SlideShare a Scribd company logo
แผนงานการขับเคลือนสังคมด้วยดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ
                ่
[National Progress Index Initiative]



มูลนิธินโยบายสุขภาวะ
มูลนิธิหัวใจอาสา
สานักงานสถิติแห่งชาติ
สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.)
สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
กรอบการนาเสนอ

 1    ที่มาที่ไป แนวความคิดหลัก

 2    การตรวจทานเชิงยุทธศาสตร์

 3    แผนการดาเนินการในอนาคต
1   ที่มาที่ไป แนวความคิดหลัก

    การตรวจทานเชิงยุทธศาสตร์

    แผนการดาเนินการในอนาคต
1.1      อะไรคือดัชนีความก้าวหน้าที่แห่งชาติ ???


      คือ เครื่องมือ หรือ เข็มทิศ ซึ่งเป็นตัวแทน [proxy] สาคัญ
      ของ “ความก้าวหน้า” ของสังคม

         ที่ถูก กาหนดโดยคนส่วนใหญ่ของประเทศ
         เป็น เป้าหมายที่ทุกคนต้องการให้เกิดขึ้น
         เป็น เป้าหมายที่ทุกคน “รู้สึก” “เห็น” “สัมผัส” และ
         “อยากทา” ร่วมกันให้เกิดขึ้นให้ได้
เชิงวิชาการ [academic-based] มีมาตรฐาน                      เชิงเป้าหมาย [mission-based & outcome-oriented] เน้น
สลับซับซ้อน ใช้เป็นฐานในการกาหนดนโยบาย                      การสรุปผลเชิงทัศนคติ โดนใจ (ไม่เน้นความเข้าใจมาก) ไม่
สาธารณะเชิงประเด็น เน้นระบบการรวบรวม                        ซับซ้อน ให้ความสาคัญกับการสื่อสารกับสาธารณะเชิง
จัดเก็บอย่างสม่าเสมอถูกต้องและการเชื่อมต่อ                  เปรียบเทียบกับดัชนีกระแสหลักอื่นๆ เน้นการรับฟังความเห็น
กับนโยบายสาธารณะ นาเสนอรายไตรมาส                            และสะท้อนกลับเชิงนโยบายหรือแผน (การแก้ปัญหา) ต่อ
                                                            สาธารณะ นาเสนอรายปี
                                 ดัชนีอยู่
                               เย็นเป็นสุข
                                                              ดัชนีชี้วัด
                                                            ความก้าวหน้า
                                                             ของประเทศ
                                 ดัชนีเชิง
                                   พื้นที่

เชิงพื้นที่ [area-based] เข้าใจได้โดยง่าย หลากหลายไม่เป็น
มาตรฐาน มีความใกล้ตัว ใช้เป็นฐานในการกาหนดมาตรการ
กิจกรรม นโยบายสาธารณะเชิงพื้นที่ เน้นความไวและเท่าทัน
ของข้อมูล นาเสนอรายเดือน
1.2   ทาไมเราจึงต้องมีแผนการดาเนินการเรื่องนี้ ???
      (ที่มาที่ไป ประเด็นปัญหา ความสาคัญ)


      เพราะประเทศไทยมีเข็มทิศในการพัฒนาประเทศที่ไม่
      สมดุล (เน้นเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจ) อันนาสู่การกาหนด
      นโยบายและการจัดสรรทรัพยากรที่ไม่นาสู่การพัฒนาที่
      เหมาะสมและยั่งยืน แต่ละภาคส่วนไม่มีโอกาสในการ
      ร่วมพัฒนาประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
ทาไม ???
เพราะ
    ความ          ความสุข และ
  เจริญเติบโต    ความอยู่ดีมีสุข
 ทางเศรษฐกิจ
 GDP growth     ของประชาชนและ
                      สังคม
Richer, not happier
รวยขึ้นมากๆ อาจ
ไม่มีความสุขมาก Above a certain point—around
ขึ้นก็ได้       15,000 a head GROSS DOMESTIC
                PRODUCT—more growth
                stops delivering more
                happiness
เราคาดหวังว่า
ความก้าวหน้าอย่าง                          ความสุข และ
   สมดุลและยั่งยืน                        ความอยู่ดีมีสุข
  [NPI growth]                           ของประชาชนและ
                                               สังคม

       การขับเคลือนของสังคมทุกภาคส่วนในทิศทางทีถูกต้อง และ
                 ่                             ่
      นโยบายสาธารณะและระบบการตัดสินใจที่อยู่บนฐานข้อมูลและ
                             ความรู้
ความจริงวันนี้
An inconvenient TRUTH [retrospective analysis]




> 300% growth of GDP
< 10% growth of MDP and life satisfaction
THAILAND: A NEW TIGER OF ASIA
               8,135 US per
               capita         average growth rates
               in 2007




2,576 US per
                              9.4%        [from 1985 to 1996]

capita
in 1987
133




   36th




   GLOBAL
COMPETITIVENESS
    INDEX
182



   87th




   HUMAN
DEVELOPMENT
    INDEX
149




    53th




ENVIRONMENTAL
 PERFORMANCE
     INDEX
143




41th




HAPPY
PLANET
 INDEX
157

  127th




SUSTAINABLE
  SOCIETY
   INDEX
180




  84th




CORRUPTION
PERCEPTION
   INDEX
1.3   ทาไมเราจึงต้องมีแผนการดาเนินการเรื่องนี้ ???
      (ที่มาที่ไป ประเด็นปัญหา ความสาคัญ)



      มาตรวัดผิด เป้าหมายผิด ผลลัพธ์ผิด
      โจเซฟ สติกลิทซ์ นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล
Measuring what matters



                  Effective policy-
 People               making
relevance            [public policy in
                  response to the index
                         result]
ความก้าวหน้า [PROGRESS] ของ
ประเทศที่แท้จริงและยั่งยืน

คืออะไร ???
Subjective wellbeing
[happiness + life satisfaction]        personal
                                   ประชาชนอยู่ดีมีสุข
                                       wellbeing
Objective wellbeing
[income, health]




quality of life, security, human         social
right, justice, culture, social     สังคมมีคุณภาพ
                                        wellbeing       ความก้าวหน้า
cohesion etc.




Environment, ecosystem etc.            sustain
                                   พัฒนาอย่างยั่งยืน
                                       ability
1.4   จะทาให้เกิดขึ้นได้อย่างไร ???
4 บทเรียนสาคัญ
จากการขับเคลื่อนในประเทศไทย


ผลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากนักคิดนักปฏิบัติ ที่ดาเนินการในประเด็นนี้ในช่วง 20 ปีหลัง
ดัชนีเป็นเพียงเครื่องมือ [Means] ไม่ใช่เป็นเป้าหมาย
[Ends] โจทย์สาคัญจึงไม่ได้อยู่ที่การพัฒนาชุดตัวชี้วัด
ใหม่ (แม้ว่าอาจต้องมีการปรับปรุงอยู่บ้างถ้าจาเป็น) แต่อยู่
ที่การนาดัชนีดังกล่าวที่มีไปสู่การปฏิบัติอย่างมี
ยุทธศาสตร์และต่อเนื่องเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงให้
เกิดขึ้นอย่างแท้จริง


บทเรียนสาคัญ
กระบวนการขับเคลื่อนจะต้องมีการออกแบบอย่างตั้งใจ
[Intentional Design] มีระบบ และ มียุทธศาสตร์ ไม่
สามารถเกิดขึ้นอย่างบังเอิญได้ เพราะประเทศไทยยังขาด
กลไกและปัจจัยสาคัญจานวนมากที่ไม่สามารถทาให้
กระบวนการเกิดได้โดยธรรมชาติได้ภายใต้บริบทปัจจุบัน



บทเรียนสาคัญ
กระบวนการในการพัฒนาดัชนีมีความสาคัญเท่ากันกับ
ผลลัพธ์ของตัวดัชนีเอง และจะต้องมีความรู้สึกร่วมเป็น
เจ้าของของกลุ่มคนทุกภาคส่วนในสังคมต่อดัชนี
ดังกล่าว ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าของประเทศ จะต้อง
ควบคู่ไปกับการพัฒนาดัชนีในระดับพื้นที่



บทเรียนสาคัญ
อุปสรรคสาคัญที่ทาให้การขับเคลื่อนความก้าวหน้าด้วยดัชนีการพัฒนา
ทางเลือกในอดีตไม่สามารถเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพมี ๔ ส่วนคือ
(๑) การขาดข้อมูลที่น่าเชือถือและถูกต้อง
                          ่
(๒) การขาดการนาไปปฏิบัติและขาดกลไกขับเคลื่อนที่ต่อเนื่อง
       ยั่งยืน
(๓) การขาดการสื่อสารและสร้างความเข้าใจร่วมกับสาธารณะ
(๔) การขาดการเชื่อมต่อกับการกาหนดนโยบายและการตัดสินใจ
       ของภาครัฐ



บทเรียนสาคัญ
ที่มาที่ไป แนวความคิดหลัก

2   การตรวจทานเชิงยุทธศาสตร์

    แผนการดาเนินการในอนาคต
บทเรียนจากการขับเคลื่อนระดับสากล
การออกแบบกระบวนการขับเคลื่อนอย่างเป็น
ระบบและมียุทธศาสตร์ (ร่วมกันของหลายภาคส่วน)
    ขับเคลื่อนหลากหลายระดับ [international-national
    -local] โดยอยู่บนฐานความรู้และข้อมูล

        การสร้างกลไกเครือข่ายของเครือข่ายที่
        กว้างขวาง [NETWORK OF NETWORKS]

             การสร้างความรู้สึกร่วมในสังคมของทุกภาคส่วน

                 เน้นการนาสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เชื่อมต่อกับการ
                 พัฒนานโยบายสาธารณะและกระบวนการตัดสินใจ
3 ประเด็นพื้นฐานที่ต้องพิจารณาของการออกแบบดัชนีความก้าวหน้า
                          การนาเสนอดัชนี
                           ต่อสาธารณะ

                      การกาหนดมิติของดัชนี

                 แนวทางและรูปแบบของดัชนี
3    main approaches for progress index’s development
Measuring the Progress of Societies: An Introduction and Practical Guide [OECD]


     1 Composite index of the comprehensive set of indicators

     • Government [MAP Australia]
     • Academic institute

     2 Subjective well-being index [human centre]

     • THINKTANK, NGOs [nef UK]

     3 Adjusted GDP; environmental & societal cost inclusive

     • Green GDP, China
     • GPI, Canada
แนวทางและรูปแบบของดัชนี
    รูปแบบการพัฒนาดัชนี        ข้อดี                              ข้อด้อย
    (1) การพัฒนาชุดดัชนี       ครอบคลุม เป็นที่ยอมรับและ          ดาเนินการได้ยากเนื่องจาก
    แบบสัมพัทธ์ หรือ           อ้างอิงได้ทางวิชาการ นามาใช้       ต้องสัมพันธ์กับความถูกต้อง
                               เป็นตัวกากับชี้นานโยบายได้         และความถี่ของการจัดเก็บ
    Composite Index
                                                                  ข้อมูล
    (2) การใช้ดัชนีความอยู่    ดาเนินการได้โดยง่าย มีระดับ        มีข้อจากัดในการแปลงสู่การ
    ดีมีสุขทางอัตตวิสัย หรือ   ของการสะท้อนความรู้สึกของ          กาหนดนโยบายของรัฐ และ มี
                               ประชาชนได้สูง                      คาถามเรื่องความถูกต้องใน
    Subjective Well-
                                                                  การอ้างอิงเชิงวิชาการ
    being
    (3) การปรับแก้จาก          เป็นที่คุ้นเคยของประชาชนใน         ไม่อาจสะท้อนภาพที่แท้จริง
    GDP หรือ Adjusted          สังคมโดยทั่วไปเนื่องจาก            ของความก้าวหน้าได้ทั้งหมด
                               อ้างอิงตามดัชนีที่ใช้กันอยู่แล้ว   เนื่องจากข้อจากัดของข้อมูล
    GDP
                                                                  ต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมและ
                                                                  สังคมที่บางส่วนไม่อาจแปร
                                                                  เป็นมูลค่าเงินได้
วิธีการกาหนดมิติของดัชนี [domain]


   การเลือกมิติของดัชนี     ข้อดี                            ข้อด้อย
   (1) การอ้างอิงตามดัชนี   สามารถเทียบเคียงกับประเทศ        ขาดความเฉพาะตัว อาจมองข้าม
                            อื่นๆในบริบทสากลได้              มิติที่สาคัญในระดับรายละเอียดได้
   หลักระดับสากล
   (2) การอ้างอิงตาม        ใช้ในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐ   ขาดความยั่งยืนในกรณีที่มีความ
                            ได้อย่างมีประสิทธิภาพ            ไม่มั่นคงทางการเมือง
   นโยบายของรัฐ
   (3) การอ้างอิงตามกลุ่ม   ระดับการมีส่วนร่วมและความ        ลาบากในการเก็บข้อมูลและ
                            เกี่ยวข้องสูงกับทุกภาคส่วนใน     วิเคราะห์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์
   ผู้มีส่วนได้เสียและ      สังคม                            และไม่สามารถเทียบเคียงกับ
   ประชาชนทั่วไป                                             บริบทสากลได้
การนาเสนอดัชนี
   แนวทาง                    ข้อดี                               ข้อด้อย

   (1) แนวทางแบบตัวเลข       เป็นที่ดึงดูดใจ น่าสนใจ เข้าใจได้   ไม่เปิดโอกาสให้ตีความหมาย อาจ
   เดี่ยว (The single-       โดยง่ายต่อสื่อและประชาชนทั่วไป      ไม่เป็นที่ยอมรับของคนในสังคมวง
                                                                 กว้างหากกระบวนการและที่มาไม่ดี
   number approach)
                                                                 เพียงพอ และอาจนาสู่การส่ง
                                                                 สัญญาณแบบผิดๆได้
                                                                 (oversimplification)
   (2) แนวทางแบบการจัดทา     มีระดับของความครอบคลุมสูง           มีความซับซ้อนสูง ไม่นาเสนอภาพ
   บัญชีข้อมูล (The                                              ความก้าวหน้าในภาพรวมใดๆได้
                                                                 ต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการช่วยตีความ
   accounting framework
                                                                 และนาเสนอ (high complexity)
   approach)
   (3) แนวทางแบบกลุ่มพิเศษ   เปิดโอกาสให้คนได้ตีความหมาย         สัมพันธ์อย่างสูงกับกระบวนการใน
   ของดัชนี (The suite-of-   ของความก้าวหน้าที่หลากหลาย          การกาหนดมิติของตัวชี้วัดที่เลือก
                             ตามข้อมูลดัชนีหลักที่เกิดขึ้น มี    ซึ่งอาจเกิดการชี้นาได้
   indicators approach)
                             ความเชื่อมโยงสูงกับการกาหนด         (potentially bias)
                             นโยบาย
ลักษณะสาคัญและมิติหลัก   ตัวอย่างดัชนีที่จะนามาใช้เป็นดัชนีชี้วัดความก้าวหน้า (Headline
(Domains)                Indicators)
ด้านสุขภาพ               อายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy); เปาหมาย ๘๗ ปี (ปัจจุบัน
                                                                        ้
                         ๖๙ ปี)
ด้านความอยู่ดีมีสุข      ระดับความพึงพอใจกับชีวิต (Life satisfaction); เปาหมาย ๘.๐ (ปัจจุบัน
                                                                          ้
                         ๖.๓)
ด้านการพัฒนาคน           ระดับความพึงพอใจกับงานและอัตราการว่างงาน (Job satisfaction and
                         Unemployment rate)
ด้านเศรษฐกิจ             Global Competitiveness Index; เปาหมาย ๕ (ปัจจุบัน ๔.๕๖)
                                                               ้
ด้านสิ่งแวดล้อม          ร้อยละของพื้นที่ป่าไม้ยั่งยืน; เปาหมายร้ อยละ ๔๐ (ปัจจุบันร้อยละ ๓๐)
                                                          ้
ด้านสภาพอากาศ            ปริมาณของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2 Emission)
ด้านธรรมาภิบาล           Corruption Perception Index; เป้าหมาย ๕ (ปัจจุบัน ๓.๔)
ด้านเศรษฐกิจ             รายได้ประชาชาติต่อหัว (National Income per capita)
ด้านพลังงาน              สัดส่วนร้อยละของพลังงานสะอาดและทดแทนได้
MAP
Suite of indicators




17
headline dimensions of
progress

TRAFFIC LIGHT presentation

10-year Time series
ที่มาที่ไป แนวความคิดหลัก

    การตรวจทานเชิงยุทธศาสตร์

3   แผนการดาเนินการในอนาคต
สั ง คมไทยมี ทิ ศ ทางการพั ฒ นาที่ ดี เ หมาะสมและยั่ ง ยื น อั น น าสู่
คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนได้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง และอยู่ ภ ายใต้ ขี ด
ความสามารถในการรองรับของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยผล
ดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญจากการใช้ดัชนีความก้าวหน้าที่
แท้ จ ริ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการขั บ เคลื่ อ น ผลการด าเนิ น การที่ ไ ด้
สามารถเป็ น กรณี ศึ ก ษาส าคั ญ และเป็ น องค์ ค วามรู้ ที่ ส ามารถ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนกระแสของ
การพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับโลก
นโยบายสาธารณะและแผนการพัฒนาทั้งในระดับประเทศ ระดับ
ท้องถิ่นและ ระดับองค์กร ถูกพัฒนาโดยอ้างอิงและสอดคล้องกับ
ผลที่ ส ะท้ อ นจากดั ช นี ค วามก้ า วหน้ า ที่ แ ท้ จ ริ ง และกลายเป็ น
เครื่องมือสาคัญในการกาหนดทิศทางของการพัฒนาควบคู่ไปกับ
ดั ช นี ก ารพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ ข้ อ มู ล ของดั ช นี ดั ง กล่ า วมี
กระบวนการรวบรวมพัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและมีส่วนร่วม
สามารถสะท้อนข้อเท็จจริงและความก้าวหน้าที่เกิดขึ้นในสังคมได้
อย่างแท้จริงและเท่าทันผ่านการจัดการความรู้อย่างกว้างขวาง ทั้ง
ในส่วนของภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน และ ภาค
สื่อสารมวลชน เกิดเครือข่ายผู้ปฏิบัติและกลไกการขับเคลื่อนที่มี
พัฒนาการอย่างยั่งยืนทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
๑      สร้างภาพฝันและเป้าหมายร่วมกันของคนในประเทศ


                                     Collective
                                      DREAM




๒
                        INNOVATIVE
                        MECHANISM

                                             SOCIAL
สร้างระบบและกลไกขับเคลื่อน                  SUPPORT
เชิงนวัตกรรม
(ดัชนีความก้าวหน้าแห่งชาติ
บัญชีประชาชาติความอยู่ดีมีสุข
และ คณะทางานเชิงยุทธศาสตร์)
                                                                    ๓
                                              การสร้างกระแสสนับสนุนทางสังคม
๑
สร้างภาพฝันและเป้าหมายร่วมกัน
       ของคนในประเทศ
ความฝันร่วมของคนในประเทศ
Visionary and Foresight Thailand
[Domains of Progress selected by Thai people] will be completed in April 2011



    [good]                       [sustainable]                [quality & active]
 ENVIRONMENT                      ECONOMIC                          CITIZEN
       [clean]                  [balanced & fair]                    [good]
       ENERGY                        SOCIETY                   QUALITY OF LIFE
ประเทศไทย
    Internet       National poll
  survey + Post
                         National
       Public             survey
     dialogues
        VISIONARY ROADMAP OF THAILAND
๒
สร้างระบบและกลไกขับเคลื่อนเชิง
          นวัตกรรม
INNOVATIVE MECHANISM

    “วัฒนธรรมของการใช้ข้อมูลเชิง
    ประจักษ์และความรู้เพื่อกาหนด
    นโยบายสาธารณะและตัดสินใจ
                              ”
    (culture of evidence-based public policy and decision-making system)
ความต้องการและปัญหาของ
   ประชาชนและประเทศ
[National Progress INDEX                   รัฐบาล หน่วยงานราชการ
 & National Account of                    องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
       Well-being]                        ธุรกิจเอกชน และ ประชาชน



        S            K            P               A
     Statistics   Knowledge      Policy         Action


                  สานักงานสถิติแห่งชาติ และ สภาพัฒน์
                       สช.(กระบวนการมีส่วนร่วม)
บัญชีประชาชาติด้านความอยู่ดีมีสุข
(NATIONAL ACCOUNTS OF WELL-BEING)
๓
สร้างกระแสสนับสนุนทางสังคม
สื่อสารสาธารณะและ                                กลไกเพื่อแปลงข้อมูลและความรู้
 การตลาดเพื่อสังคม                                  สู่นโยบายและการปฏิบัติ


                 สสส. ทีวีไทย
                                           สศช. สานักงานสถิติ
               กรมประชาสัมพันธ์
                                         เครือข่ายนักสร้างการ
                     เครือข่าย            เปลี่ยนแปลงท้องถิ่น
                 สื่อสารมวลชน ชุมชน
                                ท้องถิ่น

                          กพร. มหาวิทยาลัย (สกอ.)
                        สถาบันวิจัย สช. เครือข่ายภาค
                       ประชาสังคม กลไกขับเคลื่อนปฏิรูป
                             แห่งชาติ ภาคธุรกิจ


     ความฝันร่วมกันของประเทศบนฐานความรู้และการมีส่วนร่วม
แผนที่ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนแผนงาน
[strategic roadmap]
3
                     เดือน
                                           พัฒนาเครื่องมือ และ กลไกเชิงนวัตกรรม
                              (ดัชนีความก้าวหน้าแห่งชาติ บัญชีประชาชาติด้านความอยู่ดีมีสุข life satisfaction survey etc.)
ศูนย์พัฒนา
ประเทศไทย
(Progressive          9       National Campaign 1               งานขับเคลื่อนระดับ              การสารวจประชามติปีละครั้ง:
                     เดือน
                                                                                                     ร่วมกาหนดนิยาม
Thailand                              วิสัยทัศน์ประเทศไทย       พื้นที่นาร่องใน ๑๐
                                  VISIONARY THAILAND                                             “ความก้าวหน้า”
Centre)                      ความริเริ่มการตลาดเพื่อสังคมและ           จังหวัด
                                                                                                Life satisfaction survey
[Thaihealth,
                                           นวัตกรรมทางสังคม    [citizen dialogue]                      ทุก 6 เดือน
NESDB, NSO]
                              National Campaign 2                พัฒนาเครือข่าย                       Citizen Poll
                                                                                                       ทุก 2 เดือน
 เป็นสภากาแฟและ      12
                     เดือน
                              แผนที่ยุทธศาสตร์ประเทศไทย        ดาเนินการ ๒๐ อปท.
ศูนย์ข้อมูลสาธารณะ                                                                                 เสวนากับสื่อมวลชน
                                 THAILAND ROADMAP                  ทั่วประเทศ
    เรื่องดัชนีและ
                                                                                                      ทุก 2 เดือน
   แผนการพัฒนา
ประเทศในรูปแบบที่
                              National Campaign 3                พัฒนาเครือข่าย                 การแถลง GDP & NPI
      เข้าใจง่าย     12
                     เดือน        CHANGED THAILAND              ผู้จัดการทางสังคม                   รายไตรมาส
                                [quick-win celebration]        ๑๐๐ อปท.ทั่วประเทศ                     (NESDB, NSO)
เครือข่ายนักวิชาการ [บริษัท แผนการตลาดเพื่อสังคม+                                สานักงานพัฒนา                           เครือข่ายขับเคลื่อน
                             คณะกรรมการกากับทิศทาง คณะทางานประเมินผลภายใน                                                                                                                                                                                                        คณะทางาน
                                                                                                   มูลนิธินโยบายสุขภาวะ                    มูลนิธิหัวใจอาสา                 สวนเงินมีมา IRAH และ         เครือข่ายเสียงประชาชน+ สานักงานสถิติแห่งชาติ เศรษฐกิจและสังคม                               ระดับท้องถิ่น ร่วมกับ
                             แผนงาน                (มหาวิทยาลัยมหิดล)                                                                                                                                                                                                            ยุทธศาสตร์
                 เวลา                                                                                                                                                       อื่นๆ]                       เครือข่ายพลังบวก                                    แห่งชาติ (สศช.)                         สช.
                                                                                                                                                                                                                                  ชุดกิจกรรมสัมมนาเชิง
                                                                                                                                               การจัดทาร่างเอกสารศูนย์

                        01                         การกาหนดกรอบการประเมิน

                                                                   พัฒนาองค์ความรู้ เครื่องมือ
                                                   และ ระเบียบวิธีวิจัย
                                                                                                                                               ประเทศไทยก้าวหน้า
                                                                                                                                               (PROGRESSIVE THAILAND
                                                                                                                                               CENTRE)
                                                                                                                                                                                                         การเชื้อเชิญภาคีเชิง
                                                                                                                                                                                                                                  ปฏิบัติการ เรื่อง
                                                                                                                                                                                                                                  subjective well-being
                                                                                                                                                                                                                                  และ national account กระบวนการทบทวน บทวิเคราะห์สังเคราะห์
                                                                                                                                                                                                         ยุทธศาสตร์เพิ่มเติมผ่าน of wellbeing
                                                                                  รวบรวมและพัฒนาความรู้ การรวบรวมข้อมูลและเชิญ                                                                                                                               และการนาไปสู่การ ข้อเสนอต่างๆที่ได้จาก
                                                                                  พื้นฐานกับภาคีร่วมดาเนินการ ชวนพื้นที่นาร่อง 10 แห่ง, ยก

                                                                  เครือข่าย คัดเลือกพื้นที่นาร่อง                                                                                                                           การสารวจสาธารณมติ
                                                                                                                                                                            การรวบรวมฐานข้อมูลที่ เครือข่าย social network การออกแบบและพัฒนายก ปฏิบัติของดัชนีสังคม คณะกรรมการปฏิรูปใน
                                                                                                                                                                                                         (ภาคธุรกิจ ชนชั้นกลางใน

                        02
                                                                                  ในหัวข้อหลัก และ เครื่องมือ ร่างแนวทางการดาเนินการ                                        เกี่ยวข้องกับดัชนี                                    ร่างแบบสารวจสาธารณะ อยู่เย็นเป็นสุข            ปีที่ 1
                                                                                  ต่างๆที่จาเป็นต้องใช้ในการ การใช้นวัตกรรมทางสังคม เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 1 [NPI ความก้าวหน้าแห่งชาติ                    เมือง คนรุ่นใหม่)                                                                           การจัดเวทีระดมความ
                             การประชุมครั้งที่ 1                                                                                                                                                                                  มติ "ความก้าวหน้าประเทศ
                                                                                  ขับเคลื่อน ได้แก่ บัญชี

                                                                 [area profile, subjective wellbeing
                                                                                                                เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อน MEDIA FORUM]
                                                                                  ประชาชาติด้านความอยู่ดีมี เชิงพื้นที่และเชิงประเด็น และ
                                                                                  สุข, ระบบและแบบสารวจlife การประสานงานยกร่าง
                                                                                                                                                                            [ความรู้ งานศึกษาวิจัย
                                                                                                                                                                            นักวิชาการ นักปฏิบัติ
                                                                                                                                                                            กรณีศึกษา]
                                                                                                                                                                                                                            “นิยามความก้าวหน้า”
                                                                                                                                                                                                                                  ไทย" [DOMAIN OF
                                                                                                                                                                                                                                  PROGRESS]
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     คิดเห็น: วิสัยทัศน์และ
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     การคาดการณ์ประเทศ
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     ไทย [VISIONARY
                                                   การพัฒนาออกแบบร่าง
                                                                                  satisfaction survey           หลักสูตรฯ                                                                                การจัดทาสารวจเสียง       การสารวจสาธารณะมติ1: การพัฒนารูปแบบ                                and FORESIGHT

                        03                                      survey, citizen dialogue, หลักสูตรetc.]
                                                   หลักสูตรฯ ร่วมกับมูลนิธิ
                                                   นโยบายสุขภาวะ สวนเงินมี                                                                     สรุปร่างแผนบริหารจัดการ                                   ประชาชน: คนไทยกับการมี การร่วมระบุนิยาม
                                                                                                                                                                                                         ส่วนร่วมในการพัฒนา       "ความก้าวหน้า" ของ
                                                                                                                                                                                                                                                             วิธีการแถลงผล GDP &
                                                                                                                                                                                                                                                             NPI และการจัดทา
                                                                                                                                                                                                                                                                                 TASKFORCE           THAILAND] ใน
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     ระดับประเทศ
                                                   มา และ IRAH                                                                                 ศูนย์ และ ร่างชุดนิทรรศการ                                                                                                        WORKSHOP 1
                                                                                                                                                                                                         ประเทศ [THAI CITIZEN ประเทศไทย [DOMAIN OF ห้องทดลองปฏิบัติการ
                                                                                                                                                                                                         PROFILE]                 PROGRESS]                  ทางสังคม
                                                                                                                                                                                                                                                             การแถลงผล GDP &

                        04   การประชุมครั้งที่ 2
                                                                                  นาร่อง 10 แห่ง)                                                 KICK-OFF การแถลงผล
                                                                                  การทดลองหลักสูตรเรียนรู้เพื่อสร้างผู้จัดการทางสังคม (พื้นที่ เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 2 [NPI
                                                                                                                                               MEDIA FORUM]
                                                                                                                                                                                                         PUBLIC CAMPAIGN1:
                                                                                                                                                                            พัฒนาชุดความรู้ที่จาเป็นต้อง วิสัยทัศน์ประเทศไทย
                                                                                                                                                                                                                                                             NPI ครั้งที่ 1:
                                                                                                                                                                                                                                  การออกแบบและพัฒนา [DOMAIN OF
                                                                                                                                                                            ใช้ในงานขับเคลื่อน และ (VISIONARY THAILAND) ร่างแบบสารวจสาธารณะ PROGRESS]
                                                                                                                                                                                                                                                                                 การพัฒนาชุดทางเลือก
                                                                                                                                                                                                                                                                                 ความริเริ่มนวัตกรรม
                                                                                                                                                                                                                                                                                 ทางสังคมเพื่อ
                                                                                                                                                   สาธารณมติ และ การ        จัดทาในรูปแบบที่เข้าใจง่าย ความริเริ่มเครือข่ายพลัง มติ "การสารวจความพึง
                                                                                                                                                                                                                                                             กระบวนการ           ขับเคลื่อนประเทศไทย

                        05                                                        การจัดทารายงาน
                                                                                  ความก้าวหน้าครั้งที่ 1
                                                                                                                                               ดาเนินการจัดนิทรรศการ
                                                                                                                                               สัญจร 2 แห่งต่อเดือน
                                                                                                                                                                            (แปลภาษา ทาให้ง่ายขึ้น บวก 1: กิจกรรมการตลาด พอใจประชาชน" [life
                                                                                                                                                                            การแปลงเป็นรูปแบบดิจิตัล เพื่อสังคมเพื่อสนับสนุน satisfaction survey]
                                                                                                                                                                                                                                                             ห้องทดลองปฏิบัติการ [MENU OF SOCIAL
                                                                                                                                                                                                                                                             ทางสังคมครั้งที่ 1  INNOVATIONS]
                                                                                                                                                     สร้างกระแสสังคม        จัดพิมพ์ในราคาถูก) รวมถึง นวัตกรรมทางสังคมที่มี
                                                                                                                                                                            การจัดทาแผนกิจกรรม
                                                                                                                                                                            เคลื่อนที่ไปตาม
                                                                                                                                                                                                         ศักยภาพสูง
                                                                                                                                                                                                         การสารวจเสียงประชาชน
                                                                                                                                                                                                                                                             [SOCIAL LAB]

                                                                                                                                                                                                                                  การสารวจความพึงพอใจ
ปีที่ 1 [2554]




                        06                                                                                                                        [campaign & ignite]
                                                                                                                                               เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 3 [NPI
                                                                                                                                               MEDIA FORUM]
                                                                                                                                                                            สถาบันการศึกษาทั่วประเทศ NPI 1: ทัศนคติของ
                                                                                                                                                                            ร่วมกับแผนงาน นสท.           ประชาชนต่อการร่วม
                                                                                                                                                                                                                                  ของประชาชนครั้งที่ 1
                                                                                                                                                                                                                                  [LIFE SATISFACTION
                                                                                                                                                                                                                                                                                 TASKFORCE
                                                                                                                                                                                                                                                                                 WORKSHOP 2

                                                                                          การขับเคลื่อน
                                                                                                                                                                                                         เปลี่ยนแปลงประเทศตาม
                                                                                                                                                                                                                                  SURVEY]
                                                                                                                                                                                                         DOMAIN OF PROGRESS


                        07
                                                                                                                การสนับสนุนการดาเนินการ
                                                                                                                ความริเริ่มเชิงยุทธศาสตร์ใน
                                                                                                                                               ดาเนินการจัดนิทรรศการ การจัดเสวนาสาธารณะครั้งที่                                            การสารวจ          การแถลงผล GDP &
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     การจัดเวทีประชา
                             การประชุมครั้งที่ 3

                                                   การสนับสนุนกระบวนการ
                                                                                          ระดับท้องถิ่น
                                                                                  การสนับสนุนการดาเนินการ
                                                                                  สนับสนุนนวัตกรรมทางสังคม
                                                                                                                พื้นที่นาร่อง 10 แห่ง และ
                                                                                                                กิจกรรมสนับสนุนการ
                                                                                                                แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มขีด
                                                                                                                                               สัญจร 2 แห่งต่อเดือน         1
                                                                                                                                                                                                         ความริเริ่มเครือข่ายพลัง
                                                                                                                                                                                                                                               life
                                                                                                                                                                                                                                                             NPI ครั้งที่ 2

                                                                                                                                                                                                                                                             กระบวนการ
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     สุนทรียเสวนาและการ
                                                                                                                                                                                                                                                                                 การพัฒนาชุดทางเลือก สนับสนุนกิจกรรม
                                                                                                                                                                                                                                                                                 ความริเริ่มนวัตกรรม ความริเริ่มเชิง


                        08
                                                                                  เชิงประเด็น
                                                   เสริมพลังและการแลกเปลี่ยน                                    ความสามารถของเครือข่าย เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 4 [NPI พัฒนาเครือข่ายขับเคลื่อน บวก 2                                                                               ทางสังคมเพื่อ
                                                                                                                                                                                                                                                             ห้องทดลองปฏิบัติการ ขับเคลื่อนประเทศไทย
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     ยุทธศาสตร์ระดับ
                                                                                                                                                                            ทางวิชาการในประเทศไทย                                 การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
                                                                                                                                                                                                                                          satisfaction
                                                                                                                ผู้จัดการทางสังคมของพื้นที่ MEDIA FORUM]                                                                                                                                             จังหวัด [CITIZEN
                                                   เรียนรู้ของภาคีในแผนงาน
                                                                                                                นาร่อง
                                                                                                                                                     Social innovations     ผ่านการดาเนินการกิจกรรม                               เพื่อการพัฒนา ระบบการ
                                                                                                                                                                                                                                                             ทางสังคมครั้งที่ 2
                                                                                                                                                                                                                                                             [SOCIAL LAB]
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     DIALOGUE AND

                                                                                           10 จังหวัด +
                                                                                                                                                                            เคลื่อนที่ (สัมมนาและ                                 จัดเก็บข้อมูล (ร่วมกับ                                             STRATEGIC

                        09                                                                                                                              การทางานกับ
                                                                                                                                               ดาเนินการจัดนิทรรศการ
                                                                                                                                               สัญจร 2 แห่งต่อเดือน
                                                                                                                                                                            นิทรรศการสัญจร) ไปตาม
                                                                                                                                                                            สถาบันการศึกษาที่สนใจ 1
                                                                                                                                                                                                         การสารวจเสียงประชาชน
                                                                                                                                                                                                         NPI 2
                                                                                                                                                                                                                                  อปท) และ template
                                                                                                                                                                                                                                          survey และ
                                                                                                                                                                                                                                  ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจใน
                                                                                                                                                                                                                                                                                 TASKFORCE
                                                                                                                                                                                                                                                                                 WORKSHOP 3
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     INITIATIVES] ในพื้นที่
                                                                                                                                                                                                                                                                                                     นาร่อง 10 จังหวัด

                                                                                            2 ประเด็น
                                                                                                                                                                            แห่งต่อเดือน ( 2 แห่ง)                                ระดับ จังหวัด และ อปท
                                                                                                                                                                                                                                  ร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัด

                        10   การประชุมครั้งที่ 4                                                                                                       สื่อสารมวลชน
                                                                                  การจัดอบรมหลักสูตรเรียนรู้เพื่อสร้างผู้จัดการทางสังคมครั้ง เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 5 [NPI การจัดเสวนาสาธารณะครั้งที่                                       social lab
                                                                                                                                                                                                                                  และนายก อปท. ในพื้นที่ การแถลงผล GDP &

                                                                                           [domains]
                                                                                                                                                                                                                                  นาร่อง 10 จังหวัด 20

                          Quickwin 1
                                                                                  ที่ 1                                                        MEDIA FORUM]                 2                                                                                NPI ครั้งที่ 3
                                                                                                                                                                                                                                  อปท.                                           กระบวนการยกร่าง
                                                                                                                                                                            การเตรียมการจัดงานสัมมนา ความริเริ่มเครือข่ายพลัง                                                    แผนที่ยุทธศาสตร์
                                                                                                                                                                                                                                                             กระบวนการ

                        11                                                        การจัดทารายงาน
                                                                                  ความก้าวหน้าครั้งที่ 2
                                                                                                                                               สรุปแผนบริหารจัดการศูนย์
                                                                                                                                               ประเทศไทยก้าวหน้า
                                                                                                                                                                            ระดับชาติและการจัดอบรม บวก 3
                                                                                                                                                                            เชิงปฏิบัติการ และ การรวม
                                                                                                                                                                            รวมเอกสารวิชาการเพื่อ
                                                                                                                                                                                                                                                             ห้องทดลองปฏิบัติการ ประเทศไทย
                                                                                                                                                                                                                                                             ทางสังคมครั้งที่ 3
                                                                                                                                                                                                                                                             [SOCIAL LAB]
                                                                                                                                                                            จัดพิมพ์และเผยแพร่
                                                                                                                                                                            การจัดงานสัมมนาระดับชาติ

                        12                         การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
                                                   ครั้งที่ 1
                                                                                  การสนับสนุนและพัฒนากระบวนการยกร่างแผนที่ยุทธศาตร์
                                                                                  การพัฒนาประเทศไทย [THAILAND STRATEGIC
                                                                                                                                               เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 6 [NPI และการจัดอบรมเชิง
                                                                                                                                               MEDIA FORUM]                 ปฏิบัติการ (Technical
                                                                                                                                                                                                         การสารวจเสียงประชาชน การสารวจความพึงพอใจ
                                                                                                                                                                                                         NPI 3                    ของประชาชนครั้งที่ 2
                                                                                                                                                                                                                                                             การจัดทารายงานสรุป
                                                                                                                                                                                                                                                             ความก้าวหน้าประเทศ
                                                                                                                                                                                                                                                                                 TASKFORCE
                                                                                                                                                                                                                                                                                 WORKSHOP 4
แนวทางและรูปแบบของดัชนี
    รูปแบบการพัฒนาดัชนี        ข้อดี                              ข้อด้อย
    (1) การพัฒนาชุดดัชนี       ครอบคลุม เป็นที่ยอมรับและ          ดาเนินการได้ยากเนื่องจาก
    แบบสัมพัทธ์ หรือ           อ้างอิงได้ทางวิชาการ นามาใช้       ต้องสัมพันธ์กับความถูกต้อง
                               เป็นตัวกากับชี้นานโยบายได้         และความถี่ของการจัดเก็บ
    Composite Index
                                                                  ข้อมูล
    (2) การใช้ดัชนีความอยู่    ดาเนินการได้โดยง่าย มีระดับ        มีข้อจากัดในการแปลงสู่การ
    ดีมีสุขทางอัตตวิสัย หรือ   ของการสะท้อนความรู้สึกของ          กาหนดนโยบายของรัฐ และ มี
                               ประชาชนได้สูง                      คาถามเรื่องความถูกต้องใน
    Subjective Well-
                                                                  การอ้างอิงเชิงวิชาการ
    being
    (3) การปรับแก้จาก          เป็นที่คุ้นเคยของประชาชนใน         ไม่อาจสะท้อนภาพที่แท้จริง
    GDP หรือ Adjusted          สังคมโดยทั่วไปเนื่องจาก            ของความก้าวหน้าได้ทั้งหมด
                               อ้างอิงตามดัชนีที่ใช้กันอยู่แล้ว   เนื่องจากข้อจากัดของข้อมูล
    GDP
                                                                  ต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมและ
                                                                  สังคมที่บางส่วนไม่อาจแปร
                                                                  เป็นมูลค่าเงินได้
วิธีการกาหนดมิติของดัชนี [domain]


   การเลือกมิติของดัชนี     ข้อดี                            ข้อด้อย
   (1) การอ้างอิงตามดัชนี   สามารถเทียบเคียงกับประเทศ        ขาดความเฉพาะตัว อาจมองข้าม
                            อื่นๆในบริบทสากลได้              มิติที่สาคัญในระดับรายละเอียดได้
   หลักระดับสากล
   (2) การอ้างอิงตาม        ใช้ในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐ   ขาดความยั่งยืนในกรณีที่มีความ
                            ได้อย่างมีประสิทธิภาพ            ไม่มั่นคงทางการเมือง
   นโยบายของรัฐ
   (3) การอ้างอิงตามกลุ่ม   ระดับการมีส่วนร่วมและความ        ลาบากในการเก็บข้อมูลและ
                            เกี่ยวข้องสูงกับทุกภาคส่วนใน     วิเคราะห์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์
   ผู้มีส่วนได้เสียและ      สังคม                            และไม่สามารถเทียบเคียงกับ
   ประชาชนทั่วไป                                             บริบทสากลได้
การนาเสนอดัชนี
   แนวทาง                       ข้อดี                                       ข้อด้อย

   (1) แนวทางแบบตัวเลข          เป็นที่ดึงดูดใจ น่าสนใจ เข้าใจได้        ไม่เปิดโอกาสให้ตีความหมาย อาจ
   เดี่ยว (The single-          โดยง่ายต่อสื่อและประชาชนทั่วไป           ไม่เป็นที่ยอมรับของคนในสังคมวง
                                                                         กว้างหากกระบวนการและที่มาไม่ดี
   number approach)
                                                                         เพียงพอ และอาจนาสู่การส่ง
                             ADJUSTED GDP [media’s                   attraction] ดๆได้
                                                                         สัญญาณแบบผิ
                                                                         (oversimplification)
   (2) แนวทางแบบการจัดทา        มีระดับของความครอบคลุมสูง                มีความซับซ้อนสูง ไม่นาเสนอภาพ
   บัญชีข้อมูล (The                                                      ความก้าวหน้าในภาพรวมใดๆได้
                                                                         ต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการช่วยตีความ
   accounting framework
                                                                         และนาเสนอ (high complexity)
   approach)                  NATIONAL ACCOUNT OF WELLBEING
   (3) แนวทางแบบกลุ่มพิเศษ     เปิดโอกาสให้คนได้ตีความหมาย                  สัมพันธ์อย่างสูงกับกระบวนการใน
   ของดัชนี (The suite-of-     ของความก้าวหน้าที่หลากหลาย                   การกาหนดมิติของตัวชี้วัดที่เลือก
                               ตามข้อมูลดัชนีหลักที่เกิดขึ้น มี             ซึ่งอาจเกิดการชี้นาได้
   indicators approach)
                               ความเชื่อมโยงสูงกับการกาหนด                  (potentially bias)
                             NATIONAL PROGRESS
                               นโยบาย                               INDEX
A



B
การสารวจสาธารณะมตินิยาม “ความก้าวหน้า” ของคนไทย
NATIONAL SURVEY: PROGRESS DEFINING




                                                                    2
106,000
samplings

                                                                              คาถามสาคัญ
มีนาคม-เมษายน
สารวจภาคสนามทั่วประเทศ และ
WORKSHOP วิเคราะห์ประมวลผลร่วมกับ
มูลนิธินโยบายสุขภาวะ (ecological footprint) และ         เรื่องใดมีความสาคัญต่อชีวิตท่าน ?
กรมสุขภาพจิต (mental health survey)
                                                  ประเทศเจริญก้าวหน้า ต้องดูจากเรื่องใด?
เรื่องใดมีความสาคัญต่อชีวิตท่าน ?
ประเทศเจริญก้าวหน้า ต้องดูจากเรื่องใด?
1.    สุขภาพ
2.    การศึกษา/การเรียนรู้
3.    การทางาน/ประกอบอาชีพ
4.    ชีวิตครอบครัวและชุมชน
5.    ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
6.    ทีอยู่อาศัยและสาธารณูปโภค
         ่
7.    ความสุขและความพึงพอใจในชีวิต
8.    ฐานะทางเศรษฐกิจ
9.    การลดความเหลื่อมล้า (ความไม่เท่าเทียมกัน) ทางเศรษฐกิจและสังคม
10.   ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ
11.   การมีส่วนร่วมทางการเมือง และ ธรรมาภิบาล (การปกครองที่ดี โปร่งใส และเป็นธรรม)
12.   ความสามัคคีและความสมานฉันท์ในสังคม
13.   ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ
14.   อื่นๆ (ระบุ)…………………………………………………………………………………………………………
ท่านคิดว่าประเทศมีความเจริญก้าวหน้าด้านสุขภาพ ต้องดู
จากเรื่องใด
1.    ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี
2.    ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
3.    ประชาชนมีอายุยืนยาว
4.    แนวโน้มของโรคติดต่อ/ไม่ติดต่อลดลง
5.    คนพิการ/ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น
6.    ประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพลดลง (เช่น เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด เอดส์)
7.    ประชาชนมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพมากขึ้น (ออกกาลังกาย อาหาร)
8.    ประชาชนมีร่างกายสมส่วน (ไม่อ้วน ไม่ผอม)
9.    ค่าใช้จ่าย และคุณภาพในการรักษาพยาบาลที่สมเหตุสมผล
10.   บุคลากรและสถานบริการด้านสาธารณสุขที่เพียงพอ
11.   ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพอย่างทั่วถึง
12.   ประชาชนมีพัฒนาการทางสติปัญญาและอารมณ์ที่สมวัย
13.   อื่นๆ (ระบุ) ……………………………………………………………………………………
ความก้าวหน้าของประเทศเป็นวาระสาธารณะ
                               ของทุกคน [of-by-for]


                               ทุกวิชาชีพเป็นกลไกสาคัญของการขับเคลื่อน
                               สังคมสู่ความก้าวหน้า (ไม่จากัดเฉพาะการบริจาค)


การร่วมสร้างความก้าวหน้าทาได้ไม่ยาก
ทาได้ทุกคนตลอดเวลา

                                        เสียงทุกคนมีความหมายต่อการกาหนดทิศ
                                        ทางการพัฒนาประเทศ (และการใช้ทรัพยากร)

More Related Content

Viewers also liked

Fb manage 17-4-2013
Fb manage 17-4-2013Fb manage 17-4-2013
Fb manage 17-4-2013
Maytapriya K.
 
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
Pakornkrits
 
เปิดร้านบน Facebook ด้วยแอพ BuddyBuy - Timeline
เปิดร้านบน Facebook ด้วยแอพ BuddyBuy - Timelineเปิดร้านบน Facebook ด้วยแอพ BuddyBuy - Timeline
เปิดร้านบน Facebook ด้วยแอพ BuddyBuy - Timeline
SEKr
 
ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย facebook
ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย facebookปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย facebook
ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย facebook
Khonkaen University
 
Facebook marketing 2.0
Facebook marketing 2.0Facebook marketing 2.0
Facebook marketing 2.0
Maykin Likitboonyalit
 
Drugs & cosmetics act 1940
Drugs & cosmetics act 1940Drugs & cosmetics act 1940
Drugs & cosmetics act 1940Rakshit Thumar
 

Viewers also liked (6)

Fb manage 17-4-2013
Fb manage 17-4-2013Fb manage 17-4-2013
Fb manage 17-4-2013
 
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
 
เปิดร้านบน Facebook ด้วยแอพ BuddyBuy - Timeline
เปิดร้านบน Facebook ด้วยแอพ BuddyBuy - Timelineเปิดร้านบน Facebook ด้วยแอพ BuddyBuy - Timeline
เปิดร้านบน Facebook ด้วยแอพ BuddyBuy - Timeline
 
ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย facebook
ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย facebookปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย facebook
ปั้นแบรนด์ให้รวยด้วย facebook
 
Facebook marketing 2.0
Facebook marketing 2.0Facebook marketing 2.0
Facebook marketing 2.0
 
Drugs & cosmetics act 1940
Drugs & cosmetics act 1940Drugs & cosmetics act 1940
Drugs & cosmetics act 1940
 

Similar to ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ

Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
sakarinkhul
 
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทยการพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทยDr.Choen Krainara
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์jeabjeabloei
 
การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
Nakhonratchasima Provincial of public health office
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
Jirasap Kijakarnsangworn
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Silpakorn University
 
Action plan
Action planAction plan
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
ssuserbaf627
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

Similar to ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ (20)

551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
Edu pre 04 การวางแผนยุทธศาสตร์ 11 may 2016
 
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทยการพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
การพัฒนาตัวชี้วัดและการติดตามและประเมินผลความเหลื่อมล้ำด้านการพัฒนาในประเทศไทย
 
Communty diagnosis
Communty diagnosisCommunty diagnosis
Communty diagnosis
 
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
การจัดการเชิงยุทธศาสตร์
 
การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559การทำแผนของ Cup ปี 2559
การทำแผนของ Cup ปี 2559
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
แนวทางการเขียนรายงานรางวัลคุณภาพแห่งชาติ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพโดยกล...
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 

More from กัญจน์ วิถีที่ยั่งยืน

ย้ อ น ม อ ง ดู ปี 2 5 5 6 เ ร า ไ ด้ ก้ า ว ที่ ก ล้ า อ ะ ไ ร กั น บ้...
ย้ อ น ม อ ง ดู    ปี 2 5 5 6    เ ร า ไ ด้ ก้ า ว ที่ ก ล้ า อ ะ ไ ร กั น บ้...ย้ อ น ม อ ง ดู    ปี 2 5 5 6    เ ร า ไ ด้ ก้ า ว ที่ ก ล้ า อ ะ ไ ร กั น บ้...
ย้ อ น ม อ ง ดู ปี 2 5 5 6 เ ร า ไ ด้ ก้ า ว ที่ ก ล้ า อ ะ ไ ร กั น บ้...
กัญจน์ วิถีที่ยั่งยืน
 
ทางเลือกพลังงานที่ยั่งยืนสำหรับสังคมไทย
ทางเลือกพลังงานที่ยั่งยืนสำหรับสังคมไทยทางเลือกพลังงานที่ยั่งยืนสำหรับสังคมไทย
ทางเลือกพลังงานที่ยั่งยืนสำหรับสังคมไทย
กัญจน์ วิถีที่ยั่งยืน
 
Anti coal - สระแก้ว - 22 พค 54
Anti coal - สระแก้ว - 22 พค 54Anti coal - สระแก้ว - 22 พค 54
Anti coal - สระแก้ว - 22 พค 54
กัญจน์ วิถีที่ยั่งยืน
 
หารือเพื่อปกป้องคุ้มครองพื้นที่ภาคตะวันออกเพื่อความมั่นคงทางอาหารและรับมือกับ...
หารือเพื่อปกป้องคุ้มครองพื้นที่ภาคตะวันออกเพื่อความมั่นคงทางอาหารและรับมือกับ...หารือเพื่อปกป้องคุ้มครองพื้นที่ภาคตะวันออกเพื่อความมั่นคงทางอาหารและรับมือกับ...
หารือเพื่อปกป้องคุ้มครองพื้นที่ภาคตะวันออกเพื่อความมั่นคงทางอาหารและรับมือกับ...กัญจน์ วิถีที่ยั่งยืน
 
เรื่องเล่าบางคล้า
เรื่องเล่าบางคล้าเรื่องเล่าบางคล้า
เรื่องเล่าบางคล้า
กัญจน์ วิถีที่ยั่งยืน
 

More from กัญจน์ วิถีที่ยั่งยืน (7)

ย้ อ น ม อ ง ดู ปี 2 5 5 6 เ ร า ไ ด้ ก้ า ว ที่ ก ล้ า อ ะ ไ ร กั น บ้...
ย้ อ น ม อ ง ดู    ปี 2 5 5 6    เ ร า ไ ด้ ก้ า ว ที่ ก ล้ า อ ะ ไ ร กั น บ้...ย้ อ น ม อ ง ดู    ปี 2 5 5 6    เ ร า ไ ด้ ก้ า ว ที่ ก ล้ า อ ะ ไ ร กั น บ้...
ย้ อ น ม อ ง ดู ปี 2 5 5 6 เ ร า ไ ด้ ก้ า ว ที่ ก ล้ า อ ะ ไ ร กั น บ้...
 
ทางเลือกพลังงานที่ยั่งยืนสำหรับสังคมไทย
ทางเลือกพลังงานที่ยั่งยืนสำหรับสังคมไทยทางเลือกพลังงานที่ยั่งยืนสำหรับสังคมไทย
ทางเลือกพลังงานที่ยั่งยืนสำหรับสังคมไทย
 
Anti coal - สระแก้ว - 22 พค 54
Anti coal - สระแก้ว - 22 พค 54Anti coal - สระแก้ว - 22 พค 54
Anti coal - สระแก้ว - 22 พค 54
 
หารือเพื่อปกป้องคุ้มครองพื้นที่ภาคตะวันออกเพื่อความมั่นคงทางอาหารและรับมือกับ...
หารือเพื่อปกป้องคุ้มครองพื้นที่ภาคตะวันออกเพื่อความมั่นคงทางอาหารและรับมือกับ...หารือเพื่อปกป้องคุ้มครองพื้นที่ภาคตะวันออกเพื่อความมั่นคงทางอาหารและรับมือกับ...
หารือเพื่อปกป้องคุ้มครองพื้นที่ภาคตะวันออกเพื่อความมั่นคงทางอาหารและรับมือกับ...
 
รวมพลังก้าวสู่ "ลุ่มน้ำแห่งความพอเพียง"
รวมพลังก้าวสู่ "ลุ่มน้ำแห่งความพอเพียง"รวมพลังก้าวสู่ "ลุ่มน้ำแห่งความพอเพียง"
รวมพลังก้าวสู่ "ลุ่มน้ำแห่งความพอเพียง"
 
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
ท่องเที่ยวโดยชุมชน คือ ....
 
เรื่องเล่าบางคล้า
เรื่องเล่าบางคล้าเรื่องเล่าบางคล้า
เรื่องเล่าบางคล้า
 

ดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ

  • 1. แผนงานการขับเคลือนสังคมด้วยดัชนีชี้วัดความก้าวหน้าแห่งชาติ ่ [National Progress Index Initiative] มูลนิธินโยบายสุขภาวะ มูลนิธิหัวใจอาสา สานักงานสถิติแห่งชาติ สานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) สานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 2. กรอบการนาเสนอ 1 ที่มาที่ไป แนวความคิดหลัก 2 การตรวจทานเชิงยุทธศาสตร์ 3 แผนการดาเนินการในอนาคต
  • 3. 1 ที่มาที่ไป แนวความคิดหลัก การตรวจทานเชิงยุทธศาสตร์ แผนการดาเนินการในอนาคต
  • 4. 1.1 อะไรคือดัชนีความก้าวหน้าที่แห่งชาติ ??? คือ เครื่องมือ หรือ เข็มทิศ ซึ่งเป็นตัวแทน [proxy] สาคัญ ของ “ความก้าวหน้า” ของสังคม ที่ถูก กาหนดโดยคนส่วนใหญ่ของประเทศ เป็น เป้าหมายที่ทุกคนต้องการให้เกิดขึ้น เป็น เป้าหมายที่ทุกคน “รู้สึก” “เห็น” “สัมผัส” และ “อยากทา” ร่วมกันให้เกิดขึ้นให้ได้
  • 5. เชิงวิชาการ [academic-based] มีมาตรฐาน เชิงเป้าหมาย [mission-based & outcome-oriented] เน้น สลับซับซ้อน ใช้เป็นฐานในการกาหนดนโยบาย การสรุปผลเชิงทัศนคติ โดนใจ (ไม่เน้นความเข้าใจมาก) ไม่ สาธารณะเชิงประเด็น เน้นระบบการรวบรวม ซับซ้อน ให้ความสาคัญกับการสื่อสารกับสาธารณะเชิง จัดเก็บอย่างสม่าเสมอถูกต้องและการเชื่อมต่อ เปรียบเทียบกับดัชนีกระแสหลักอื่นๆ เน้นการรับฟังความเห็น กับนโยบายสาธารณะ นาเสนอรายไตรมาส และสะท้อนกลับเชิงนโยบายหรือแผน (การแก้ปัญหา) ต่อ สาธารณะ นาเสนอรายปี ดัชนีอยู่ เย็นเป็นสุข ดัชนีชี้วัด ความก้าวหน้า ของประเทศ ดัชนีเชิง พื้นที่ เชิงพื้นที่ [area-based] เข้าใจได้โดยง่าย หลากหลายไม่เป็น มาตรฐาน มีความใกล้ตัว ใช้เป็นฐานในการกาหนดมาตรการ กิจกรรม นโยบายสาธารณะเชิงพื้นที่ เน้นความไวและเท่าทัน ของข้อมูล นาเสนอรายเดือน
  • 6. 1.2 ทาไมเราจึงต้องมีแผนการดาเนินการเรื่องนี้ ??? (ที่มาที่ไป ประเด็นปัญหา ความสาคัญ) เพราะประเทศไทยมีเข็มทิศในการพัฒนาประเทศที่ไม่ สมดุล (เน้นเฉพาะเรื่องเศรษฐกิจ) อันนาสู่การกาหนด นโยบายและการจัดสรรทรัพยากรที่ไม่นาสู่การพัฒนาที่ เหมาะสมและยั่งยืน แต่ละภาคส่วนไม่มีโอกาสในการ ร่วมพัฒนาประเทศอย่างเป็นรูปธรรม
  • 8. เพราะ ความ ความสุข และ เจริญเติบโต ความอยู่ดีมีสุข ทางเศรษฐกิจ GDP growth ของประชาชนและ สังคม
  • 9. Richer, not happier รวยขึ้นมากๆ อาจ ไม่มีความสุขมาก Above a certain point—around ขึ้นก็ได้ 15,000 a head GROSS DOMESTIC PRODUCT—more growth stops delivering more happiness
  • 10.
  • 11. เราคาดหวังว่า ความก้าวหน้าอย่าง ความสุข และ สมดุลและยั่งยืน ความอยู่ดีมีสุข [NPI growth] ของประชาชนและ สังคม การขับเคลือนของสังคมทุกภาคส่วนในทิศทางทีถูกต้อง และ ่ ่ นโยบายสาธารณะและระบบการตัดสินใจที่อยู่บนฐานข้อมูลและ ความรู้
  • 12. ความจริงวันนี้ An inconvenient TRUTH [retrospective analysis] > 300% growth of GDP < 10% growth of MDP and life satisfaction
  • 13. THAILAND: A NEW TIGER OF ASIA 8,135 US per capita average growth rates in 2007 2,576 US per 9.4% [from 1985 to 1996] capita in 1987
  • 14. 133 36th GLOBAL COMPETITIVENESS INDEX
  • 15. 182 87th HUMAN DEVELOPMENT INDEX
  • 16. 149 53th ENVIRONMENTAL PERFORMANCE INDEX
  • 18. 157 127th SUSTAINABLE SOCIETY INDEX
  • 20. 1.3 ทาไมเราจึงต้องมีแผนการดาเนินการเรื่องนี้ ??? (ที่มาที่ไป ประเด็นปัญหา ความสาคัญ) มาตรวัดผิด เป้าหมายผิด ผลลัพธ์ผิด โจเซฟ สติกลิทซ์ นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล
  • 21. Measuring what matters Effective policy- People making relevance [public policy in response to the index result]
  • 23. Subjective wellbeing [happiness + life satisfaction] personal ประชาชนอยู่ดีมีสุข wellbeing Objective wellbeing [income, health] quality of life, security, human social right, justice, culture, social สังคมมีคุณภาพ wellbeing ความก้าวหน้า cohesion etc. Environment, ecosystem etc. sustain พัฒนาอย่างยั่งยืน ability
  • 24. 1.4 จะทาให้เกิดขึ้นได้อย่างไร ???
  • 25.
  • 26.
  • 28. ดัชนีเป็นเพียงเครื่องมือ [Means] ไม่ใช่เป็นเป้าหมาย [Ends] โจทย์สาคัญจึงไม่ได้อยู่ที่การพัฒนาชุดตัวชี้วัด ใหม่ (แม้ว่าอาจต้องมีการปรับปรุงอยู่บ้างถ้าจาเป็น) แต่อยู่ ที่การนาดัชนีดังกล่าวที่มีไปสู่การปฏิบัติอย่างมี ยุทธศาสตร์และต่อเนื่องเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงให้ เกิดขึ้นอย่างแท้จริง บทเรียนสาคัญ
  • 29. กระบวนการขับเคลื่อนจะต้องมีการออกแบบอย่างตั้งใจ [Intentional Design] มีระบบ และ มียุทธศาสตร์ ไม่ สามารถเกิดขึ้นอย่างบังเอิญได้ เพราะประเทศไทยยังขาด กลไกและปัจจัยสาคัญจานวนมากที่ไม่สามารถทาให้ กระบวนการเกิดได้โดยธรรมชาติได้ภายใต้บริบทปัจจุบัน บทเรียนสาคัญ
  • 31. อุปสรรคสาคัญที่ทาให้การขับเคลื่อนความก้าวหน้าด้วยดัชนีการพัฒนา ทางเลือกในอดีตไม่สามารถเกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพมี ๔ ส่วนคือ (๑) การขาดข้อมูลที่น่าเชือถือและถูกต้อง ่ (๒) การขาดการนาไปปฏิบัติและขาดกลไกขับเคลื่อนที่ต่อเนื่อง ยั่งยืน (๓) การขาดการสื่อสารและสร้างความเข้าใจร่วมกับสาธารณะ (๔) การขาดการเชื่อมต่อกับการกาหนดนโยบายและการตัดสินใจ ของภาครัฐ บทเรียนสาคัญ
  • 32. ที่มาที่ไป แนวความคิดหลัก 2 การตรวจทานเชิงยุทธศาสตร์ แผนการดาเนินการในอนาคต
  • 33. บทเรียนจากการขับเคลื่อนระดับสากล การออกแบบกระบวนการขับเคลื่อนอย่างเป็น ระบบและมียุทธศาสตร์ (ร่วมกันของหลายภาคส่วน) ขับเคลื่อนหลากหลายระดับ [international-national -local] โดยอยู่บนฐานความรู้และข้อมูล การสร้างกลไกเครือข่ายของเครือข่ายที่ กว้างขวาง [NETWORK OF NETWORKS] การสร้างความรู้สึกร่วมในสังคมของทุกภาคส่วน เน้นการนาสู่การปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เชื่อมต่อกับการ พัฒนานโยบายสาธารณะและกระบวนการตัดสินใจ
  • 34. 3 ประเด็นพื้นฐานที่ต้องพิจารณาของการออกแบบดัชนีความก้าวหน้า การนาเสนอดัชนี ต่อสาธารณะ การกาหนดมิติของดัชนี แนวทางและรูปแบบของดัชนี
  • 35. 3 main approaches for progress index’s development Measuring the Progress of Societies: An Introduction and Practical Guide [OECD] 1 Composite index of the comprehensive set of indicators • Government [MAP Australia] • Academic institute 2 Subjective well-being index [human centre] • THINKTANK, NGOs [nef UK] 3 Adjusted GDP; environmental & societal cost inclusive • Green GDP, China • GPI, Canada
  • 36. แนวทางและรูปแบบของดัชนี รูปแบบการพัฒนาดัชนี ข้อดี ข้อด้อย (1) การพัฒนาชุดดัชนี ครอบคลุม เป็นที่ยอมรับและ ดาเนินการได้ยากเนื่องจาก แบบสัมพัทธ์ หรือ อ้างอิงได้ทางวิชาการ นามาใช้ ต้องสัมพันธ์กับความถูกต้อง เป็นตัวกากับชี้นานโยบายได้ และความถี่ของการจัดเก็บ Composite Index ข้อมูล (2) การใช้ดัชนีความอยู่ ดาเนินการได้โดยง่าย มีระดับ มีข้อจากัดในการแปลงสู่การ ดีมีสุขทางอัตตวิสัย หรือ ของการสะท้อนความรู้สึกของ กาหนดนโยบายของรัฐ และ มี ประชาชนได้สูง คาถามเรื่องความถูกต้องใน Subjective Well- การอ้างอิงเชิงวิชาการ being (3) การปรับแก้จาก เป็นที่คุ้นเคยของประชาชนใน ไม่อาจสะท้อนภาพที่แท้จริง GDP หรือ Adjusted สังคมโดยทั่วไปเนื่องจาก ของความก้าวหน้าได้ทั้งหมด อ้างอิงตามดัชนีที่ใช้กันอยู่แล้ว เนื่องจากข้อจากัดของข้อมูล GDP ต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมและ สังคมที่บางส่วนไม่อาจแปร เป็นมูลค่าเงินได้
  • 37. วิธีการกาหนดมิติของดัชนี [domain] การเลือกมิติของดัชนี ข้อดี ข้อด้อย (1) การอ้างอิงตามดัชนี สามารถเทียบเคียงกับประเทศ ขาดความเฉพาะตัว อาจมองข้าม อื่นๆในบริบทสากลได้ มิติที่สาคัญในระดับรายละเอียดได้ หลักระดับสากล (2) การอ้างอิงตาม ใช้ในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐ ขาดความยั่งยืนในกรณีที่มีความ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มั่นคงทางการเมือง นโยบายของรัฐ (3) การอ้างอิงตามกลุ่ม ระดับการมีส่วนร่วมและความ ลาบากในการเก็บข้อมูลและ เกี่ยวข้องสูงกับทุกภาคส่วนใน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ ผู้มีส่วนได้เสียและ สังคม และไม่สามารถเทียบเคียงกับ ประชาชนทั่วไป บริบทสากลได้
  • 38. การนาเสนอดัชนี แนวทาง ข้อดี ข้อด้อย (1) แนวทางแบบตัวเลข เป็นที่ดึงดูดใจ น่าสนใจ เข้าใจได้ ไม่เปิดโอกาสให้ตีความหมาย อาจ เดี่ยว (The single- โดยง่ายต่อสื่อและประชาชนทั่วไป ไม่เป็นที่ยอมรับของคนในสังคมวง กว้างหากกระบวนการและที่มาไม่ดี number approach) เพียงพอ และอาจนาสู่การส่ง สัญญาณแบบผิดๆได้ (oversimplification) (2) แนวทางแบบการจัดทา มีระดับของความครอบคลุมสูง มีความซับซ้อนสูง ไม่นาเสนอภาพ บัญชีข้อมูล (The ความก้าวหน้าในภาพรวมใดๆได้ ต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการช่วยตีความ accounting framework และนาเสนอ (high complexity) approach) (3) แนวทางแบบกลุ่มพิเศษ เปิดโอกาสให้คนได้ตีความหมาย สัมพันธ์อย่างสูงกับกระบวนการใน ของดัชนี (The suite-of- ของความก้าวหน้าที่หลากหลาย การกาหนดมิติของตัวชี้วัดที่เลือก ตามข้อมูลดัชนีหลักที่เกิดขึ้น มี ซึ่งอาจเกิดการชี้นาได้ indicators approach) ความเชื่อมโยงสูงกับการกาหนด (potentially bias) นโยบาย
  • 39.
  • 40. ลักษณะสาคัญและมิติหลัก ตัวอย่างดัชนีที่จะนามาใช้เป็นดัชนีชี้วัดความก้าวหน้า (Headline (Domains) Indicators) ด้านสุขภาพ อายุขัยเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy); เปาหมาย ๘๗ ปี (ปัจจุบัน ้ ๖๙ ปี) ด้านความอยู่ดีมีสุข ระดับความพึงพอใจกับชีวิต (Life satisfaction); เปาหมาย ๘.๐ (ปัจจุบัน ้ ๖.๓) ด้านการพัฒนาคน ระดับความพึงพอใจกับงานและอัตราการว่างงาน (Job satisfaction and Unemployment rate) ด้านเศรษฐกิจ Global Competitiveness Index; เปาหมาย ๕ (ปัจจุบัน ๔.๕๖) ้ ด้านสิ่งแวดล้อม ร้อยละของพื้นที่ป่าไม้ยั่งยืน; เปาหมายร้ อยละ ๔๐ (ปัจจุบันร้อยละ ๓๐) ้ ด้านสภาพอากาศ ปริมาณของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (CO2 Emission) ด้านธรรมาภิบาล Corruption Perception Index; เป้าหมาย ๕ (ปัจจุบัน ๓.๔) ด้านเศรษฐกิจ รายได้ประชาชาติต่อหัว (National Income per capita) ด้านพลังงาน สัดส่วนร้อยละของพลังงานสะอาดและทดแทนได้
  • 41. MAP Suite of indicators 17 headline dimensions of progress TRAFFIC LIGHT presentation 10-year Time series
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46. ที่มาที่ไป แนวความคิดหลัก การตรวจทานเชิงยุทธศาสตร์ 3 แผนการดาเนินการในอนาคต
  • 47. สั ง คมไทยมี ทิ ศ ทางการพั ฒ นาที่ ดี เ หมาะสมและยั่ ง ยื น อั น น าสู่ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนได้ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง และอยู่ ภ ายใต้ ขี ด ความสามารถในการรองรับของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยผล ดังกล่าวเกิดขึ้นอย่างมีนัยยะสาคัญจากการใช้ดัชนีความก้าวหน้าที่ แท้ จ ริ ง เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการขั บ เคลื่ อ น ผลการด าเนิ น การที่ ไ ด้ สามารถเป็ น กรณี ศึ ก ษาส าคั ญ และเป็ น องค์ ค วามรู้ ที่ ส ามารถ แลกเปลี่ยนเรียนรู้อันเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนกระแสของ การพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับโลก
  • 48. นโยบายสาธารณะและแผนการพัฒนาทั้งในระดับประเทศ ระดับ ท้องถิ่นและ ระดับองค์กร ถูกพัฒนาโดยอ้างอิงและสอดคล้องกับ ผลที่ ส ะท้ อ นจากดั ช นี ค วามก้ า วหน้ า ที่ แ ท้ จ ริ ง และกลายเป็ น เครื่องมือสาคัญในการกาหนดทิศทางของการพัฒนาควบคู่ไปกับ ดั ช นี ก ารพั ฒ นาทางเศรษฐกิ จ ข้ อ มู ล ของดั ช นี ดั ง กล่ า วมี กระบวนการรวบรวมพัฒนาอย่างเป็นระบบต่อเนื่องและมีส่วนร่วม สามารถสะท้อนข้อเท็จจริงและความก้าวหน้าที่เกิดขึ้นในสังคมได้ อย่างแท้จริงและเท่าทันผ่านการจัดการความรู้อย่างกว้างขวาง ทั้ง ในส่วนของภาครัฐ ภาคประชาสังคม ภาคประชาชน และ ภาค สื่อสารมวลชน เกิดเครือข่ายผู้ปฏิบัติและกลไกการขับเคลื่อนที่มี พัฒนาการอย่างยั่งยืนทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
  • 49. สร้างภาพฝันและเป้าหมายร่วมกันของคนในประเทศ Collective DREAM ๒ INNOVATIVE MECHANISM SOCIAL สร้างระบบและกลไกขับเคลื่อน SUPPORT เชิงนวัตกรรม (ดัชนีความก้าวหน้าแห่งชาติ บัญชีประชาชาติความอยู่ดีมีสุข และ คณะทางานเชิงยุทธศาสตร์) ๓ การสร้างกระแสสนับสนุนทางสังคม
  • 51. ความฝันร่วมของคนในประเทศ Visionary and Foresight Thailand [Domains of Progress selected by Thai people] will be completed in April 2011 [good] [sustainable] [quality & active] ENVIRONMENT ECONOMIC CITIZEN [clean] [balanced & fair] [good] ENERGY SOCIETY QUALITY OF LIFE
  • 52. ประเทศไทย Internet National poll survey + Post National Public survey dialogues VISIONARY ROADMAP OF THAILAND
  • 54. INNOVATIVE MECHANISM “วัฒนธรรมของการใช้ข้อมูลเชิง ประจักษ์และความรู้เพื่อกาหนด นโยบายสาธารณะและตัดสินใจ ” (culture of evidence-based public policy and decision-making system)
  • 55. ความต้องการและปัญหาของ ประชาชนและประเทศ [National Progress INDEX รัฐบาล หน่วยงานราชการ & National Account of องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น Well-being] ธุรกิจเอกชน และ ประชาชน S K P A Statistics Knowledge Policy Action สานักงานสถิติแห่งชาติ และ สภาพัฒน์ สช.(กระบวนการมีส่วนร่วม)
  • 58. สื่อสารสาธารณะและ กลไกเพื่อแปลงข้อมูลและความรู้ การตลาดเพื่อสังคม สู่นโยบายและการปฏิบัติ สสส. ทีวีไทย สศช. สานักงานสถิติ กรมประชาสัมพันธ์ เครือข่ายนักสร้างการ เครือข่าย เปลี่ยนแปลงท้องถิ่น สื่อสารมวลชน ชุมชน ท้องถิ่น กพร. มหาวิทยาลัย (สกอ.) สถาบันวิจัย สช. เครือข่ายภาค ประชาสังคม กลไกขับเคลื่อนปฏิรูป แห่งชาติ ภาคธุรกิจ ความฝันร่วมกันของประเทศบนฐานความรู้และการมีส่วนร่วม
  • 60. 3 เดือน พัฒนาเครื่องมือ และ กลไกเชิงนวัตกรรม (ดัชนีความก้าวหน้าแห่งชาติ บัญชีประชาชาติด้านความอยู่ดีมีสุข life satisfaction survey etc.) ศูนย์พัฒนา ประเทศไทย (Progressive 9 National Campaign 1 งานขับเคลื่อนระดับ การสารวจประชามติปีละครั้ง: เดือน ร่วมกาหนดนิยาม Thailand วิสัยทัศน์ประเทศไทย พื้นที่นาร่องใน ๑๐ VISIONARY THAILAND “ความก้าวหน้า” Centre) ความริเริ่มการตลาดเพื่อสังคมและ จังหวัด Life satisfaction survey [Thaihealth, นวัตกรรมทางสังคม [citizen dialogue] ทุก 6 เดือน NESDB, NSO] National Campaign 2 พัฒนาเครือข่าย Citizen Poll ทุก 2 เดือน เป็นสภากาแฟและ 12 เดือน แผนที่ยุทธศาสตร์ประเทศไทย ดาเนินการ ๒๐ อปท. ศูนย์ข้อมูลสาธารณะ เสวนากับสื่อมวลชน THAILAND ROADMAP ทั่วประเทศ เรื่องดัชนีและ ทุก 2 เดือน แผนการพัฒนา ประเทศในรูปแบบที่ National Campaign 3 พัฒนาเครือข่าย การแถลง GDP & NPI เข้าใจง่าย 12 เดือน CHANGED THAILAND ผู้จัดการทางสังคม รายไตรมาส [quick-win celebration] ๑๐๐ อปท.ทั่วประเทศ (NESDB, NSO)
  • 61. เครือข่ายนักวิชาการ [บริษัท แผนการตลาดเพื่อสังคม+ สานักงานพัฒนา เครือข่ายขับเคลื่อน คณะกรรมการกากับทิศทาง คณะทางานประเมินผลภายใน คณะทางาน มูลนิธินโยบายสุขภาวะ มูลนิธิหัวใจอาสา สวนเงินมีมา IRAH และ เครือข่ายเสียงประชาชน+ สานักงานสถิติแห่งชาติ เศรษฐกิจและสังคม ระดับท้องถิ่น ร่วมกับ แผนงาน (มหาวิทยาลัยมหิดล) ยุทธศาสตร์ เวลา อื่นๆ] เครือข่ายพลังบวก แห่งชาติ (สศช.) สช. ชุดกิจกรรมสัมมนาเชิง การจัดทาร่างเอกสารศูนย์ 01 การกาหนดกรอบการประเมิน พัฒนาองค์ความรู้ เครื่องมือ และ ระเบียบวิธีวิจัย ประเทศไทยก้าวหน้า (PROGRESSIVE THAILAND CENTRE) การเชื้อเชิญภาคีเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง subjective well-being และ national account กระบวนการทบทวน บทวิเคราะห์สังเคราะห์ ยุทธศาสตร์เพิ่มเติมผ่าน of wellbeing รวบรวมและพัฒนาความรู้ การรวบรวมข้อมูลและเชิญ และการนาไปสู่การ ข้อเสนอต่างๆที่ได้จาก พื้นฐานกับภาคีร่วมดาเนินการ ชวนพื้นที่นาร่อง 10 แห่ง, ยก เครือข่าย คัดเลือกพื้นที่นาร่อง การสารวจสาธารณมติ การรวบรวมฐานข้อมูลที่ เครือข่าย social network การออกแบบและพัฒนายก ปฏิบัติของดัชนีสังคม คณะกรรมการปฏิรูปใน (ภาคธุรกิจ ชนชั้นกลางใน 02 ในหัวข้อหลัก และ เครื่องมือ ร่างแนวทางการดาเนินการ เกี่ยวข้องกับดัชนี ร่างแบบสารวจสาธารณะ อยู่เย็นเป็นสุข ปีที่ 1 ต่างๆที่จาเป็นต้องใช้ในการ การใช้นวัตกรรมทางสังคม เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 1 [NPI ความก้าวหน้าแห่งชาติ เมือง คนรุ่นใหม่) การจัดเวทีระดมความ การประชุมครั้งที่ 1 มติ "ความก้าวหน้าประเทศ ขับเคลื่อน ได้แก่ บัญชี [area profile, subjective wellbeing เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อน MEDIA FORUM] ประชาชาติด้านความอยู่ดีมี เชิงพื้นที่และเชิงประเด็น และ สุข, ระบบและแบบสารวจlife การประสานงานยกร่าง [ความรู้ งานศึกษาวิจัย นักวิชาการ นักปฏิบัติ กรณีศึกษา] “นิยามความก้าวหน้า” ไทย" [DOMAIN OF PROGRESS] คิดเห็น: วิสัยทัศน์และ การคาดการณ์ประเทศ ไทย [VISIONARY การพัฒนาออกแบบร่าง satisfaction survey หลักสูตรฯ การจัดทาสารวจเสียง การสารวจสาธารณะมติ1: การพัฒนารูปแบบ and FORESIGHT 03 survey, citizen dialogue, หลักสูตรetc.] หลักสูตรฯ ร่วมกับมูลนิธิ นโยบายสุขภาวะ สวนเงินมี สรุปร่างแผนบริหารจัดการ ประชาชน: คนไทยกับการมี การร่วมระบุนิยาม ส่วนร่วมในการพัฒนา "ความก้าวหน้า" ของ วิธีการแถลงผล GDP & NPI และการจัดทา TASKFORCE THAILAND] ใน ระดับประเทศ มา และ IRAH ศูนย์ และ ร่างชุดนิทรรศการ WORKSHOP 1 ประเทศ [THAI CITIZEN ประเทศไทย [DOMAIN OF ห้องทดลองปฏิบัติการ PROFILE] PROGRESS] ทางสังคม การแถลงผล GDP & 04 การประชุมครั้งที่ 2 นาร่อง 10 แห่ง) KICK-OFF การแถลงผล การทดลองหลักสูตรเรียนรู้เพื่อสร้างผู้จัดการทางสังคม (พื้นที่ เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 2 [NPI MEDIA FORUM] PUBLIC CAMPAIGN1: พัฒนาชุดความรู้ที่จาเป็นต้อง วิสัยทัศน์ประเทศไทย NPI ครั้งที่ 1: การออกแบบและพัฒนา [DOMAIN OF ใช้ในงานขับเคลื่อน และ (VISIONARY THAILAND) ร่างแบบสารวจสาธารณะ PROGRESS] การพัฒนาชุดทางเลือก ความริเริ่มนวัตกรรม ทางสังคมเพื่อ สาธารณมติ และ การ จัดทาในรูปแบบที่เข้าใจง่าย ความริเริ่มเครือข่ายพลัง มติ "การสารวจความพึง กระบวนการ ขับเคลื่อนประเทศไทย 05 การจัดทารายงาน ความก้าวหน้าครั้งที่ 1 ดาเนินการจัดนิทรรศการ สัญจร 2 แห่งต่อเดือน (แปลภาษา ทาให้ง่ายขึ้น บวก 1: กิจกรรมการตลาด พอใจประชาชน" [life การแปลงเป็นรูปแบบดิจิตัล เพื่อสังคมเพื่อสนับสนุน satisfaction survey] ห้องทดลองปฏิบัติการ [MENU OF SOCIAL ทางสังคมครั้งที่ 1 INNOVATIONS] สร้างกระแสสังคม จัดพิมพ์ในราคาถูก) รวมถึง นวัตกรรมทางสังคมที่มี การจัดทาแผนกิจกรรม เคลื่อนที่ไปตาม ศักยภาพสูง การสารวจเสียงประชาชน [SOCIAL LAB] การสารวจความพึงพอใจ ปีที่ 1 [2554] 06 [campaign & ignite] เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 3 [NPI MEDIA FORUM] สถาบันการศึกษาทั่วประเทศ NPI 1: ทัศนคติของ ร่วมกับแผนงาน นสท. ประชาชนต่อการร่วม ของประชาชนครั้งที่ 1 [LIFE SATISFACTION TASKFORCE WORKSHOP 2 การขับเคลื่อน เปลี่ยนแปลงประเทศตาม SURVEY] DOMAIN OF PROGRESS 07 การสนับสนุนการดาเนินการ ความริเริ่มเชิงยุทธศาสตร์ใน ดาเนินการจัดนิทรรศการ การจัดเสวนาสาธารณะครั้งที่ การสารวจ การแถลงผล GDP & การจัดเวทีประชา การประชุมครั้งที่ 3 การสนับสนุนกระบวนการ ระดับท้องถิ่น การสนับสนุนการดาเนินการ สนับสนุนนวัตกรรมทางสังคม พื้นที่นาร่อง 10 แห่ง และ กิจกรรมสนับสนุนการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเพิ่มขีด สัญจร 2 แห่งต่อเดือน 1 ความริเริ่มเครือข่ายพลัง life NPI ครั้งที่ 2 กระบวนการ สุนทรียเสวนาและการ การพัฒนาชุดทางเลือก สนับสนุนกิจกรรม ความริเริ่มนวัตกรรม ความริเริ่มเชิง 08 เชิงประเด็น เสริมพลังและการแลกเปลี่ยน ความสามารถของเครือข่าย เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 4 [NPI พัฒนาเครือข่ายขับเคลื่อน บวก 2 ทางสังคมเพื่อ ห้องทดลองปฏิบัติการ ขับเคลื่อนประเทศไทย ยุทธศาสตร์ระดับ ทางวิชาการในประเทศไทย การพัฒนาระบบฐานข้อมูล satisfaction ผู้จัดการทางสังคมของพื้นที่ MEDIA FORUM] จังหวัด [CITIZEN เรียนรู้ของภาคีในแผนงาน นาร่อง Social innovations ผ่านการดาเนินการกิจกรรม เพื่อการพัฒนา ระบบการ ทางสังคมครั้งที่ 2 [SOCIAL LAB] DIALOGUE AND 10 จังหวัด + เคลื่อนที่ (สัมมนาและ จัดเก็บข้อมูล (ร่วมกับ STRATEGIC 09 การทางานกับ ดาเนินการจัดนิทรรศการ สัญจร 2 แห่งต่อเดือน นิทรรศการสัญจร) ไปตาม สถาบันการศึกษาที่สนใจ 1 การสารวจเสียงประชาชน NPI 2 อปท) และ template survey และ ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจใน TASKFORCE WORKSHOP 3 INITIATIVES] ในพื้นที่ นาร่อง 10 จังหวัด 2 ประเด็น แห่งต่อเดือน ( 2 แห่ง) ระดับ จังหวัด และ อปท ร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัด 10 การประชุมครั้งที่ 4 สื่อสารมวลชน การจัดอบรมหลักสูตรเรียนรู้เพื่อสร้างผู้จัดการทางสังคมครั้ง เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 5 [NPI การจัดเสวนาสาธารณะครั้งที่ social lab และนายก อปท. ในพื้นที่ การแถลงผล GDP & [domains] นาร่อง 10 จังหวัด 20 Quickwin 1 ที่ 1 MEDIA FORUM] 2 NPI ครั้งที่ 3 อปท. กระบวนการยกร่าง การเตรียมการจัดงานสัมมนา ความริเริ่มเครือข่ายพลัง แผนที่ยุทธศาสตร์ กระบวนการ 11 การจัดทารายงาน ความก้าวหน้าครั้งที่ 2 สรุปแผนบริหารจัดการศูนย์ ประเทศไทยก้าวหน้า ระดับชาติและการจัดอบรม บวก 3 เชิงปฏิบัติการ และ การรวม รวมเอกสารวิชาการเพื่อ ห้องทดลองปฏิบัติการ ประเทศไทย ทางสังคมครั้งที่ 3 [SOCIAL LAB] จัดพิมพ์และเผยแพร่ การจัดงานสัมมนาระดับชาติ 12 การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 การสนับสนุนและพัฒนากระบวนการยกร่างแผนที่ยุทธศาตร์ การพัฒนาประเทศไทย [THAILAND STRATEGIC เวทีเสวนาสื่อครั้งที่ 6 [NPI และการจัดอบรมเชิง MEDIA FORUM] ปฏิบัติการ (Technical การสารวจเสียงประชาชน การสารวจความพึงพอใจ NPI 3 ของประชาชนครั้งที่ 2 การจัดทารายงานสรุป ความก้าวหน้าประเทศ TASKFORCE WORKSHOP 4
  • 62. แนวทางและรูปแบบของดัชนี รูปแบบการพัฒนาดัชนี ข้อดี ข้อด้อย (1) การพัฒนาชุดดัชนี ครอบคลุม เป็นที่ยอมรับและ ดาเนินการได้ยากเนื่องจาก แบบสัมพัทธ์ หรือ อ้างอิงได้ทางวิชาการ นามาใช้ ต้องสัมพันธ์กับความถูกต้อง เป็นตัวกากับชี้นานโยบายได้ และความถี่ของการจัดเก็บ Composite Index ข้อมูล (2) การใช้ดัชนีความอยู่ ดาเนินการได้โดยง่าย มีระดับ มีข้อจากัดในการแปลงสู่การ ดีมีสุขทางอัตตวิสัย หรือ ของการสะท้อนความรู้สึกของ กาหนดนโยบายของรัฐ และ มี ประชาชนได้สูง คาถามเรื่องความถูกต้องใน Subjective Well- การอ้างอิงเชิงวิชาการ being (3) การปรับแก้จาก เป็นที่คุ้นเคยของประชาชนใน ไม่อาจสะท้อนภาพที่แท้จริง GDP หรือ Adjusted สังคมโดยทั่วไปเนื่องจาก ของความก้าวหน้าได้ทั้งหมด อ้างอิงตามดัชนีที่ใช้กันอยู่แล้ว เนื่องจากข้อจากัดของข้อมูล GDP ต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมและ สังคมที่บางส่วนไม่อาจแปร เป็นมูลค่าเงินได้
  • 63. วิธีการกาหนดมิติของดัชนี [domain] การเลือกมิติของดัชนี ข้อดี ข้อด้อย (1) การอ้างอิงตามดัชนี สามารถเทียบเคียงกับประเทศ ขาดความเฉพาะตัว อาจมองข้าม อื่นๆในบริบทสากลได้ มิติที่สาคัญในระดับรายละเอียดได้ หลักระดับสากล (2) การอ้างอิงตาม ใช้ในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐ ขาดความยั่งยืนในกรณีที่มีความ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มั่นคงทางการเมือง นโยบายของรัฐ (3) การอ้างอิงตามกลุ่ม ระดับการมีส่วนร่วมและความ ลาบากในการเก็บข้อมูลและ เกี่ยวข้องสูงกับทุกภาคส่วนใน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ ผู้มีส่วนได้เสียและ สังคม และไม่สามารถเทียบเคียงกับ ประชาชนทั่วไป บริบทสากลได้
  • 64. การนาเสนอดัชนี แนวทาง ข้อดี ข้อด้อย (1) แนวทางแบบตัวเลข เป็นที่ดึงดูดใจ น่าสนใจ เข้าใจได้ ไม่เปิดโอกาสให้ตีความหมาย อาจ เดี่ยว (The single- โดยง่ายต่อสื่อและประชาชนทั่วไป ไม่เป็นที่ยอมรับของคนในสังคมวง กว้างหากกระบวนการและที่มาไม่ดี number approach) เพียงพอ และอาจนาสู่การส่ง ADJUSTED GDP [media’s attraction] ดๆได้ สัญญาณแบบผิ (oversimplification) (2) แนวทางแบบการจัดทา มีระดับของความครอบคลุมสูง มีความซับซ้อนสูง ไม่นาเสนอภาพ บัญชีข้อมูล (The ความก้าวหน้าในภาพรวมใดๆได้ ต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการช่วยตีความ accounting framework และนาเสนอ (high complexity) approach) NATIONAL ACCOUNT OF WELLBEING (3) แนวทางแบบกลุ่มพิเศษ เปิดโอกาสให้คนได้ตีความหมาย สัมพันธ์อย่างสูงกับกระบวนการใน ของดัชนี (The suite-of- ของความก้าวหน้าที่หลากหลาย การกาหนดมิติของตัวชี้วัดที่เลือก ตามข้อมูลดัชนีหลักที่เกิดขึ้น มี ซึ่งอาจเกิดการชี้นาได้ indicators approach) ความเชื่อมโยงสูงกับการกาหนด (potentially bias) NATIONAL PROGRESS นโยบาย INDEX
  • 65. A B
  • 66. การสารวจสาธารณะมตินิยาม “ความก้าวหน้า” ของคนไทย NATIONAL SURVEY: PROGRESS DEFINING 2 106,000 samplings คาถามสาคัญ มีนาคม-เมษายน สารวจภาคสนามทั่วประเทศ และ WORKSHOP วิเคราะห์ประมวลผลร่วมกับ มูลนิธินโยบายสุขภาวะ (ecological footprint) และ เรื่องใดมีความสาคัญต่อชีวิตท่าน ? กรมสุขภาพจิต (mental health survey) ประเทศเจริญก้าวหน้า ต้องดูจากเรื่องใด?
  • 67. เรื่องใดมีความสาคัญต่อชีวิตท่าน ? ประเทศเจริญก้าวหน้า ต้องดูจากเรื่องใด? 1. สุขภาพ 2. การศึกษา/การเรียนรู้ 3. การทางาน/ประกอบอาชีพ 4. ชีวิตครอบครัวและชุมชน 5. ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 6. ทีอยู่อาศัยและสาธารณูปโภค ่ 7. ความสุขและความพึงพอใจในชีวิต 8. ฐานะทางเศรษฐกิจ 9. การลดความเหลื่อมล้า (ความไม่เท่าเทียมกัน) ทางเศรษฐกิจและสังคม 10. ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ 11. การมีส่วนร่วมทางการเมือง และ ธรรมาภิบาล (การปกครองที่ดี โปร่งใส และเป็นธรรม) 12. ความสามัคคีและความสมานฉันท์ในสังคม 13. ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ 14. อื่นๆ (ระบุ)…………………………………………………………………………………………………………
  • 68. ท่านคิดว่าประเทศมีความเจริญก้าวหน้าด้านสุขภาพ ต้องดู จากเรื่องใด 1. ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี 2. ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง 3. ประชาชนมีอายุยืนยาว 4. แนวโน้มของโรคติดต่อ/ไม่ติดต่อลดลง 5. คนพิการ/ผู้สูงอายุสามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น 6. ประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพลดลง (เช่น เหล้า บุหรี่ ยาเสพติด เอดส์) 7. ประชาชนมีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพมากขึ้น (ออกกาลังกาย อาหาร) 8. ประชาชนมีร่างกายสมส่วน (ไม่อ้วน ไม่ผอม) 9. ค่าใช้จ่าย และคุณภาพในการรักษาพยาบาลที่สมเหตุสมผล 10. บุคลากรและสถานบริการด้านสาธารณสุขที่เพียงพอ 11. ประชาชนมีหลักประกันสุขภาพอย่างทั่วถึง 12. ประชาชนมีพัฒนาการทางสติปัญญาและอารมณ์ที่สมวัย 13. อื่นๆ (ระบุ) ……………………………………………………………………………………
  • 69. ความก้าวหน้าของประเทศเป็นวาระสาธารณะ ของทุกคน [of-by-for] ทุกวิชาชีพเป็นกลไกสาคัญของการขับเคลื่อน สังคมสู่ความก้าวหน้า (ไม่จากัดเฉพาะการบริจาค) การร่วมสร้างความก้าวหน้าทาได้ไม่ยาก ทาได้ทุกคนตลอดเวลา เสียงทุกคนมีความหมายต่อการกาหนดทิศ ทางการพัฒนาประเทศ (และการใช้ทรัพยากร)