : ใช้ extends เพื่อการสืบทอด (Inheritance):: Constructor ของ TAirPlane จะไม่ถูกเรียกมาทางาน  class hello11 extends TAirPlane { public static void main(String args[]) { Fly(); Land(); }} แบบที่ 12 : ใช้ extends เพื่อการสืบทอด (Inheritance) แบบผ่าน constructor:: Constructor ของ TAirPlane จะถูก เรียกมาทางาน  class hello12 extends TAirPlane { hello12() { Fly(); Land(); } public static void main(String args[]) { new hello12(); }}
  • 7.   เมธอดที่มีการส่งค่ากลับ  เป็นวิธีที่ไม่มีพารามิเตอร์พารามิเตอร์ แต่เมื่อสิ้นสุดการทางานของวิธีการจะทาการ กลับไปกลับไปยังวิธีการเมื่อถูกเรียกใช้งาน  ตัวอย่างโปรแกรม: การกลับรายการเพื่อแสดงสูตรคูณแม่ 2-3  เอาท์พุท: เมธอดที่มีการส่งค่ากลับ
  • 8.   ตัวแปรที่ประกาศใช้ในเมธอดเรียกว่าตัวแปรแบบท้องถิ่น หรือตัวแปรแบบโลคอล (local variable) โดยจะใช้ได้เฉพาะสเตตเมนต์ในเมธอดเท่านั้น สเตตเมนต์ ต่างๆที่อยู่นอกเมธอดที่ประกาศตัวแปรนี้จะไม่สามารถเรียกใช้ตัวแปรนี้ได้ การประการ ตัวแปรแบบโลคอลนี้ จะทาให้เมธอดหลายๆเมธอดใช้ชื่อตัวแปรเดียวกันได้  แม้ตัวแปรในเมธอดที่สร้างขึ้นจะมีชื่อเดียวกัน โดยแต่ละเมธอดมีการกาหนดค่าให้กับตัว แปรเป็นค่าที่ไม่เท่ากัน ถ้าสังเกตจากผลลัพธ์จะพบว่าตัวแปรทั้งสองไม่เกี่ยวข้องกัน การ ประกาศตัวแปรแบบโลคอลนี้ เมื่อเมธอดถูกเรียกใช้มันจะสร้างหน่วยความจาขึ้นมา สาหรับเก็บตัวแปรนั้น แต่เมื่อเมธอดทางานเสร็จสิ้นลงหน่วยความจาสาหรับตัวแปรนั้น จะถูกยกเลิกไป ตัวแปรแบบ Local
  • 9.   โอเวอร์โหลดเมธอด ( Overloading Method)  วิธีชนิดข้อมูลของพารามิเตอร์วิธีการที่หลากหลายและชนิดของข้อมูลพารามิเตอร์ต่างกันก็ต้องมีการสร้าง วิธีการขึ้นมาใหม่มีประโยชน์คือ ง่ายต่อการจาชื่อวิธีการที่มีข้อผิดพลาดในเรื่องของค่าพารามิเตอร์  ตัวอย่างเช่น  static double Numb (double a, b สองครั้ง)  int คงที่ Numb (int a, int b)  เอาท์พุท: โอเวอร์โหลดเมธอด
  • 10.   รหัสแหล่งที่มา:  1 //T1.java  2 คลาสสาธารณะ T1 {  3 สาธารณะ static void main (String [] args)  4 {  5 System.out.println ("Display Type Integer =" + Numb (4,5));  6 System.out.println ("Display Type Double =" + Numb (14.75,50.25));  7} // end main  8  9 ประชาชนคงคู่ Numb (คู่ n1, คู่ n2)
  • 11.   10 {if (n1> n2)  ผลตอบแทน 11 n1;  12 อื่น ๆ  ผลตอบแทน 13 n2; } // end  14  15 สาธารณะคง int Numb (int n1, int n2)  16 {if (n1> n2)  ผลตอบแทน 17 n1;  18 อื่น ๆ  19 กลับ n2; } // end  20  21} // end clas
  • 12.   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3  นายพีรดนย์ รูปทอง ม.6/3 เลขที่ 10  นางสาวธัญสมร ทองคา ม.6/3 เลขที่ 22  นางสาวกรรณิการ์ บุญเยี่ยม ม.6/3 เลขที่ 32  นางสาวณัชชา บัวงาม ม.6/3 เลขที่ 33  นางสาวสุวดี ป้อมสันเทียะ ม.6/3 เลขที่ 34  นางสาวอาภาศิริ เชาว์รัษา ม.6/3 เลขที่ 35 สมาชิกผู้จัดทา