SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ั ่
          เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) หมายถึง แผ่นดินที่ต้ งอยูระหว่างแม่น้ าสองสาย คือ แม่น้ าไทกริ ส (Tigis) และ
ยูเฟรตีส (Euphrates) ดินแดนแห่งนี้จึงเป็ นดินแดนที่มีความสมบูรณ์เป็ นอย่างมาก มีผคนอพยพจากที่ต่าง ๆ เพื่อมาอาศัยใน
                                                                                 ู้
ดินแดนแห่งนี้ มีอาณาจักรโบราณหลายแห่ง อาทิ อาณาจักรซูเมอร์ (Sumerian Civilization) อาณาจักรบาบิโลเนีย
(Babylonia) อัสซีเรี ย (Assyria) มีเดีย (Media) เป็ นต้น
• ( Sumerian ) - The White Temple, Uruk ( 3,500 – 3,000 B.C.)
( Babylonian) – ( 1,900 – 729
  B.C. )
( Assyrian ) – (1,000 – 612 B.C. )
จบการนาเสนอ
•   1.อาณาจักรสุเมเรี ย (Sumeria)
    มีผลงานศิลปกรรมที่เหลืออยูบางจากการถูกทาลาย โดยข้าศึกศัตรู และสภาพดินฟ้ าอากาศ ซึ่งจาแนกอยูในสาขาต่าง ๆ ดังนี้ คือ
                              ่ ้                                                              ่
    จิตรกรรม : ภาพจิตรกรรมที่สาคัญ ได้แก่ ภาพเขียนพระนางชูบด(Shubad) พบในสุสานเมืองเออร์ (Ur) มีอายุประมาณ 2,850 – 2,450 B.C.
                                                           ั
    ประติมากรรม : ส่วนใหญ่เป็ นประติมากรรมแบบนูนสูง และลอยตัวเกี่ยวกับเทพเจ้ากษัตริ ย ์ และบุคคลสาคัญในสมัยนั้น ซึ่งมีดงนี้ คือ
                                                                                                                       ั
    รู ปสลักศีรษะผูหญิงซึ่งขุดพบได้ที่เมืองอูรุค (Uruk) มีอายุประมาณ 3,500 – 3,000 ปี ก่อนคริ สตกาล รู ปสลักชิ้นนี้นกโบราณคดีสนนิษฐานว่า ดวงตาและคิ้วนั้นเดิมคงทาด้วยวัสดุทาสี ส่วนผมทาด้วยทองหรื อทองแดง แต่สิ่งเหล่านี้ได้หลุดหายไปหมดแล้ว เหลือเพียงส่วนที่เป็ นโครง
                   ้                                                                                                ั         ั
    หน้าและกะโหลกศีรษะเท่านั้น
    ที่วิหารอาบู (Abu Temple) ที่เทลอัสมาร์ (Tell Asmar) มีหลายชิ้นด้วยกัน เช่น ประติมากรรมแบบลอยตัว มีอายุประมาณ 2,700 – 2,500 ปี ก่อนคริ สตกาล นักโบราณคดีสนนิษฐานว่ามีท้งรู ปเทพเจ้า Abu (เทพเจ้าแห่งพืชผัก) รู ปสลักมหามาตาเทวี รู ปสลักพวกพระ
                                                                                                                                                                               ั           ั
    และบุคคลที่น่าเคารพ เป็ นต้น รู ปสลักเหล่านี้ทาจากยิบซัมผสมกับพวกแร่ ไหม้ไฟ เช่น อัสฟัลต์ และปิ โตรเลียม
    งานประติมากรรมแบบลอยตัวอีกชิ้นหนึ่งซึ่งสวยงามมาก ทาจากวัสดุพวกไม้ แต่ทาสีทอง เป็ นรู ปแพะมีปีกยืนใกล้ตนไม้ (Billy Goat and Tree) งานชิ้นนี้พบที่เมืองอูร์ (Ur) สร้างเมื่อประมาณปี 2,600 B.C. ปัจจุบนอยูที่พิพิธภัณฑ์ในกรุ งฟิ ลาเดลเฟี ย
                                                                                                             ้                                                                                                ั ่
    ลักษณะเด่นชัดในงานประติมากรรมของสุเมเรี ย คือ
    รู ปทรงมีลกษณะเป็ นแบบเรขาคณิ ตมากกว่าที่จะเป็ นแบบสัจนิยม (Realistic)
              ั
    นิยมสลักดวงตาให้ใหญ่มากเพื่อใช้สื่อสารกับเทพเจ้า ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากความเชื่อที่ว่า ดวงตาคือหน้าต่างของวิญญาณ (Window of the soul)
    ถ้าเป็ นรู ปเทพเจ้าจะมีขนาดใหญ่ และดวงตานิยมทาสี
    การจัดภาพสาหรับประติมากรรมแบบนูนสูงนั้น ถ้าเป็ นบุคคลสาคัญจะมีขนาดใหญ่ ส่วนตัวประกอบจะมีขนาดเล็กลงตามส่วน
    นิยมใช้สีต่าง ๆ เข้ามาบ้างแล้ว โดยเฉพาะสีทองและสีฟ้า
    สถาปัตยกรรม : อารยธรรมเมโสโปเตเมีย นิยมสร้าง Ziggurat ซึ่งเป็ นสถาปัตยกรรมสร้างด้วยวัสดุจาพวกอิฐและไม้ ความคงทนสูงานสถาปัตยกรรมของอียปต์ไม่ได้ เพราะงานของอียปต์สร้างด้วยวัสดุจาพวกหิ น ลักษณะสาคัญของซิกกูรัตก็คือเป็ นปิ รามิดแบบขั้นบันได ซึ่งในระยะแรก
                                                                                                                          ้                            ิ                  ิ
    มีวตถุประสงค์เพื่อใช้เป็ นวิหารสาหรับพวกพระประกอบพิธีกรรมในทางศาสนา แต่ต่อมากซิกกูรัตนี้ได้กลายเป็ นส่วนหนึ่งของพระราชวังของกษัตริ ย ์ เช่น ซิกกูรัตที่เมืองอูร์ (Ur)
       ั
    ซิกกูรัตที่ขุดพบได้ อาทิเช่น “The White Temple” พบที่เมืองอูรุค (Uruk) หรื อวาร์กา (Warka) มีอายุประมาณ 3,500 – 3,000 ปี ก่อนคริ สตกาล
    นอกจากนี้ ยังมีสุสานอันเป็ นสถานที่เก็บพระศพของกษัตริ ย ์ เช่น สุสานของกษัตริ ยอาบาร์กี (Abargi) และราชินีชูบด (Shubad) สร้างประมาณ 2,570 ปี ก่อนคริ สตกาล ก่อด้วยหินขุดเป็ นอุโมงค์ลงไปใต้พ้ืนดิน ภายในไม่ซบซ้อนเหมือนสุสานของอียปต์โบราณ มีหองสาหรับเก็บ
                                                                                   ์                             ั                                                                                              ั                     ิ           ้
    พระศพและสมบัติ ส่วนข้างนอกห้องเป็ นอุโมงค์กว้าง มีหลุมหินหลายหลุม หลุมแรกสาหรับพวกทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ หลุมที่สองมีซากรถม้า เกวียน รวมทั้งซากวัวและม้า ตลอดจนซากคนขับรถ หลุมที่สามเป็ นหลุมสาหรับนักดนตรี หลุมสุดท้ายเป็ นหลุมของพวกนางสนมกานัล
    บุคคลเหล่านี้ลวนเป็ นคนสนิทของพระาชาและพระราชินีที่ถกสังให้ดื่มยาพิษ เพื่อตามไปรับใช้ในโลกหน้าอันเป็ นความเชื่อในเรื่ องชีวตหลังความตายของคนในสมัยนั้น
                  ้                                           ู ่                                                              ิ



    2.อาณาจักรบาบิโลเนีย (Babylonia) (ประมาณปี 1,900 – 729 B.C.)
    ชาวบาบิโลเนียเป็ นพวกเซมิติค (Semitics) สาขาหนึ่งซึ่งอยูทางตอนใต้ของอาณาจักรอัสซีเรี ย อารยธรรมที่บาบิโลเนียได้พฒนามาจากอารยธรรมของชาวสุเมเรี ยน ซึ่งมีความเจริ ญมาก่อนเป็ นเวลาหลายร้อยปี แล้ว ได้แก่ ความเจริ ญทางด้านการค้า ศิลปกรรม การปกครอง และการสื่อสาร
                                                            ่                                                       ั
    ซึ่งยังคงใช้อกษรคูนิฟอร์ม (Cuneiform) เป็ นภาษาสื่อสารกันทัวมหาอาณาจักร
                 ั                                              ่
    ต่อมาในรัชสมัยจของพระเจ้าฮัมมูราบี (Hammurabi – 1800 B.C.) พระองค์ได้ต่อสูและทาสงครามกับพวกเมโสโปเตเมียกลุ่มอื่น ๆ จนได้รับชัยชนะและได้รวบรวมอาณาจักรทั้งหลายเข้าเป็ นอาณาจักรเดียวกัน เรี ยกว่าอาณาจักรบาบิโลเนีย มีศนย์กลางความเจริ ญอยูที่กรุ งบาบิ
                                                                                                     ้                                                                                                                             ู                   ่
    โลน (ในพระคัมภีร์ไบเบิลเรี ยกบาบูโลน) พระเจ้าฮัมมูราบีเป็ นกษัตริ ยที่มีความสามารถมาก โดยเฉพาะอย่างยิงในด้านการปกครอง พระองค์ได้จดระบบกฎหมายขึ้นมาเพื่อใช้ปกครองประเทศ พร้อมกันนี้ได้ทรงประกาศให้ชาวเมืองยึดถือมหาเทพมาร์ดุค (Marduk) เป็ นมหาเทพประจา
                                                                        ์                                   ่                        ั
    เมือง ผูทรงมองอานาจสิทธิในการปกครองประเทศให้กบพระองค์ เพราะฉะนั้นพระมหากษัตริ ยจึงมีลกษณะเป็ นแบบสมมติเทวราช (Semi-divinity) ต่อมาหลังจากรัชสมัยของพระเจ้าฮัมมูราบีแล้วอาณาจักรบาบิโลเนียได้ถกทาลายลง โดยพวกแคสไซต์ (Kassites) ซึ่งเป็ นชาติ
            ้                                               ั                                      ์ ั                                                                                                       ู
    พันธุหนึ่งที่อยูตอนกลางของทวีปเอเซีย ความเจริ ญทั้งหลายจึงย้ายมารุ่ งเรื องในอาณาจักรอัสซีเรี ย ประมาณ 1,000 – 612 B.C. และในครั้งนี้อาณาจักรบาบิโลเนียได้กลายเป็ นศูนย์กลางทางอารยธรรมของโลกในยุคนั้น โดยเฉพาะทางด้านดาราศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ศิลปกรรม และการ
          ์        ่
    ธุรกิจ สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ได้ถกสร้างขึ้นเป็ นอันมากในรัชสมัยของพระเจ้า Nebuchadnezzar (ประมาณปี 605 – 561 B.C.) หลังจากในช่วงรัชสมัยนี้แล้ว อาณาจักรบาบิโลเนียมีความเจริ ญอยูเ่ พียงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น จากนั้นได้ตกเป็ นเมืองขึ้นของอาณาจักรเปอร์ เซียตั้งแต่
                                  ู
    นั้นมา
    ศิลปกรรมในสมัยนี้มท้งประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม
                      ี ั
    จิตรกรรม : สาหรับจิตรกรรมนั้นมีนอยมาก แต่เท่าที่พบได้เป็ นภาพเขียนตามฝาผนัง
                                    ้
    พระราชวังหรื อตามสถานที่ก่อสร้างของสาธารณชน ภายในภาพเป็ นเรื่ อง
    ราวเกี่ยวกับพิธีกรรมทางศาสนาหรื อมุ่งเน้นสอนทางด้านศีลธรรมจาก
    การขุดค้นพบซากโบราณสถานต่าง ๆ นักโบราณคดีได้พบซากพระราชวัง
    ของพระเจ้าซิมริ ลิม (Ziimrilim) ที่เมืองมารี (Mari) ปัจจุบนชื่อ เทลเลล
                                                                 ั
    ฮาริ รี (Tellel Hariri) ซึ่งอยูตอนกลางบริ เวณแม่น้ ายูเฟรตีน แสดงให้เห็น
                                     ่
    ถึงภาพเขียนฝาผนังแบบ Frescoes (การเขียนภาพบนฝาผนังปูนเปี ยก)
    เกี่ยวกับพิธีกรรมทางศาสนา การระบายสีใช้สีเข้มและหลายสี เช่น สีแดง
    เหลือง เทา ดา น้ าตาล นิยมตัดเส้นเพื่อเน้นลวดลายให้เด่นชัด การจัดภาพ
    ลักษณะคล้ายภาพของอียปต์ กล่าวคือ นิยมวาดให้ใบหน้าและศีรษะ
                             ิ
    แสดงออกทางด้านข้างดวงตา และลาตัวช่วงบนแสดงทางด้านหน้า แต่เท้า
    กลับแสดงเป็ นด้านข้างอีกทั้งรู ปทรงของสิ่งต่าง ๆ ในภาพนั้นนิยมใช้รูปทรง
    ทางเรขาคณิ ต และมีลกษณะเป็ นแบบมโนคตินิยม (Idealism)
                         ั

More Related Content

What's hot

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารPRINTT
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...A'mp Minoz
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลกgirapong
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)Natee Tasanakulwat
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์numattapon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sai Khunchanok
 

What's hot (19)

วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหารวัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลก
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
อารยะธรรมจ นRe (1) (1)
 
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
 
2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย2.2 อารยธรรมอินเดีย
2.2 อารยธรรมอินเดีย
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
Compresent 1
Compresent 1Compresent 1
Compresent 1
 
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
จุดเริ่มต้นประวัติศาสตร์ (Oh! History Begin)
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Similar to เมโสโปเตเมีย

อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตกสื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตกDraftfykung U'cslkam
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1Napatrapee Puttarat
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Milky' __
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1Noo Suthina
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพรAniwat Suyata
 

Similar to เมโสโปเตเมีย (20)

Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกยุคโบราณ(อัพเดท2557)
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตกสื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
สื่อการเรียนรู้เรื่งอารยธรรมตะวันตก
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
Content04
Content04Content04
Content04
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 

More from sangworn

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์sangworn
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2sangworn
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรีsangworn
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 

More from sangworn (10)

การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรี
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 

เมโสโปเตเมีย

  • 2. ั ่ เมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) หมายถึง แผ่นดินที่ต้ งอยูระหว่างแม่น้ าสองสาย คือ แม่น้ าไทกริ ส (Tigis) และ ยูเฟรตีส (Euphrates) ดินแดนแห่งนี้จึงเป็ นดินแดนที่มีความสมบูรณ์เป็ นอย่างมาก มีผคนอพยพจากที่ต่าง ๆ เพื่อมาอาศัยใน ู้ ดินแดนแห่งนี้ มีอาณาจักรโบราณหลายแห่ง อาทิ อาณาจักรซูเมอร์ (Sumerian Civilization) อาณาจักรบาบิโลเนีย (Babylonia) อัสซีเรี ย (Assyria) มีเดีย (Media) เป็ นต้น
  • 3. • ( Sumerian ) - The White Temple, Uruk ( 3,500 – 3,000 B.C.)
  • 4.
  • 5. ( Babylonian) – ( 1,900 – 729 B.C. )
  • 6. ( Assyrian ) – (1,000 – 612 B.C. )
  • 8. 1.อาณาจักรสุเมเรี ย (Sumeria) มีผลงานศิลปกรรมที่เหลืออยูบางจากการถูกทาลาย โดยข้าศึกศัตรู และสภาพดินฟ้ าอากาศ ซึ่งจาแนกอยูในสาขาต่าง ๆ ดังนี้ คือ ่ ้ ่ จิตรกรรม : ภาพจิตรกรรมที่สาคัญ ได้แก่ ภาพเขียนพระนางชูบด(Shubad) พบในสุสานเมืองเออร์ (Ur) มีอายุประมาณ 2,850 – 2,450 B.C. ั ประติมากรรม : ส่วนใหญ่เป็ นประติมากรรมแบบนูนสูง และลอยตัวเกี่ยวกับเทพเจ้ากษัตริ ย ์ และบุคคลสาคัญในสมัยนั้น ซึ่งมีดงนี้ คือ ั รู ปสลักศีรษะผูหญิงซึ่งขุดพบได้ที่เมืองอูรุค (Uruk) มีอายุประมาณ 3,500 – 3,000 ปี ก่อนคริ สตกาล รู ปสลักชิ้นนี้นกโบราณคดีสนนิษฐานว่า ดวงตาและคิ้วนั้นเดิมคงทาด้วยวัสดุทาสี ส่วนผมทาด้วยทองหรื อทองแดง แต่สิ่งเหล่านี้ได้หลุดหายไปหมดแล้ว เหลือเพียงส่วนที่เป็ นโครง ้ ั ั หน้าและกะโหลกศีรษะเท่านั้น ที่วิหารอาบู (Abu Temple) ที่เทลอัสมาร์ (Tell Asmar) มีหลายชิ้นด้วยกัน เช่น ประติมากรรมแบบลอยตัว มีอายุประมาณ 2,700 – 2,500 ปี ก่อนคริ สตกาล นักโบราณคดีสนนิษฐานว่ามีท้งรู ปเทพเจ้า Abu (เทพเจ้าแห่งพืชผัก) รู ปสลักมหามาตาเทวี รู ปสลักพวกพระ ั ั และบุคคลที่น่าเคารพ เป็ นต้น รู ปสลักเหล่านี้ทาจากยิบซัมผสมกับพวกแร่ ไหม้ไฟ เช่น อัสฟัลต์ และปิ โตรเลียม งานประติมากรรมแบบลอยตัวอีกชิ้นหนึ่งซึ่งสวยงามมาก ทาจากวัสดุพวกไม้ แต่ทาสีทอง เป็ นรู ปแพะมีปีกยืนใกล้ตนไม้ (Billy Goat and Tree) งานชิ้นนี้พบที่เมืองอูร์ (Ur) สร้างเมื่อประมาณปี 2,600 B.C. ปัจจุบนอยูที่พิพิธภัณฑ์ในกรุ งฟิ ลาเดลเฟี ย ้ ั ่ ลักษณะเด่นชัดในงานประติมากรรมของสุเมเรี ย คือ รู ปทรงมีลกษณะเป็ นแบบเรขาคณิ ตมากกว่าที่จะเป็ นแบบสัจนิยม (Realistic) ั นิยมสลักดวงตาให้ใหญ่มากเพื่อใช้สื่อสารกับเทพเจ้า ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากความเชื่อที่ว่า ดวงตาคือหน้าต่างของวิญญาณ (Window of the soul) ถ้าเป็ นรู ปเทพเจ้าจะมีขนาดใหญ่ และดวงตานิยมทาสี การจัดภาพสาหรับประติมากรรมแบบนูนสูงนั้น ถ้าเป็ นบุคคลสาคัญจะมีขนาดใหญ่ ส่วนตัวประกอบจะมีขนาดเล็กลงตามส่วน นิยมใช้สีต่าง ๆ เข้ามาบ้างแล้ว โดยเฉพาะสีทองและสีฟ้า สถาปัตยกรรม : อารยธรรมเมโสโปเตเมีย นิยมสร้าง Ziggurat ซึ่งเป็ นสถาปัตยกรรมสร้างด้วยวัสดุจาพวกอิฐและไม้ ความคงทนสูงานสถาปัตยกรรมของอียปต์ไม่ได้ เพราะงานของอียปต์สร้างด้วยวัสดุจาพวกหิ น ลักษณะสาคัญของซิกกูรัตก็คือเป็ นปิ รามิดแบบขั้นบันได ซึ่งในระยะแรก ้ ิ ิ มีวตถุประสงค์เพื่อใช้เป็ นวิหารสาหรับพวกพระประกอบพิธีกรรมในทางศาสนา แต่ต่อมากซิกกูรัตนี้ได้กลายเป็ นส่วนหนึ่งของพระราชวังของกษัตริ ย ์ เช่น ซิกกูรัตที่เมืองอูร์ (Ur) ั ซิกกูรัตที่ขุดพบได้ อาทิเช่น “The White Temple” พบที่เมืองอูรุค (Uruk) หรื อวาร์กา (Warka) มีอายุประมาณ 3,500 – 3,000 ปี ก่อนคริ สตกาล นอกจากนี้ ยังมีสุสานอันเป็ นสถานที่เก็บพระศพของกษัตริ ย ์ เช่น สุสานของกษัตริ ยอาบาร์กี (Abargi) และราชินีชูบด (Shubad) สร้างประมาณ 2,570 ปี ก่อนคริ สตกาล ก่อด้วยหินขุดเป็ นอุโมงค์ลงไปใต้พ้ืนดิน ภายในไม่ซบซ้อนเหมือนสุสานของอียปต์โบราณ มีหองสาหรับเก็บ ์ ั ั ิ ้ พระศพและสมบัติ ส่วนข้างนอกห้องเป็ นอุโมงค์กว้าง มีหลุมหินหลายหลุม หลุมแรกสาหรับพวกทหารมหาดเล็กรักษาพระองค์ หลุมที่สองมีซากรถม้า เกวียน รวมทั้งซากวัวและม้า ตลอดจนซากคนขับรถ หลุมที่สามเป็ นหลุมสาหรับนักดนตรี หลุมสุดท้ายเป็ นหลุมของพวกนางสนมกานัล บุคคลเหล่านี้ลวนเป็ นคนสนิทของพระาชาและพระราชินีที่ถกสังให้ดื่มยาพิษ เพื่อตามไปรับใช้ในโลกหน้าอันเป็ นความเชื่อในเรื่ องชีวตหลังความตายของคนในสมัยนั้น ้ ู ่ ิ 2.อาณาจักรบาบิโลเนีย (Babylonia) (ประมาณปี 1,900 – 729 B.C.) ชาวบาบิโลเนียเป็ นพวกเซมิติค (Semitics) สาขาหนึ่งซึ่งอยูทางตอนใต้ของอาณาจักรอัสซีเรี ย อารยธรรมที่บาบิโลเนียได้พฒนามาจากอารยธรรมของชาวสุเมเรี ยน ซึ่งมีความเจริ ญมาก่อนเป็ นเวลาหลายร้อยปี แล้ว ได้แก่ ความเจริ ญทางด้านการค้า ศิลปกรรม การปกครอง และการสื่อสาร ่ ั ซึ่งยังคงใช้อกษรคูนิฟอร์ม (Cuneiform) เป็ นภาษาสื่อสารกันทัวมหาอาณาจักร ั ่ ต่อมาในรัชสมัยจของพระเจ้าฮัมมูราบี (Hammurabi – 1800 B.C.) พระองค์ได้ต่อสูและทาสงครามกับพวกเมโสโปเตเมียกลุ่มอื่น ๆ จนได้รับชัยชนะและได้รวบรวมอาณาจักรทั้งหลายเข้าเป็ นอาณาจักรเดียวกัน เรี ยกว่าอาณาจักรบาบิโลเนีย มีศนย์กลางความเจริ ญอยูที่กรุ งบาบิ ้ ู ่ โลน (ในพระคัมภีร์ไบเบิลเรี ยกบาบูโลน) พระเจ้าฮัมมูราบีเป็ นกษัตริ ยที่มีความสามารถมาก โดยเฉพาะอย่างยิงในด้านการปกครอง พระองค์ได้จดระบบกฎหมายขึ้นมาเพื่อใช้ปกครองประเทศ พร้อมกันนี้ได้ทรงประกาศให้ชาวเมืองยึดถือมหาเทพมาร์ดุค (Marduk) เป็ นมหาเทพประจา ์ ่ ั เมือง ผูทรงมองอานาจสิทธิในการปกครองประเทศให้กบพระองค์ เพราะฉะนั้นพระมหากษัตริ ยจึงมีลกษณะเป็ นแบบสมมติเทวราช (Semi-divinity) ต่อมาหลังจากรัชสมัยของพระเจ้าฮัมมูราบีแล้วอาณาจักรบาบิโลเนียได้ถกทาลายลง โดยพวกแคสไซต์ (Kassites) ซึ่งเป็ นชาติ ้ ั ์ ั ู พันธุหนึ่งที่อยูตอนกลางของทวีปเอเซีย ความเจริ ญทั้งหลายจึงย้ายมารุ่ งเรื องในอาณาจักรอัสซีเรี ย ประมาณ 1,000 – 612 B.C. และในครั้งนี้อาณาจักรบาบิโลเนียได้กลายเป็ นศูนย์กลางทางอารยธรรมของโลกในยุคนั้น โดยเฉพาะทางด้านดาราศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ ศิลปกรรม และการ ์ ่ ธุรกิจ สิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ได้ถกสร้างขึ้นเป็ นอันมากในรัชสมัยของพระเจ้า Nebuchadnezzar (ประมาณปี 605 – 561 B.C.) หลังจากในช่วงรัชสมัยนี้แล้ว อาณาจักรบาบิโลเนียมีความเจริ ญอยูเ่ พียงระยะเวลาหนึ่งเท่านั้น จากนั้นได้ตกเป็ นเมืองขึ้นของอาณาจักรเปอร์ เซียตั้งแต่ ู นั้นมา ศิลปกรรมในสมัยนี้มท้งประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรม ี ั จิตรกรรม : สาหรับจิตรกรรมนั้นมีนอยมาก แต่เท่าที่พบได้เป็ นภาพเขียนตามฝาผนัง ้ พระราชวังหรื อตามสถานที่ก่อสร้างของสาธารณชน ภายในภาพเป็ นเรื่ อง ราวเกี่ยวกับพิธีกรรมทางศาสนาหรื อมุ่งเน้นสอนทางด้านศีลธรรมจาก การขุดค้นพบซากโบราณสถานต่าง ๆ นักโบราณคดีได้พบซากพระราชวัง ของพระเจ้าซิมริ ลิม (Ziimrilim) ที่เมืองมารี (Mari) ปัจจุบนชื่อ เทลเลล ั ฮาริ รี (Tellel Hariri) ซึ่งอยูตอนกลางบริ เวณแม่น้ ายูเฟรตีน แสดงให้เห็น ่ ถึงภาพเขียนฝาผนังแบบ Frescoes (การเขียนภาพบนฝาผนังปูนเปี ยก) เกี่ยวกับพิธีกรรมทางศาสนา การระบายสีใช้สีเข้มและหลายสี เช่น สีแดง เหลือง เทา ดา น้ าตาล นิยมตัดเส้นเพื่อเน้นลวดลายให้เด่นชัด การจัดภาพ ลักษณะคล้ายภาพของอียปต์ กล่าวคือ นิยมวาดให้ใบหน้าและศีรษะ ิ แสดงออกทางด้านข้างดวงตา และลาตัวช่วงบนแสดงทางด้านหน้า แต่เท้า กลับแสดงเป็ นด้านข้างอีกทั้งรู ปทรงของสิ่งต่าง ๆ ในภาพนั้นนิยมใช้รูปทรง ทางเรขาคณิ ต และมีลกษณะเป็ นแบบมโนคตินิยม (Idealism) ั