SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 เรื่อง ขนาดและทิศทางของแรง
ภาคเรียนที่ 1/2551 เวลา 2 คาบ
วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว33101) สัปดาหที่ 6 วันที่ 14-16 ก.ค. 51
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หอง 3/3 , 3/4
นิสิตฝกสอน นางสาวประภาวดี คําดอนหัน อาจารยนิเทศ อาจารยเกริก ศักดิ์สุภาพ
มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ว 4.2 : เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
จุดมุงหมายของหลักสูตร
1. เพื่อผลิตและพัฒนานักเรียนใหมีความรู ความสามารถทางดานวิทยาศาสตร
2. ใหนักเรียนสามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน โดยใชกระบวนการทางดานวิทยาศาสตร
3. สงเสริมและสนับสนุนใหผูสอนคิดคนวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาและเผยแพรองค
ความรูใหกับสถาบันการศึกษาอื่นๆ
คุณลักษณะอันพึงประสงคของโรงเรียน
1. นักเรียนมีทักษะดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห แกปญหาการจัดการอยางเปนระบบรูวิธีการ
แสวงหาความรูเพิ่มเติมจากสื่อ และแหลงการศึกษาตางๆ
2. นักเรียนมีความรู และมีทักษะพื้นฐานดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
เพียงพอตอการแสวงหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง หรือศึกษาตอในระดับอุดมศึกษารวมทั้งรูจักเลือกใช
วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันอยางเหมาะสม และตระหนักถึงความสําคัญของการรักษา
ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
ผังความคิด เรื่องแรงที่กระทําตอวัตถุ (ขนาดและทิศทางของแรง)
ขนาดและทิศทางของแรง
การรวมเวกเตอร
แบบหางตอหัว สรางสี่เหลี่ยมดานขนาน
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
สาระพื้นฐาน
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ว 4.2 : เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
สังเกตการณเคลื่อนที่แบบตางๆ ในชีวิตประจําวัน และอธิบายผลของแรงที่กระทําตอวัตถุและ
ลักษณะการเคลื่อนที่รวมทั้งการนําไปใชประโยชน
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1) ทดลองและอธิบายไดวา แรงเปนปริมาณเวกเตอร
2) ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุในระนาบเดียวกัน
สาระการเรียนรู
แรง (force) เปนปริมาณทางฟสิกส หมายถึง สิ่งที่สามารถทําใหวัตถุที่หยุดนิ่งเคลื่อนที่ได (ตอง
ออกแรงมากพอที่จะเอาชนะความฝดหรือแรงเสียดทานที่ทําใหวัตถุอยูนิ่ง) หรือทําใหวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่มี
ความเร็วเพิ่มขึ้นหรือชาลง แรงอาจเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได แรงเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและ
ทิศทาง แรงจึงจัดเปนปริมาณเวกเตอร ดังนั้นการรวมแรงจึงตองรวมแบบเวกเตอร
ออกแรงดันประตู ออกแรงยกจักรยาน แรงลมชวยใหเลนวินดเซอรฟ
ภาพประกอบที่ 1
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
ขนาดและทิศทางของแรง
การวัดขนาดของแรงที่กระทําตอวัตถุ ทําไดโดยใชเครื่องชั่งสปริงวัดแรงดึง และใชตราชั่งธรรมดา
วัดแรงกด หนวยที่ใชวัดแรงคือ นิวตัน (newton ใชตัวยอ N) เพื่อเปนเกียรติแก เซอรไอแซค นิวตัน (Sir
Isaac Newton) ที่ศึกษาเรื่องของแรง
หลักการทํางานของเครื่องชั่งสปริง อยูที่ลวดสปริงภายในเครื่องชั่ง ที่จะยืดออกเมื่อแขวนวัตถุไว
กับเครื่องชั่งสปริง หรือเมื่ออกแรงดึงขอเกี่ยวที่แขวนวัตถุ ลวดสปริงในเครื่องชั่งก็จะยืดออกเชนเดียวกัน
ดังนั้นเมื่อออกแรงดึงขอเกี่ยวที่แขวนสปริงเพิ่มขึ้น หรือเพิ่มจํานวนกอนวัตถุใหมากขึ้น ลวดสปริงจะยืด
ออกมากขึ้น เข็มชี้ที่บอกขนาดแรงที่ติดอยูกลางเครื่องชั่งจะเปลี่ยนแปลงไปตามแรงดึงหรือกอนน้ําหนักที่
เปลี่ยนแปลง
การรวมเวกเตอร
การรวมแรงหรือการหาแรงลัพธจะตองรวมแบบเวกเตอร โดยมีวิธีการ ดังนี้
1. การวาดรูป แยกเปน 2 กรณีดังนี้
1.1 เมื่อเวกเตอรอยูในแนวเดียวกัน มี 2 ลักษณะ คือ เวกเตอรมีทิศทางเดียวกัน และเวกเตอรมี
ทิศทางตรงกันขาม หรือสวนทางกัน เราสามารถหาเวกเตอรลัพธไดโดยการนําเวกเตอรตัวแรกไปตอหาง
เวกเตอรตัวถัดไป แลวลากเสนจากจุดเริ่มตนของเวกเตอรตัวแรกไปยังจุดสุดทายของอีกเวกเตอรหนึ่ง หรือ
นําหางของอีกเวกเตอรหนึ่งมาตอกับหัวของเวกเตอรแรก แลวลากเสนจากจุดเริ่มตนของเวกเตอรแรกไปยัง
จุดสุดทายของอีกเวกเตอรหนึ่ง เวกเตอรที่ไดนี้เรียกวา เวกเตอรลัพธ (Resultant Vector)
ตัวอยางที่ 1 เวกเตอร มีขนาด 2 หนวย เวกเตอร มีขนาด 3 หนวย มีทิศทางเดียวกัน จงหาเวกเตอรA
v
B
v
A
v
+ B
v
วิธีทํา A
v
B
v
C
v
= +A
v
B
v
+A
v
B
v
= 2 + 3 = 5
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
1.2 เมื่อเวกเตอรทํามุมกันหลายมุม
การหาเวกเตอรลัพธในกรณีนี้ทําไดโดยการตอกันของเวกเตอรยอยตางๆ โดยนําหางของเวกเตอร
หนึ่งมาตอกับหัวของอีกเวกเตอรหนึ่ง ใหมีทิศทางขนานกับเวกเตอรเดิม และมีขนาดเทากับเวกเตอรเดิม ทํา
เชนนี้เรื่อยไปจนหมดทุกเวกเตอร เวกเตอรลัพธ คือ เวกเตอรที่ลากเสนตรงจากจุดเริ่มตนของเวกเตอรแรก
ไปยังจุดสุดทายของเวกเตอรหลังสุด คือ หัวลูกศรของเวกเตอรสุดทาย วิธีนี้เรียกวา วิธีรูปหลายเหลี่ยมของ
เวกเตอร หรือ หางตอหัว
ตัวอยางที่ 2
4F
v
3F
v
F4
v
3F
v
2F
v
R
v
2F
v
1F
v
1F
v
R
v
= เวกเตอรลัพธ
การหาเวกเตอรลัพธโดยวิธีการเขียนรูปแบบหางตอหัว มีขั้นตอนดังนี้
1. เขียนลูกศรแทนเวกเตอรลัพธแรกตามขนาดและทิศทางของเวกเตอรนั้น
2. เขียนเวกเตอรที่ 2 โดยใหหางของเวกเตอรตอกับหัวลูกศรของเวกเตอรแรก โดยใหมีขนาดและ
ทิศทางเดิม
3. เขียนเวกเตอรที่ 3, 4, 5… โดยใหหางของเวกเตอรตอกับหัวลูกศรของเวกเตอร ตามลําดับ
และมีขนาดและทิศทางเดิม
4. ลากเสนตรงจากจุดเริ่มตน คือ หางของเวกเตอรแรกไปยังจุดสุดทาย คือหัวลูกศรของเวกเตอร
หลังสุด เสนตรงที่ลากขึ้นนี้จะแทนทั้งขนาดและทิศทางของเวกเตอรลัพธ
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
2. การสรางสี่เหลี่ยมดานขนาน
ถามีเวกเตอร 2 เวกเตอรใดๆ ในระนาบ อาจหาผลรวมไดโดยใชหางของเวกเตอรตอกัน แลวตอ
ดานที่เหลือใหเปนสี่เหลี่ยมดานขนาน หาเวกเตอรลัพธโดยลากเสนทแยงมุมที่ลากจากจุดหางของเวกเตอร
ทั้งสองไปยังมุมตรงขาม เสนทแยงมุมนี้จะเปนเวกเตอรลัพธ ( )R
v
ตัวอยางที่ 3
2F
v
2F
v
R
v
1F
v
1F
v
3. การลบเวกเตอร
การลบเวกเตอรเปนเรื่องหนึ่งที่ชวยใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงจากเวกเตอรหนึ่งไปสูอีกเวกเตเอร
หนึ่ง มีเวกเตอรอื่นใดที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง การกลับทิศทางของเวกเตอรจะทําใหเวกเตอรนั้นมีคา
เปนลบ ดังนั้นเวกเตอรใดมีคาเปนบวก เมื่อกลับทิศทางเปนทิศตรงกันขามกับทิศทางเดิม เวกเตอรนั้นจะมี
คาเปนลบและมีขนาดเทาเดิม เราจึงลบเวกเตอรไดโดยใชกฎเกณฑทางคณิตศาสตร ดังนี้
)( BABA
vvvv
−+=−
ในการลบเวกเตอรจะแตกตางกับการลบเลขโดยทั่วไป เพราะปริมาณเวกเตอรมีทั้งขนาดและ
ทิศทาง ดังนั้นในการลบเวกเตอรเราตองนําทิศทางของเวกเตอรมาคิดดวย จึงตองใชวีธีทางเรขาคณิต ซึ่งทํา
ไดโดยวิธีหางตอหัว คือนําหางของเวกเตอรหนึ่งไปตอกับหัวของอีกเวกเตอรหนึ่ง โดยใหขนาดเทาเดิม
และมีทิศทางเดิม คือใหความยาวเปนสัดสวนกับขนาดของเวกเตอร ทําเชนนี้เรื่อยไป แลวลากเสนตรงจาก
จุดเริ่มตน คือหางของเวกเตอรแรกไปยังจุดสุดทาย คือหัวลูกศรของเวกเตอรสุดทาย เสนตรงนี้คือ
เวกเตอรลัพธ ( )R
v
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
ตัวอยางที่ 4 กําหนดใหเวกเตอร และ มาให จงหาเวกเตอรลัพธของA
v
B
v
AB
vv
−
วิธีทํา เวกเตอร =AB
vv
− )( AB
vv
−+
ดังนั้นเรากลับทิศของเวกเตอร จะไดเวกเตอร แลวนําหางของเวกเตอร มาตอกับหัว
ของเวกเตอร แลวลากเสนตรงจากจุดเริ่มตน คือหางของเวกเตอร มายังจุดสุดทาย คือหัวของ
เวกเตอร จะไดเวกเตอรลัพธของ
vv
ดังรูป
A
v
A
v
− A
v
−
B
v
B
v
A
v
− AB −
A
v
− B
v
A
v
ABC
vvv
−= ( )A
v
−
B
v
กิจกรรมการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน : รูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนแบบ 5Es
ขั้นที่ 1 ขั้นสรางความสนใจ
1) ครูทักทายนักเรียนและทบทวนบทเรียนที่เรียนในคาบที่แลว
2) ครูกลาววาจากความรูการเคลื่อนที่ของวัตถุทําใหนักเรียนทราบแลววาการที่วัตถุจะเคลื่อนที่ไดก็
ตอเมื่อมีแรงภายนอกมากระทํา ดังนั้นจึงจะมาศึกษาวาแรงที่กระทําตอวัตถุนั้นเปนอยางไร เพื่อศึกษาขนาด
ทิศทางของแรง การรวมแรงที่ตองพิจารณาทิศทางของแรงดวยและวิธีหาผลรวมของแรง 2 แรงโดยการเขียน
เวกเตอรแทนแรง
ขั้นที่ 2 ขั้นสํารวจและคนหา
1) ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ
2) ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม 9.2 การรวมแรง
ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรุป
1) ครูอธิบายวิธีการทํากิจกรรม 9.1 และกิจกรรม 9.2 ใหนักเรียนฟงตามลําดับ
2) ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ ซึ่ง
นักเรียนควรไดขอสรุปดังนี้
ผลรวมคาของแรงที่อานไดจากเครื่องชั่งสปริง 2 อัน จะเทากับคาของแรงที่อานไดจากเครื่องชั่ง
สปริง 1 อัน เมื่อเครื่องชั่งสปริง 2 อันนั้นขนานกัน แตถาเครื่องชั่งสปริง 2 อันทํามุมกัน ผลรวมคาของแรงที่
อานไดจากเครื่องชั่งสปริง 2 อัน จะไมเทากับคาของแรงที่อานไดจากเครื่องชั่งสปริง 1 อัน ดังนั้นการรวม
แรงจะรวมเฉพาะขนาดของแรงไมได ตองพิจารณาทิศทางของแรงดวย
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
3) ครูและนักเรียนรวมอภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม 9.2 การรวมแรง ซึ่งนักเรียนควรได
ขอสรุปดังนี้
เมื่อมีแรง 2 แรงกระทําตอวงแหวนแลวทําใหวงแหวนอยูนิ่ง แรง 2 แรงนั้น จะมีขนาดเทากัน และ
มีทิศตรงขามกัน ถามีแรง 3 แรง กระทําตอวงแหวน แลวทําใหวงแหวนอยูนิ่ง จะไดผลลัพธของแรง 2 แรง
แรกจะมีขนาดเทากับแรงที่ 3 ในทิศตรงขาม
4) ครูอธิบายขนาด ทิศทางของแรงและการรวมเวกเตอร
ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู
1) ครูยกตัวอยางเหตุการณใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา เมื่อมีเพื่อน 2 คน ดันโตะพรอมกัน แต
ดันคนละทิศทาง โตะจะเคลื่อนไปทิศทางใด ทําไมจึงเปนเชนนั้น ใหนักเรียนอธิบายโดยเขียนเวกเตอรแทน
แรง
จากเหตุการณนี้นักเรียนควรสรุปไดวา โตะจะเคลื่อนที่ไปทางแรงลัพธ ซึ่งเปนผลรวมของ
และ
R
v
1F
v
2F
v
ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล
1) ครูใหนักเรียนสงใบกิจกรรม 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ
2) ครูใหนักเรียนสงใบกิจกรรม 9.2 การรวมแรง
3) ครูใหนักเรียนทําใบงานที่ 9 เปนการบาน
4) สังเกตการณมีสวนรวมในการทํากิจกรรม
5) ความตั้งใจเรียนโดยการแสดงความคิดเห็นเมื่อครูตั้งคําถาม
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
สื่อการเรียนการสอน
1. หนังสือแบบเรียนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
2. ใบความรู เรื่อง ขนาดและทิศทางของแรง
3. กิจกรรมที่ 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ
4. กิจกรรมที่ 9.2 การรวมแรง
5. ใบงานที่ 9
การวัดผลและประเมินผล
1) สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมและการอภิปราย ซึ่งจะประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ของนักเรียนขณะทําการทดลอง การนําเสนอผลการทดลอง
2) คะแนนจากใบกิจกรรมที่ 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ ใบกิจกรรมที่ 9.2 การรวมแรง
และใบงานที่ 9
3) ประเมินความรับผิดชอบ ความกระตือรือรน ความเพียรพยายาม ความมีน้ําใจ ความซื่อสัตยและ
ความสนใจในการตอบคําถาม ที่นักเรียนแสดงออกใหเห็นตลอดกระบวนการเรียนรู รวมทั้งการตรงตอเวลา
ในการเขาชั้นเรียนและการสงงาน
บรรณานุกรม
ธนธัช อุดมพันธ. วิทยาศาสตร ม. 1 เลม 2. สํานักพิมพ SCIENCE CENTER.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.(2548).
หนังสือเรียน สาระการเรียนรูพื้นฐาน แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน. คุรุสภาลาดพราว.
หนา 1 – 3.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.(2548).
คูมือครูสาระ การเรียนรูพื้นฐาน แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน. คุรุสภาลาดพราว.หนา 49 – 53.
http://www.rmutphysics.com
http://www.wikipedia.org
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
บันทึกหลังการสอน
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอน การสอนตามแผนนี้เปนไปตามที่วางแผนไวหรือไม ถาไมเปนไปตาม
แผน ผูสอนไดแกปญหาอยางไร มีขอเสนอแนะ/สิ่งที่ไดเรียนรู/มีขอบกพรองอยางไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................................(นิสิตปฏิบัติการสอน)
(นางสาวประภาวดี คําดอนหัน)
Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University
http://kids-d.swu.ac.th
บันทึกหลังการสอนของอาจารยนิเทศ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
ลงชื่อ..........................................................(อาจารยนิเทศประจําโรงเรียน)
(อาจารยเกริก ศักดิ์สุภาพ)

More Related Content

Similar to Sci 2009 38

แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำ
krupornpana55
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
krupornpana55
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศหน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
krupornpana55
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
krupornpana55
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
krupornpana55
 

Similar to Sci 2009 38 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
Astroplan20
Astroplan20Astroplan20
Astroplan20
 
แผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำแผน 1 น้ำ
แผน 1 น้ำ
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศหน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
หน่วยที่ 3 เทคโนโลยีอวกาศ
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.แนะนำทุน พสวท.
แนะนำทุน พสวท.
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
Sakanan safety radioactivity
Sakanan safety radioactivitySakanan safety radioactivity
Sakanan safety radioactivity
 
ฝตก
ฝตกฝตก
ฝตก
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 

Sci 2009 38

  • 1. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th แผนการจัดการเรียนรูที่ 9 เรื่อง ขนาดและทิศทางของแรง ภาคเรียนที่ 1/2551 เวลา 2 คาบ วิชาวิทยาศาสตรพื้นฐาน (ว33101) สัปดาหที่ 6 วันที่ 14-16 ก.ค. 51 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 หอง 3/3 , 3/4 นิสิตฝกสอน นางสาวประภาวดี คําดอนหัน อาจารยนิเทศ อาจารยเกริก ศักดิ์สุภาพ มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 4.2 : เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน จุดมุงหมายของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตและพัฒนานักเรียนใหมีความรู ความสามารถทางดานวิทยาศาสตร 2. ใหนักเรียนสามารถคิดเปน ทําเปน แกปญหาเปน โดยใชกระบวนการทางดานวิทยาศาสตร 3. สงเสริมและสนับสนุนใหผูสอนคิดคนวิจัย เพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาและเผยแพรองค ความรูใหกับสถาบันการศึกษาอื่นๆ คุณลักษณะอันพึงประสงคของโรงเรียน 1. นักเรียนมีทักษะดานการคิดวิเคราะห สังเคราะห แกปญหาการจัดการอยางเปนระบบรูวิธีการ แสวงหาความรูเพิ่มเติมจากสื่อ และแหลงการศึกษาตางๆ 2. นักเรียนมีความรู และมีทักษะพื้นฐานดานคณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม เพียงพอตอการแสวงหาความรูเพิ่มเติมดวยตนเอง หรือศึกษาตอในระดับอุดมศึกษารวมทั้งรูจักเลือกใช วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันอยางเหมาะสม และตระหนักถึงความสําคัญของการรักษา ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
  • 2. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th ผังความคิด เรื่องแรงที่กระทําตอวัตถุ (ขนาดและทิศทางของแรง) ขนาดและทิศทางของแรง การรวมเวกเตอร แบบหางตอหัว สรางสี่เหลี่ยมดานขนาน
  • 3. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th สาระพื้นฐาน สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐานการเรียนรู มาตรฐาน ว 4.2 : เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบ เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น สังเกตการณเคลื่อนที่แบบตางๆ ในชีวิตประจําวัน และอธิบายผลของแรงที่กระทําตอวัตถุและ ลักษณะการเคลื่อนที่รวมทั้งการนําไปใชประโยชน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1) ทดลองและอธิบายไดวา แรงเปนปริมาณเวกเตอร 2) ทดลองและอธิบายการหาแรงลัพธของแรงหลายแรงที่กระทําตอวัตถุในระนาบเดียวกัน สาระการเรียนรู แรง (force) เปนปริมาณทางฟสิกส หมายถึง สิ่งที่สามารถทําใหวัตถุที่หยุดนิ่งเคลื่อนที่ได (ตอง ออกแรงมากพอที่จะเอาชนะความฝดหรือแรงเสียดทานที่ทําใหวัตถุอยูนิ่ง) หรือทําใหวัตถุที่กําลังเคลื่อนที่มี ความเร็วเพิ่มขึ้นหรือชาลง แรงอาจเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุได แรงเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและ ทิศทาง แรงจึงจัดเปนปริมาณเวกเตอร ดังนั้นการรวมแรงจึงตองรวมแบบเวกเตอร ออกแรงดันประตู ออกแรงยกจักรยาน แรงลมชวยใหเลนวินดเซอรฟ ภาพประกอบที่ 1
  • 4. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th ขนาดและทิศทางของแรง การวัดขนาดของแรงที่กระทําตอวัตถุ ทําไดโดยใชเครื่องชั่งสปริงวัดแรงดึง และใชตราชั่งธรรมดา วัดแรงกด หนวยที่ใชวัดแรงคือ นิวตัน (newton ใชตัวยอ N) เพื่อเปนเกียรติแก เซอรไอแซค นิวตัน (Sir Isaac Newton) ที่ศึกษาเรื่องของแรง หลักการทํางานของเครื่องชั่งสปริง อยูที่ลวดสปริงภายในเครื่องชั่ง ที่จะยืดออกเมื่อแขวนวัตถุไว กับเครื่องชั่งสปริง หรือเมื่ออกแรงดึงขอเกี่ยวที่แขวนวัตถุ ลวดสปริงในเครื่องชั่งก็จะยืดออกเชนเดียวกัน ดังนั้นเมื่อออกแรงดึงขอเกี่ยวที่แขวนสปริงเพิ่มขึ้น หรือเพิ่มจํานวนกอนวัตถุใหมากขึ้น ลวดสปริงจะยืด ออกมากขึ้น เข็มชี้ที่บอกขนาดแรงที่ติดอยูกลางเครื่องชั่งจะเปลี่ยนแปลงไปตามแรงดึงหรือกอนน้ําหนักที่ เปลี่ยนแปลง การรวมเวกเตอร การรวมแรงหรือการหาแรงลัพธจะตองรวมแบบเวกเตอร โดยมีวิธีการ ดังนี้ 1. การวาดรูป แยกเปน 2 กรณีดังนี้ 1.1 เมื่อเวกเตอรอยูในแนวเดียวกัน มี 2 ลักษณะ คือ เวกเตอรมีทิศทางเดียวกัน และเวกเตอรมี ทิศทางตรงกันขาม หรือสวนทางกัน เราสามารถหาเวกเตอรลัพธไดโดยการนําเวกเตอรตัวแรกไปตอหาง เวกเตอรตัวถัดไป แลวลากเสนจากจุดเริ่มตนของเวกเตอรตัวแรกไปยังจุดสุดทายของอีกเวกเตอรหนึ่ง หรือ นําหางของอีกเวกเตอรหนึ่งมาตอกับหัวของเวกเตอรแรก แลวลากเสนจากจุดเริ่มตนของเวกเตอรแรกไปยัง จุดสุดทายของอีกเวกเตอรหนึ่ง เวกเตอรที่ไดนี้เรียกวา เวกเตอรลัพธ (Resultant Vector) ตัวอยางที่ 1 เวกเตอร มีขนาด 2 หนวย เวกเตอร มีขนาด 3 หนวย มีทิศทางเดียวกัน จงหาเวกเตอรA v B v A v + B v วิธีทํา A v B v C v = +A v B v +A v B v = 2 + 3 = 5
  • 5. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th 1.2 เมื่อเวกเตอรทํามุมกันหลายมุม การหาเวกเตอรลัพธในกรณีนี้ทําไดโดยการตอกันของเวกเตอรยอยตางๆ โดยนําหางของเวกเตอร หนึ่งมาตอกับหัวของอีกเวกเตอรหนึ่ง ใหมีทิศทางขนานกับเวกเตอรเดิม และมีขนาดเทากับเวกเตอรเดิม ทํา เชนนี้เรื่อยไปจนหมดทุกเวกเตอร เวกเตอรลัพธ คือ เวกเตอรที่ลากเสนตรงจากจุดเริ่มตนของเวกเตอรแรก ไปยังจุดสุดทายของเวกเตอรหลังสุด คือ หัวลูกศรของเวกเตอรสุดทาย วิธีนี้เรียกวา วิธีรูปหลายเหลี่ยมของ เวกเตอร หรือ หางตอหัว ตัวอยางที่ 2 4F v 3F v F4 v 3F v 2F v R v 2F v 1F v 1F v R v = เวกเตอรลัพธ การหาเวกเตอรลัพธโดยวิธีการเขียนรูปแบบหางตอหัว มีขั้นตอนดังนี้ 1. เขียนลูกศรแทนเวกเตอรลัพธแรกตามขนาดและทิศทางของเวกเตอรนั้น 2. เขียนเวกเตอรที่ 2 โดยใหหางของเวกเตอรตอกับหัวลูกศรของเวกเตอรแรก โดยใหมีขนาดและ ทิศทางเดิม 3. เขียนเวกเตอรที่ 3, 4, 5… โดยใหหางของเวกเตอรตอกับหัวลูกศรของเวกเตอร ตามลําดับ และมีขนาดและทิศทางเดิม 4. ลากเสนตรงจากจุดเริ่มตน คือ หางของเวกเตอรแรกไปยังจุดสุดทาย คือหัวลูกศรของเวกเตอร หลังสุด เสนตรงที่ลากขึ้นนี้จะแทนทั้งขนาดและทิศทางของเวกเตอรลัพธ
  • 6. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th 2. การสรางสี่เหลี่ยมดานขนาน ถามีเวกเตอร 2 เวกเตอรใดๆ ในระนาบ อาจหาผลรวมไดโดยใชหางของเวกเตอรตอกัน แลวตอ ดานที่เหลือใหเปนสี่เหลี่ยมดานขนาน หาเวกเตอรลัพธโดยลากเสนทแยงมุมที่ลากจากจุดหางของเวกเตอร ทั้งสองไปยังมุมตรงขาม เสนทแยงมุมนี้จะเปนเวกเตอรลัพธ ( )R v ตัวอยางที่ 3 2F v 2F v R v 1F v 1F v 3. การลบเวกเตอร การลบเวกเตอรเปนเรื่องหนึ่งที่ชวยใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงจากเวกเตอรหนึ่งไปสูอีกเวกเตเอร หนึ่ง มีเวกเตอรอื่นใดที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง การกลับทิศทางของเวกเตอรจะทําใหเวกเตอรนั้นมีคา เปนลบ ดังนั้นเวกเตอรใดมีคาเปนบวก เมื่อกลับทิศทางเปนทิศตรงกันขามกับทิศทางเดิม เวกเตอรนั้นจะมี คาเปนลบและมีขนาดเทาเดิม เราจึงลบเวกเตอรไดโดยใชกฎเกณฑทางคณิตศาสตร ดังนี้ )( BABA vvvv −+=− ในการลบเวกเตอรจะแตกตางกับการลบเลขโดยทั่วไป เพราะปริมาณเวกเตอรมีทั้งขนาดและ ทิศทาง ดังนั้นในการลบเวกเตอรเราตองนําทิศทางของเวกเตอรมาคิดดวย จึงตองใชวีธีทางเรขาคณิต ซึ่งทํา ไดโดยวิธีหางตอหัว คือนําหางของเวกเตอรหนึ่งไปตอกับหัวของอีกเวกเตอรหนึ่ง โดยใหขนาดเทาเดิม และมีทิศทางเดิม คือใหความยาวเปนสัดสวนกับขนาดของเวกเตอร ทําเชนนี้เรื่อยไป แลวลากเสนตรงจาก จุดเริ่มตน คือหางของเวกเตอรแรกไปยังจุดสุดทาย คือหัวลูกศรของเวกเตอรสุดทาย เสนตรงนี้คือ เวกเตอรลัพธ ( )R v
  • 7. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th ตัวอยางที่ 4 กําหนดใหเวกเตอร และ มาให จงหาเวกเตอรลัพธของA v B v AB vv − วิธีทํา เวกเตอร =AB vv − )( AB vv −+ ดังนั้นเรากลับทิศของเวกเตอร จะไดเวกเตอร แลวนําหางของเวกเตอร มาตอกับหัว ของเวกเตอร แลวลากเสนตรงจากจุดเริ่มตน คือหางของเวกเตอร มายังจุดสุดทาย คือหัวของ เวกเตอร จะไดเวกเตอรลัพธของ vv ดังรูป A v A v − A v − B v B v A v − AB − A v − B v A v ABC vvv −= ( )A v − B v กิจกรรมการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอน : รูปแบบการเรียนการสอนแบบสืบสวนสอบสวนแบบ 5Es ขั้นที่ 1 ขั้นสรางความสนใจ 1) ครูทักทายนักเรียนและทบทวนบทเรียนที่เรียนในคาบที่แลว 2) ครูกลาววาจากความรูการเคลื่อนที่ของวัตถุทําใหนักเรียนทราบแลววาการที่วัตถุจะเคลื่อนที่ไดก็ ตอเมื่อมีแรงภายนอกมากระทํา ดังนั้นจึงจะมาศึกษาวาแรงที่กระทําตอวัตถุนั้นเปนอยางไร เพื่อศึกษาขนาด ทิศทางของแรง การรวมแรงที่ตองพิจารณาทิศทางของแรงดวยและวิธีหาผลรวมของแรง 2 แรงโดยการเขียน เวกเตอรแทนแรง ขั้นที่ 2 ขั้นสํารวจและคนหา 1) ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ 2) ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม 9.2 การรวมแรง ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบายและลงขอสรุป 1) ครูอธิบายวิธีการทํากิจกรรม 9.1 และกิจกรรม 9.2 ใหนักเรียนฟงตามลําดับ 2) ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ ซึ่ง นักเรียนควรไดขอสรุปดังนี้ ผลรวมคาของแรงที่อานไดจากเครื่องชั่งสปริง 2 อัน จะเทากับคาของแรงที่อานไดจากเครื่องชั่ง สปริง 1 อัน เมื่อเครื่องชั่งสปริง 2 อันนั้นขนานกัน แตถาเครื่องชั่งสปริง 2 อันทํามุมกัน ผลรวมคาของแรงที่ อานไดจากเครื่องชั่งสปริง 2 อัน จะไมเทากับคาของแรงที่อานไดจากเครื่องชั่งสปริง 1 อัน ดังนั้นการรวม แรงจะรวมเฉพาะขนาดของแรงไมได ตองพิจารณาทิศทางของแรงดวย
  • 8. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th 3) ครูและนักเรียนรวมอภิปรายและสรุปผลการทํากิจกรรม 9.2 การรวมแรง ซึ่งนักเรียนควรได ขอสรุปดังนี้ เมื่อมีแรง 2 แรงกระทําตอวงแหวนแลวทําใหวงแหวนอยูนิ่ง แรง 2 แรงนั้น จะมีขนาดเทากัน และ มีทิศตรงขามกัน ถามีแรง 3 แรง กระทําตอวงแหวน แลวทําใหวงแหวนอยูนิ่ง จะไดผลลัพธของแรง 2 แรง แรกจะมีขนาดเทากับแรงที่ 3 ในทิศตรงขาม 4) ครูอธิบายขนาด ทิศทางของแรงและการรวมเวกเตอร ขั้นที่ 4 ขั้นขยายความรู 1) ครูยกตัวอยางเหตุการณใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา เมื่อมีเพื่อน 2 คน ดันโตะพรอมกัน แต ดันคนละทิศทาง โตะจะเคลื่อนไปทิศทางใด ทําไมจึงเปนเชนนั้น ใหนักเรียนอธิบายโดยเขียนเวกเตอรแทน แรง จากเหตุการณนี้นักเรียนควรสรุปไดวา โตะจะเคลื่อนที่ไปทางแรงลัพธ ซึ่งเปนผลรวมของ และ R v 1F v 2F v ขั้นที่ 5 ขั้นประเมินผล 1) ครูใหนักเรียนสงใบกิจกรรม 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ 2) ครูใหนักเรียนสงใบกิจกรรม 9.2 การรวมแรง 3) ครูใหนักเรียนทําใบงานที่ 9 เปนการบาน 4) สังเกตการณมีสวนรวมในการทํากิจกรรม 5) ความตั้งใจเรียนโดยการแสดงความคิดเห็นเมื่อครูตั้งคําถาม
  • 9. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th สื่อการเรียนการสอน 1. หนังสือแบบเรียนกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 2. ใบความรู เรื่อง ขนาดและทิศทางของแรง 3. กิจกรรมที่ 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ 4. กิจกรรมที่ 9.2 การรวมแรง 5. ใบงานที่ 9 การวัดผลและประเมินผล 1) สังเกตการปฏิบัติกิจกรรมและการอภิปราย ซึ่งจะประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ของนักเรียนขณะทําการทดลอง การนําเสนอผลการทดลอง 2) คะแนนจากใบกิจกรรมที่ 9.1 การรวมแรงที่กระทําตอวัตถุ ใบกิจกรรมที่ 9.2 การรวมแรง และใบงานที่ 9 3) ประเมินความรับผิดชอบ ความกระตือรือรน ความเพียรพยายาม ความมีน้ําใจ ความซื่อสัตยและ ความสนใจในการตอบคําถาม ที่นักเรียนแสดงออกใหเห็นตลอดกระบวนการเรียนรู รวมทั้งการตรงตอเวลา ในการเขาชั้นเรียนและการสงงาน บรรณานุกรม ธนธัช อุดมพันธ. วิทยาศาสตร ม. 1 เลม 2. สํานักพิมพ SCIENCE CENTER. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.(2548). หนังสือเรียน สาระการเรียนรูพื้นฐาน แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน. คุรุสภาลาดพราว. หนา 1 – 3. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.(2548). คูมือครูสาระ การเรียนรูพื้นฐาน แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน. คุรุสภาลาดพราว.หนา 49 – 53. http://www.rmutphysics.com http://www.wikipedia.org
  • 10. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th บันทึกหลังการสอน ความคิดเห็นเกี่ยวกับการสอน การสอนตามแผนนี้เปนไปตามที่วางแผนไวหรือไม ถาไมเปนไปตาม แผน ผูสอนไดแกปญหาอยางไร มีขอเสนอแนะ/สิ่งที่ไดเรียนรู/มีขอบกพรองอยางไร .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................................(นิสิตปฏิบัติการสอน) (นางสาวประภาวดี คําดอนหัน)
  • 11. Retrieved from Digital Repository at Srinakharinwirot University http://kids-d.swu.ac.th บันทึกหลังการสอนของอาจารยนิเทศ .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................... ลงชื่อ..........................................................(อาจารยนิเทศประจําโรงเรียน) (อาจารยเกริก ศักดิ์สุภาพ)