SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
สำนักงำนสภำนโยบำยกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชำติ (หน่วยบริหำรและจัดกำรทุนด้ำนกำรพัฒนำระดับพื้นที่)
หน่วยบริหำรและจัดกำรทุนด้ำนกำรพัฒนำ
ระดับพื้นที่ (บพท.)
ดร. กิตติ สัจจำวัฒนำ
รักษำกำรผู้อำนวยกำรหน่วยบริหำรและจัดกำรทุนด้ำนกำรพัฒนำระดับพื้นที่
1
สร้ำงคน
สร้ำงองค์ควำมรู้
นวัตกรรม
MAN POWER
BRAIN POWER
BCG
Degree/Non Degree
Life Long Learning
New Growth Engine
ยุวชนสร้ำงชำติ
เป้ำหมำยของกระทรวง อว.
2
เป้าหมายและ
วัตถุประสงค์การ
จัดตั้งหน่วย บพท. การจัดสรรทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่
การพัฒนาชุมชน หรือท้องถิ่น ที่มีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนมีชีวิต
ความเป็นอยู่ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีและยกระดับขีดความสามารถใน
การแข่งขันของผู้ประกอบการรายใหม่ ธุรกิจขนาดจิ๋ว วิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจสังคมในระดับพื้นที่
จาก หมวดที่ 1 ข้อ 5 ข้อบังคับคณะกรรมการอานวยการ สอวช. ว่าด้วย
หน่วยบริหารและจัดการทุน พ.ศ. 2562
เป้าหมาย กระจายความเจริญและสร้างความเข้มแข็งของ
เศรษฐกิจสังคมท้องถิ่น ด้วยความรู้และนวัตกรรม
3
• Potential analysis
• Focus on BCG
• Financial literacy
• entrepreneurship
• New value chain
• Unit : กลุ่มวิสาหกิจ
ชุมชน/OTOP/Local SME/S.E. • Big data on target family
• Root cause analysis
• Demand-Supply matching
• Unit : household
• Learning community
• Learning & innovation platform
• Digital platform
• Concrete changes
• Unit : ตาบล
Smart
community
Poverty
Local
enterprise
• Smart growth charter
• Data-driven planning
• กองทุนรักบ้านเกิด
• กลไกการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่
• ขีดความสามารถใหม่ของท้องถิ่น
• ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมในพื้นที่
พิเศษ และชายแดนในภูมิภาค
• Unit : ท้องถิ่น เมือง จังหวัด กลุ่มจังหวัด ภูมิภาค
Area-Based Strategic Programs
Smart city
Smart
government
(local, provincial,
regional)
พื้นที่พิเศษ และ
ชายแดนใน
ภูมิภาค
Micro level
เศรษฐกิจฐานราก
Macro level
กระจายศูนย์กลางความเจริญปรับจาก สีลาภรณ์ บัวสาย (2562)
4
Programs Key results Strategic partners
1. Smart
community
• 500 ชุมชนนวัตกรรม มีขีดความสามารถในการเรียนรู้และปรับใช้
นวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
• รูปธรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต อาทิ การจัดการน้า สวัสดิการชุมชน
สุขภาพ ฯลฯ
• Innovation & Learning platform
• นักวิจัยชาวบ้าน/นวัตกรชาวบ้าน 1,000 คน
• หน่วยงานใน อว. อาทิ NIA
สสนก. วว.
• กระทรวงอื่น อาทิ DE มท.
• ภาคีด้านการพัฒนาชุมชน
อาทิ พอช. สสส. พช. อปท.
• CBR
2. Local
Enterprise
• กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/OTOP/Local SME/S.E. ใน 76 จังหวัด @ 10-15
กลุ่ม รวม 500 ราย/ปี
• อัตราการเติบโตของมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก และมูลค่าสินค้าผลิตภัณฑ์
ชุมชนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 10
• ย่านวัฒนธรรมได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว ปีละ 20 แหล่ง
• มูลค่าเศรษฐกิจหมุนเวียนในพื้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 10%
• พช. กท.มหาดไทย
• กท. เกษตร
• กท. อุตสาหกรรม
• กท. ท่องเที่ยว/กท. วัฒนธรรม
• ธนาคาร SME/ BOI
Area-Based Strategic Programs
5
Programs Key results Strategic partners
3. Poverty • ระบบวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมายคนจนที่มีความแม่นยา
เพื่อให้การจัดสรรสวัสดิการรัฐมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
• รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนยากจน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 อย่างทั่วถึง
• การบรรเทาทุกข์ของครัวเรือนในด้านสังคมและสุขภาพ ให้หลุดพ้นจาก
ภาวะยากลาบาก
• คนจนไม่น้อยกว่า 20,000 คน ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะเพื่อ
ปรับเปลี่ยนเป็น knowledge worker หรือ smart farmer มีรายได้และ
คุณภาพชีวิตดีขึ้น
• กท. พม. พอช.
• กท. มท. อปท.
• หน่วยงานใน อว. อาทิ สสนก.
สวทช.
• กทบ.
• กระทรวงและหน่วยงาน function
ที่เกี่ยวข้อง
4. Smart city • เมืองศูนย์กลางความเจริญที่เป็นเมืองน่าอยู่และเมืองอัจฉริยะ 5 เมือง
• กองทุนพัฒนาบ้านเกิด ใน 5 จังหวัดนาร่อง
• ประชาคมคนรักท้องถิ่น/รักบ้านเกิด และเครือข่ายเมืองที่พร้อมร่วมพัฒนา
เมือง อีก 20 เมือง
• ตัวชี้วัดการเติบโตของเมืองทั้งในด้านเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อมดีขึ้น
• เครือข่ายบริษัทพัฒนาเมือง
• กนภ. สศช. กพร.
• มท. กรมโยธาธิการและผังเมือง
อปท.
Area-Based Strategic Programs
6
เป้าหมาย
กระจายความเจริญและสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจ
สังคมท้องถิ่น ด้วยความรู้และนวัตกรรม
Platform 4
การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเลื่อมล้้า
Programs 14 : ขจัดความยากจนแบบ
เบ็ดเสร็จและแม่นย้า
KR4.14.1 ระบบวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อติดตาม
กลุ่มเป้าหมายคนจนที่มีความแม่นย้า เพื่อให้การจัดสรร
สวัสดิการรัฐมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น
KR4.14.2 คนจนไม่น้อยกว่า 20,000 คน ได้รับการ
พัฒนาความรู้และทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนเป็น
knowledge worker หรือ smart farmer มีรายได้
และคุณภาพชีวิตดีขึ้น
Programs 15 : เมืองน่าอยู่และการกระจาย
ศูนย์กลางความเจริญ
KR4.15.1 เมืองศูนย์กลางที่น่าอยู่และเป็น Smart City ในภูมิภาค 30
เมือง โดยมีแผนการสร้างงานในเขตเมืองหลักและเมืองโดยรอบ และมี
กลุ่ม 10 เมืองเด่น
KR4.15.2 ผลิตภัณฑ์มวลรวมของเมืองศูนย์กลาง และเมืองโดยรอบ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี
KR4.15.3 กลไกพัฒนาพื้นที่และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขีด
ความสามารถและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนา
คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่
KR4.15.4 รูปธรรมความร่วมมือระหว่างจังหวัดชายแดนที่เชื่อมต่อกับ
ประเทศเพื่อนบ้านในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม
Programs 13 : นวัตกรรมส้าหรับ
เศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม
KR4.13.1 เกิดนวัตกรรมชุมชน เพื่อยกระดับรายได้ให้กับ
ชุมชน ปีละ 1,000 นวัตกรรม
KR4.13.2 จ้านวน smart Community /ชุมชนนวัตกรรม มี
ความสามารถในการพัฒนาการพึ่งตนเองและจัดการตนเอง
เพิ่มขึ้น 3,000 ชุมชน
KR4.13.3 มูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานทุน ทรัพยากร
วัฒนธรรมในพื้นที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี
พันธกิจ บพท. การจัดสรรทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่
การพัฒนาชุมชน หรือท้องถิ่น ที่มีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนมีชีวิตความ
เป็นอยู่ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีและยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของผู้ประกอบการรายใหม่ ธุรกิจขนาดจิ๋ว วิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อม วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจสังคมในระดับพื้นที่
พัฒนาพื้นที่ ชุมชน ท้องถิ่น ให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ดีขึ้น
ยกระดับ การพัฒนาขีดความ สามารถของ Local Enterprise (วิสาหกิจชุมชน/หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์/Local SME/SE ในระดับพื้นที่)
บนฐานทรัพยากรพื้นถิ่น เพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานรากและเศรษฐกิจหมุนเวียนในพื้นที่
พัฒนากลไกพื้นที่และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขีดความสามารถและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นในการบริหาร
จัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่
แผนงาน “ชุมชนนวัตกรรม”
KR
1. 500 ตาบล/ปี
1.1 มีกลไกที่มีขีดความสามารถในการจัดการตนเอง ในมิติด้านการพัฒนา
คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมของชุมชนด้วยความรู้และนวัตกรรม
1.2 มีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อมของชุมชนด้วยความรู้
และนวัตกรรม
1.3 มีการสร้างความรู้และนาความรู้ไปใช้ในการจัดการปัญหาในชุมชน
1.4 นักวิจัยชาวบ้าน 1,000 คน/ปี
1
2
3
แผนงาน “พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา”
KR
1.โมเดลนวัตกรรมการศึกษาที่ทดลองในพื้นที่นวัตกรรม
การศึกษา ไม่น้อยกว่า 6 จังหวัด ที่จัดการจากล่างสู่บน
2.สถานศึกษาไม่น้อยกว่า 10% ในจังหวัดมีผลสัมฤทธิ์ของ
การศึกษาของนักเรียนสูงขึ้น
3.เยาวชนนอกระบบการศึกษาและประชาชนในพื้นที่ไม่น้อย
กว่า 10,000 คน มีช่องทางการเรียนรู้และยกระดับทักษะ
เพื่อพัฒนา
แผนงาน “มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่”
KR
1. ผลงานวิจัยเกิดการนาไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ในด้านเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนของ
วิสาหกิจ/OTOP 500 กลุ่มวิสาหกิจ/OTOP
2) ชุมชน/กลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 จากการใช้นวัตกรรม/ผลงานวิจัย
ไปยกระดับ
3. เกิดการสร้างผู้ประกอบการในชุมชน/รุ่นใหม่เพื่อยกระดับการผลิตที่มีมาตรฐาน ไม่
น้อยกว่า 50 ผู้ประกอบการ
4. อัตราการเติบโตของมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก และมูลค่าสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน
เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 10
7
เศรษฐกิจฐำนรำก
ปัญหำ
-เศรษฐกิจเติบโตแต่กระจายออก
-เศรษฐกิจเติบโตแต่ต้นน้าได้สัดส่วนรายได้น้อย
BCG
New Growth Engine
- การพัฒนา Local Enterprise บน
ฐานทรัพยากรพืนถิ่นและทุนทาง
วัฒนธรรม
8
9
BCG
BRAIN POWER
MAN POWER
ยุวชนสร้ำงชำติ
Re-inventing University
มหาวิทยาลัยวิจัย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
มหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาพื้นที่
FS มหำวิทยำลัยพัฒนำพื้นที่
1. ผลงานวิจัยเกิดการนาไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ในด้านเพิ่มมูลค่า
ผลิตภัณฑ์ชุมชนของวิสาหกิจ/OTOP 500 กลุ่ม/ปี
2. ชุมชน/กลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 จากการใช้
นวัตกรรม/ผลงานวิจัยไปยกระดับ
3. เกิดการสร้าง Start up/S.E. ไม่น้อยกว่า 50 ผู้ประกอบการ/ปี
4. อัตราการเติบโตของมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก และมูลค่าสินค้า
ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 10
สร้ำงเงื่อนไขทุนสถำบันให้ปรับ
ระบบและกลไกที่นำไปสู่กำร re-
invent และปรับกำรเรียนกำรสอน
แนวคิดและโจทย์สร้ำงเงื่อนไขให้นำนิสิตเข้ำมำทำวิจัย
แล้วหนุนเสริมให้เกิด Start up ผ่ำน
UBI (ร่วมกับ NIA)
Up Skill/Re Skill กลุ่ม Local Enterprise
Degree/Non Degree
สำหรับผปก.ในพื้นที่/รุ่นใหม่ Systematic
Research
โครงสร้ำง ระบบและ
กลไกกำรสนับสนุน
Key Stakeholder & User
Engagement
10
11
BRAIN POWER
MAN POWER
ยุวชนสร้ำงชำติ
Re-inventing University
มหาวิทยาลัยวิจัย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
มหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาพื้นที่
FS ชุมชนนวัตกรรม & มหำวิทยำลัยพัฒนำพื้นที่
1. 500 ตาบล/ปี
1.1 มีกลไกที่มีขีดความสามารถในการจัดการตนเอง ในมิติด้านการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมของชุมชนด้วยความรู้และ
นวัตกรรม
1.2 มีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อมของชุมชนด้วย
ความรู้และนวัตกรรม
1.3 มีการสร้างความรู้และนาความรู้ไปใช้ในการจัดการปัญหาใน
ชุมชน
1.4 นักวิจัยชาวบ้าน/นวัตกรชาวบ้าน 1,000 คน/ปี
สร้ำงเงื่อนไขให้นำนิสิตเข้ำมำทำวิจัย
แล้วดำเนินกำรวิจัยแก้ไขปัญหำชุมชน
ของตนเอง
Up Skill/Re Skill นักวิจัยชำวบ้ำน/คนจน/กลุ่มอำชีพ
Degree/Non Degree
นิสิต/กลุ่มอำชีพ Systematic
Research
โครงสร้ำง ระบบและ
กลไกกำรสนับสนุน
Key Stakeholder & User Engagement
ภำคประชำสังคม
BCGเศรษฐกิจรำยได้คุณภำพชีวิต
12
เมือง : NEW ENGINE OF
GROWTH
▪ 20-40% ของกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจในพื้นที่เติบโตในเมือง
▪ Bangkok Syndrome
▪ Urban Sprawl
▪ 200 เมืองทั่วโลกที่ position
เป็น Smart City 70% ไม่ส้าเร็จ
ปรับจาก ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม (2562)
13
Inequality Issues in
Thailand
Decline in Inequality
14
* Real GDP in Thai Baht at current market prices
Source : Office of the National Economic and Social Development Board (NESDB)
Note : data 2016 (last available early 2019).
Distribution ofWealth
GDP per capita
Eastern
BKK
N & NE
15
Growth Poles and Urbanisation in Thailand
Estimated
Spatial Economic
Distribution
inThailand (2016)
16
การพัฒนากลไกพัฒนาเมือง
และกติการ่วมของเมือง
กลไกพัฒนาเมืองโดยการมี
ส่วนร่วมและการพัฒนาพื้นที่
เมืองเพื่อสร้างการจ้างงาน
กติการ่วมของเมือง
(Charter)
การพัฒนาชุดความรู้และ
ข้อมูลเปิดด้านการพัฒนาเมือง
ในบรทบทไทย
โครงสร้างพื้นฐาน
ด้านข้อมูลของเมือง
ข้อมูลและชุดความรู้ตาม
บริบทเมืองและการ
วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล
เพื่อการจัดการเมือง
การวิจัยและพัฒนา
แผนพัฒนาและแผนการ
ลงทุนของเมือง
เครื่องมือการระดมทุน
และกองทุนพัฒนา
เมือง
แผนพัฒนาและ
แผนการลงทุนของ
เมือง
การสังเคราะห์ชุดความรู้ด้านการ
พัฒนาเมืองเพื่อขยายผลเชิงพื้นที่
และขับเคลื่อนเชิงนโยบาย
State of the art
State of the nation
ข้อเสนอเชิงนโยบายและ
การขับเคลื่อน
กำรพัฒนำเมืองเพื่อกระจำยศูนย์กลำงควำมเจริญและลดควำมเหลื่อมล้ำ
17
ทุนเดิมการด้าเนินงาน
มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่
18
ทุนเดิมและความพร้อม
ทุนเดิมการวิจัยและพัฒนา OTOP กับ เครือข่าย มทร. ใน 9 จังหวัด
19
การหารือกรอบการท้างาน
และการพัฒนาโครงการ
ร่วมกับ ทปอ. ทปอ. มรภ.
ทปอ. มทร. วชช.
20
ทุนเดิมและความพร้อม
การวิจัยและพัฒนาเมือง
โดยเครือข่ายพัฒนาเมือง
21
Consortium
การพัฒนาเมือง
เพื่อกระจายศูนย์กลาง
ความเจริญและ
ลดความเหลื่อมล้้า
22
การจัดการงานวิจัย ปีงบประมาณ 2563
พ.ย.
62
ธ.ค.
62
ม.ค.
63
ก.พ.
63
มี.ค.
63
เม.ย.
63
พ.ค.
63
มิ.ย.
63
ก.ค.
63
ส.ค.
63
ก.ย.
63
Upstream management
1. จัดเวที Consortium ร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ (Key stakeholder) ผู้ใช้
ประโยชน์จากงานวิจัย (User) และผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้าน (Expert content)
เพื่อจัดท้าเป้าหมายและตัวชี้วัด (OKR) กรอบการวิจัยและโจทย์วิจัยที่ตรงเป้า
กับการพัฒนาประเทศ
√
2. จัดท้าประกาศทุนและจัดเวทีชี้แจงกับประชาคมวิชาการและหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
√
4. จัดเวที Consortium /Workshop พัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยที่มีเป้าและ
ตัวชี้วัดชัดเจน
√ √
5. จัดเวทีการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัยร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ (Key
stakeholder) ผู้ใช้ประโยชน์จากงานวิจัย (User) และผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้าน
(Expert content)
√ √
5. จัดท้าสัญญารับทุนวิจัย (TOR) ที่คุมเป้าได้ และสนับสนุนทุนวิจัย √
Execute Plan
23
การจัดการงานวิจัย ปีงบประมาณ 2563
พ.ย.
62
ธ.ค.
62
ม.ค.
63
ก.พ.
63
มี.ค.
63
เม.ย.
63
พ.ค.
63
มิ.ย.
63
ก.ค.
63
ส.ค.
63
ก.ย.
63
Midstream management
1. จัดระบบการ Monitoring และ Evaluation √
2. จัดเวทีรีวิวความก้าวหน้าการด้าเนินงานวิจัยของแต่ละแผนงานวิจัย
โดยจัดเป็น Consortium ร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ (Key
stakeholder) ผู้ใช้ประโยชน์จากงานวิจัย (User) และผู้ทรงคุณวุฒิ
เฉพาะด้าน (Expert content)
√ √
3. จัดเวทีหารือร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ (Key stakeholder) ผู้ใช้
ประโยชน์จากงานวิจัย (User) เพื่อผลักดันผลงานวิจัยไปสู่การใช้
ประโยชน์ทั้งระดับนโยบายและการปฏิบัติการจริงเพื่อขยายผล
√ √ √ √ √ √ √ √ √
4. จัดกระบวนการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยงวดที่ ๒ √
Execute Plan
24
การจัดการงานวิจัย ปีงบประมาณ 2563
พ.ย.
62
ธ.ค.
62
ม.ค.
63
ก.พ.
63
มี.ค.
63
เม.ย.
63
พ.ค.
63
มิ.ย.
63
ก.ค.
63
ส.ค.
63
ก.ย.
63
Downstream management
1. สื่อสารสาธารณะเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์และ
ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
√ √ √ √ √ √ √ √ √ √
2. จัดการสังเคราะห์กรอบงานวิจัยในภาพรวม และจัดท้าข้อเสนอเชิง
นโยบาย (Policy recommendation)
√
3. กระบวนการหารือและสนับสนุนงานเพื่อผลักดันให้เกิดผลกระทบเชิง
นโยบายทั้งในระดับพื้นที่และระดับส่วนกลาง (Policy advocacy)
√ √ √ √ √ √ √ √ √
4. การสังเคราะห์ภาพรวมผลงานและการจัดการที่ตอบเป้าหมายและ
ตัวชี้วัดที่วางไว้ และจัดเวที Consortium ร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ
(Key stakeholder) ผู้ใช้ประโยชน์จากงานวิจัย (User) และ
ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้าน (Expert content) เพื่อจัดท้าเป้าหมายและ
ตัวชี้วัด (OKR) กรอบการวิจัยและโจทย์วิจัยที่ตรงเป้ากับการพัฒนา
ประเทศในปีต่อไป
√
Execute Plan
25
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
26
ประมาณการ การจัดการงบประมาณ
แผนงานส้าคัญ งบที่คาดว่าจะจัดสรร (ล้านบาท)
งบประมาณสนับสนุน (Grant) 648
1. ชุมชนนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 240
2. มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ 323
3. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 85
งบบริหารจัดการ (10% ของงบประมาณรวม) 72
รวมงบประมาณทั้งหมด 720
27

More Related Content

Similar to Ppt kitti 050363

ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่marena06008
 
แผนกลยุทธ์ งานทรัพยากรบุคคล สสส
แผนกลยุทธ์ งานทรัพยากรบุคคล สสสแผนกลยุทธ์ งานทรัพยากรบุคคล สสส
แผนกลยุทธ์ งานทรัพยากรบุคคล สสสRatcha Khwan
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพChuchai Sornchumni
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศSaran Yuwanna
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะSarit Tiyawongsuwan
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICTPanita Wannapiroon Kmutnb
 
1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบัน1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบันJib Sridum
 
21 Nov.2014 childlife
21 Nov.2014 childlife21 Nov.2014 childlife
21 Nov.2014 childlifejoansr9
 

Similar to Ppt kitti 050363 (20)

ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชนคําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
 
Youth clever project
Youth clever                        projectYouth clever                        project
Youth clever project
 
แผนกลยุทธ์ งานทรัพยากรบุคคล สสส
แผนกลยุทธ์ งานทรัพยากรบุคคล สสสแผนกลยุทธ์ งานทรัพยากรบุคคล สสส
แผนกลยุทธ์ งานทรัพยากรบุคคล สสส
 
1
11
1
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
 
NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
Pady1
Pady1Pady1
Pady1
 
เที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศเที่ยวไทยสิบทิศ
เที่ยวไทยสิบทิศ
 
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะกระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
 
4 page1
4 page14 page1
4 page1
 
Mbe19 Macro G.4
Mbe19 Macro G.4Mbe19 Macro G.4
Mbe19 Macro G.4
 
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICTการประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน  กระทรวง ICT
การประเมินผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน กระทรวง ICT
 
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
 
1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบัน1เกี่ยวกับสถาบัน
1เกี่ยวกับสถาบัน
 
21 Nov.2014 childlife
21 Nov.2014 childlife21 Nov.2014 childlife
21 Nov.2014 childlife
 

More from Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Ppt kitti 050363

  • 1. สำนักงำนสภำนโยบำยกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชำติ (หน่วยบริหำรและจัดกำรทุนด้ำนกำรพัฒนำระดับพื้นที่) หน่วยบริหำรและจัดกำรทุนด้ำนกำรพัฒนำ ระดับพื้นที่ (บพท.) ดร. กิตติ สัจจำวัฒนำ รักษำกำรผู้อำนวยกำรหน่วยบริหำรและจัดกำรทุนด้ำนกำรพัฒนำระดับพื้นที่ 1
  • 2. สร้ำงคน สร้ำงองค์ควำมรู้ นวัตกรรม MAN POWER BRAIN POWER BCG Degree/Non Degree Life Long Learning New Growth Engine ยุวชนสร้ำงชำติ เป้ำหมำยของกระทรวง อว. 2
  • 3. เป้าหมายและ วัตถุประสงค์การ จัดตั้งหน่วย บพท. การจัดสรรทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ การพัฒนาชุมชน หรือท้องถิ่น ที่มีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนมีชีวิต ความเป็นอยู่ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีและยกระดับขีดความสามารถใน การแข่งขันของผู้ประกอบการรายใหม่ ธุรกิจขนาดจิ๋ว วิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อม วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจสังคมในระดับพื้นที่ จาก หมวดที่ 1 ข้อ 5 ข้อบังคับคณะกรรมการอานวยการ สอวช. ว่าด้วย หน่วยบริหารและจัดการทุน พ.ศ. 2562 เป้าหมาย กระจายความเจริญและสร้างความเข้มแข็งของ เศรษฐกิจสังคมท้องถิ่น ด้วยความรู้และนวัตกรรม 3
  • 4. • Potential analysis • Focus on BCG • Financial literacy • entrepreneurship • New value chain • Unit : กลุ่มวิสาหกิจ ชุมชน/OTOP/Local SME/S.E. • Big data on target family • Root cause analysis • Demand-Supply matching • Unit : household • Learning community • Learning & innovation platform • Digital platform • Concrete changes • Unit : ตาบล Smart community Poverty Local enterprise • Smart growth charter • Data-driven planning • กองทุนรักบ้านเกิด • กลไกการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่ • ขีดความสามารถใหม่ของท้องถิ่น • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมในพื้นที่ พิเศษ และชายแดนในภูมิภาค • Unit : ท้องถิ่น เมือง จังหวัด กลุ่มจังหวัด ภูมิภาค Area-Based Strategic Programs Smart city Smart government (local, provincial, regional) พื้นที่พิเศษ และ ชายแดนใน ภูมิภาค Micro level เศรษฐกิจฐานราก Macro level กระจายศูนย์กลางความเจริญปรับจาก สีลาภรณ์ บัวสาย (2562) 4
  • 5. Programs Key results Strategic partners 1. Smart community • 500 ชุมชนนวัตกรรม มีขีดความสามารถในการเรียนรู้และปรับใช้ นวัตกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต • รูปธรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต อาทิ การจัดการน้า สวัสดิการชุมชน สุขภาพ ฯลฯ • Innovation & Learning platform • นักวิจัยชาวบ้าน/นวัตกรชาวบ้าน 1,000 คน • หน่วยงานใน อว. อาทิ NIA สสนก. วว. • กระทรวงอื่น อาทิ DE มท. • ภาคีด้านการพัฒนาชุมชน อาทิ พอช. สสส. พช. อปท. • CBR 2. Local Enterprise • กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/OTOP/Local SME/S.E. ใน 76 จังหวัด @ 10-15 กลุ่ม รวม 500 ราย/ปี • อัตราการเติบโตของมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก และมูลค่าสินค้าผลิตภัณฑ์ ชุมชนเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 10 • ย่านวัฒนธรรมได้รับการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยว ปีละ 20 แหล่ง • มูลค่าเศรษฐกิจหมุนเวียนในพื้นที่เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 10% • พช. กท.มหาดไทย • กท. เกษตร • กท. อุตสาหกรรม • กท. ท่องเที่ยว/กท. วัฒนธรรม • ธนาคาร SME/ BOI Area-Based Strategic Programs 5
  • 6. Programs Key results Strategic partners 3. Poverty • ระบบวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมายคนจนที่มีความแม่นยา เพื่อให้การจัดสรรสวัสดิการรัฐมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น • รายได้เฉลี่ยของครัวเรือนยากจน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 อย่างทั่วถึง • การบรรเทาทุกข์ของครัวเรือนในด้านสังคมและสุขภาพ ให้หลุดพ้นจาก ภาวะยากลาบาก • คนจนไม่น้อยกว่า 20,000 คน ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะเพื่อ ปรับเปลี่ยนเป็น knowledge worker หรือ smart farmer มีรายได้และ คุณภาพชีวิตดีขึ้น • กท. พม. พอช. • กท. มท. อปท. • หน่วยงานใน อว. อาทิ สสนก. สวทช. • กทบ. • กระทรวงและหน่วยงาน function ที่เกี่ยวข้อง 4. Smart city • เมืองศูนย์กลางความเจริญที่เป็นเมืองน่าอยู่และเมืองอัจฉริยะ 5 เมือง • กองทุนพัฒนาบ้านเกิด ใน 5 จังหวัดนาร่อง • ประชาคมคนรักท้องถิ่น/รักบ้านเกิด และเครือข่ายเมืองที่พร้อมร่วมพัฒนา เมือง อีก 20 เมือง • ตัวชี้วัดการเติบโตของเมืองทั้งในด้านเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อมดีขึ้น • เครือข่ายบริษัทพัฒนาเมือง • กนภ. สศช. กพร. • มท. กรมโยธาธิการและผังเมือง อปท. Area-Based Strategic Programs 6
  • 7. เป้าหมาย กระจายความเจริญและสร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจ สังคมท้องถิ่น ด้วยความรู้และนวัตกรรม Platform 4 การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเลื่อมล้้า Programs 14 : ขจัดความยากจนแบบ เบ็ดเสร็จและแม่นย้า KR4.14.1 ระบบวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อติดตาม กลุ่มเป้าหมายคนจนที่มีความแม่นย้า เพื่อให้การจัดสรร สวัสดิการรัฐมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากขึ้น KR4.14.2 คนจนไม่น้อยกว่า 20,000 คน ได้รับการ พัฒนาความรู้และทักษะเพื่อปรับเปลี่ยนเป็น knowledge worker หรือ smart farmer มีรายได้ และคุณภาพชีวิตดีขึ้น Programs 15 : เมืองน่าอยู่และการกระจาย ศูนย์กลางความเจริญ KR4.15.1 เมืองศูนย์กลางที่น่าอยู่และเป็น Smart City ในภูมิภาค 30 เมือง โดยมีแผนการสร้างงานในเขตเมืองหลักและเมืองโดยรอบ และมี กลุ่ม 10 เมืองเด่น KR4.15.2 ผลิตภัณฑ์มวลรวมของเมืองศูนย์กลาง และเมืองโดยรอบ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี KR4.15.3 กลไกพัฒนาพื้นที่และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขีด ความสามารถและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นในการบริหารจัดการเพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ KR4.15.4 รูปธรรมความร่วมมือระหว่างจังหวัดชายแดนที่เชื่อมต่อกับ ประเทศเพื่อนบ้านในด้านเศรษฐกิจและวัฒนธรรม Programs 13 : นวัตกรรมส้าหรับ เศรษฐกิจฐานรากและชุมชนนวัตกรรม KR4.13.1 เกิดนวัตกรรมชุมชน เพื่อยกระดับรายได้ให้กับ ชุมชน ปีละ 1,000 นวัตกรรม KR4.13.2 จ้านวน smart Community /ชุมชนนวัตกรรม มี ความสามารถในการพัฒนาการพึ่งตนเองและจัดการตนเอง เพิ่มขึ้น 3,000 ชุมชน KR4.13.3 มูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานทุน ทรัพยากร วัฒนธรรมในพื้นที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ต่อปี พันธกิจ บพท. การจัดสรรทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ การพัฒนาชุมชน หรือท้องถิ่น ที่มีวัตถุประสงค์ให้ประชาชนมีชีวิตความ เป็นอยู่ดีขึ้น มีคุณภาพชีวิตที่ดีและยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ของผู้ประกอบการรายใหม่ ธุรกิจขนาดจิ๋ว วิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจสังคมในระดับพื้นที่ พัฒนาพื้นที่ ชุมชน ท้องถิ่น ให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ดีขึ้น ยกระดับ การพัฒนาขีดความ สามารถของ Local Enterprise (วิสาหกิจชุมชน/หนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์/Local SME/SE ในระดับพื้นที่) บนฐานทรัพยากรพื้นถิ่น เพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานรากและเศรษฐกิจหมุนเวียนในพื้นที่ พัฒนากลไกพื้นที่และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีขีดความสามารถและประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นในการบริหาร จัดการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจของประชาชนในพื้นที่ แผนงาน “ชุมชนนวัตกรรม” KR 1. 500 ตาบล/ปี 1.1 มีกลไกที่มีขีดความสามารถในการจัดการตนเอง ในมิติด้านการพัฒนา คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมของชุมชนด้วยความรู้และนวัตกรรม 1.2 มีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อมของชุมชนด้วยความรู้ และนวัตกรรม 1.3 มีการสร้างความรู้และนาความรู้ไปใช้ในการจัดการปัญหาในชุมชน 1.4 นักวิจัยชาวบ้าน 1,000 คน/ปี 1 2 3 แผนงาน “พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” KR 1.โมเดลนวัตกรรมการศึกษาที่ทดลองในพื้นที่นวัตกรรม การศึกษา ไม่น้อยกว่า 6 จังหวัด ที่จัดการจากล่างสู่บน 2.สถานศึกษาไม่น้อยกว่า 10% ในจังหวัดมีผลสัมฤทธิ์ของ การศึกษาของนักเรียนสูงขึ้น 3.เยาวชนนอกระบบการศึกษาและประชาชนในพื้นที่ไม่น้อย กว่า 10,000 คน มีช่องทางการเรียนรู้และยกระดับทักษะ เพื่อพัฒนา แผนงาน “มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่” KR 1. ผลงานวิจัยเกิดการนาไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ในด้านเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนของ วิสาหกิจ/OTOP 500 กลุ่มวิสาหกิจ/OTOP 2) ชุมชน/กลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 จากการใช้นวัตกรรม/ผลงานวิจัย ไปยกระดับ 3. เกิดการสร้างผู้ประกอบการในชุมชน/รุ่นใหม่เพื่อยกระดับการผลิตที่มีมาตรฐาน ไม่ น้อยกว่า 50 ผู้ประกอบการ 4. อัตราการเติบโตของมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก และมูลค่าสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 10 7
  • 9. 9
  • 10. BCG BRAIN POWER MAN POWER ยุวชนสร้ำงชำติ Re-inventing University มหาวิทยาลัยวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ FS มหำวิทยำลัยพัฒนำพื้นที่ 1. ผลงานวิจัยเกิดการนาไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ในด้านเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์ชุมชนของวิสาหกิจ/OTOP 500 กลุ่ม/ปี 2. ชุมชน/กลุ่มเป้าหมายมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 15 จากการใช้ นวัตกรรม/ผลงานวิจัยไปยกระดับ 3. เกิดการสร้าง Start up/S.E. ไม่น้อยกว่า 50 ผู้ประกอบการ/ปี 4. อัตราการเติบโตของมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก และมูลค่าสินค้า ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 10 สร้ำงเงื่อนไขทุนสถำบันให้ปรับ ระบบและกลไกที่นำไปสู่กำร re- invent และปรับกำรเรียนกำรสอน แนวคิดและโจทย์สร้ำงเงื่อนไขให้นำนิสิตเข้ำมำทำวิจัย แล้วหนุนเสริมให้เกิด Start up ผ่ำน UBI (ร่วมกับ NIA) Up Skill/Re Skill กลุ่ม Local Enterprise Degree/Non Degree สำหรับผปก.ในพื้นที่/รุ่นใหม่ Systematic Research โครงสร้ำง ระบบและ กลไกกำรสนับสนุน Key Stakeholder & User Engagement 10
  • 11. 11
  • 12. BRAIN POWER MAN POWER ยุวชนสร้ำงชำติ Re-inventing University มหาวิทยาลัยวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยเพื่อพัฒนาพื้นที่ FS ชุมชนนวัตกรรม & มหำวิทยำลัยพัฒนำพื้นที่ 1. 500 ตาบล/ปี 1.1 มีกลไกที่มีขีดความสามารถในการจัดการตนเอง ในมิติด้านการ พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมของชุมชนด้วยความรู้และ นวัตกรรม 1.2 มีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อมของชุมชนด้วย ความรู้และนวัตกรรม 1.3 มีการสร้างความรู้และนาความรู้ไปใช้ในการจัดการปัญหาใน ชุมชน 1.4 นักวิจัยชาวบ้าน/นวัตกรชาวบ้าน 1,000 คน/ปี สร้ำงเงื่อนไขให้นำนิสิตเข้ำมำทำวิจัย แล้วดำเนินกำรวิจัยแก้ไขปัญหำชุมชน ของตนเอง Up Skill/Re Skill นักวิจัยชำวบ้ำน/คนจน/กลุ่มอำชีพ Degree/Non Degree นิสิต/กลุ่มอำชีพ Systematic Research โครงสร้ำง ระบบและ กลไกกำรสนับสนุน Key Stakeholder & User Engagement ภำคประชำสังคม BCGเศรษฐกิจรำยได้คุณภำพชีวิต 12
  • 13. เมือง : NEW ENGINE OF GROWTH ▪ 20-40% ของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจในพื้นที่เติบโตในเมือง ▪ Bangkok Syndrome ▪ Urban Sprawl ▪ 200 เมืองทั่วโลกที่ position เป็น Smart City 70% ไม่ส้าเร็จ ปรับจาก ปุ่น เที่ยงบูรณธรรม (2562) 13
  • 15. * Real GDP in Thai Baht at current market prices Source : Office of the National Economic and Social Development Board (NESDB) Note : data 2016 (last available early 2019). Distribution ofWealth GDP per capita Eastern BKK N & NE 15
  • 16. Growth Poles and Urbanisation in Thailand Estimated Spatial Economic Distribution inThailand (2016) 16
  • 17. การพัฒนากลไกพัฒนาเมือง และกติการ่วมของเมือง กลไกพัฒนาเมืองโดยการมี ส่วนร่วมและการพัฒนาพื้นที่ เมืองเพื่อสร้างการจ้างงาน กติการ่วมของเมือง (Charter) การพัฒนาชุดความรู้และ ข้อมูลเปิดด้านการพัฒนาเมือง ในบรทบทไทย โครงสร้างพื้นฐาน ด้านข้อมูลของเมือง ข้อมูลและชุดความรู้ตาม บริบทเมืองและการ วิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล เพื่อการจัดการเมือง การวิจัยและพัฒนา แผนพัฒนาและแผนการ ลงทุนของเมือง เครื่องมือการระดมทุน และกองทุนพัฒนา เมือง แผนพัฒนาและ แผนการลงทุนของ เมือง การสังเคราะห์ชุดความรู้ด้านการ พัฒนาเมืองเพื่อขยายผลเชิงพื้นที่ และขับเคลื่อนเชิงนโยบาย State of the art State of the nation ข้อเสนอเชิงนโยบายและ การขับเคลื่อน กำรพัฒนำเมืองเพื่อกระจำยศูนย์กลำงควำมเจริญและลดควำมเหลื่อมล้ำ 17
  • 23. การจัดการงานวิจัย ปีงบประมาณ 2563 พ.ย. 62 ธ.ค. 62 ม.ค. 63 ก.พ. 63 มี.ค. 63 เม.ย. 63 พ.ค. 63 มิ.ย. 63 ก.ค. 63 ส.ค. 63 ก.ย. 63 Upstream management 1. จัดเวที Consortium ร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ (Key stakeholder) ผู้ใช้ ประโยชน์จากงานวิจัย (User) และผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้าน (Expert content) เพื่อจัดท้าเป้าหมายและตัวชี้วัด (OKR) กรอบการวิจัยและโจทย์วิจัยที่ตรงเป้า กับการพัฒนาประเทศ √ 2. จัดท้าประกาศทุนและจัดเวทีชี้แจงกับประชาคมวิชาการและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง √ 4. จัดเวที Consortium /Workshop พัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยที่มีเป้าและ ตัวชี้วัดชัดเจน √ √ 5. จัดเวทีการพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัยร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ (Key stakeholder) ผู้ใช้ประโยชน์จากงานวิจัย (User) และผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้าน (Expert content) √ √ 5. จัดท้าสัญญารับทุนวิจัย (TOR) ที่คุมเป้าได้ และสนับสนุนทุนวิจัย √ Execute Plan 23
  • 24. การจัดการงานวิจัย ปีงบประมาณ 2563 พ.ย. 62 ธ.ค. 62 ม.ค. 63 ก.พ. 63 มี.ค. 63 เม.ย. 63 พ.ค. 63 มิ.ย. 63 ก.ค. 63 ส.ค. 63 ก.ย. 63 Midstream management 1. จัดระบบการ Monitoring และ Evaluation √ 2. จัดเวทีรีวิวความก้าวหน้าการด้าเนินงานวิจัยของแต่ละแผนงานวิจัย โดยจัดเป็น Consortium ร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ (Key stakeholder) ผู้ใช้ประโยชน์จากงานวิจัย (User) และผู้ทรงคุณวุฒิ เฉพาะด้าน (Expert content) √ √ 3. จัดเวทีหารือร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ (Key stakeholder) ผู้ใช้ ประโยชน์จากงานวิจัย (User) เพื่อผลักดันผลงานวิจัยไปสู่การใช้ ประโยชน์ทั้งระดับนโยบายและการปฏิบัติการจริงเพื่อขยายผล √ √ √ √ √ √ √ √ √ 4. จัดกระบวนการสนับสนุนงบประมาณการวิจัยงวดที่ ๒ √ Execute Plan 24
  • 25. การจัดการงานวิจัย ปีงบประมาณ 2563 พ.ย. 62 ธ.ค. 62 ม.ค. 63 ก.พ. 63 มี.ค. 63 เม.ย. 63 พ.ค. 63 มิ.ย. 63 ก.ค. 63 ส.ค. 63 ก.ย. 63 Downstream management 1. สื่อสารสาธารณะเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์และ ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ √ √ √ √ √ √ √ √ √ √ 2. จัดการสังเคราะห์กรอบงานวิจัยในภาพรวม และจัดท้าข้อเสนอเชิง นโยบาย (Policy recommendation) √ 3. กระบวนการหารือและสนับสนุนงานเพื่อผลักดันให้เกิดผลกระทบเชิง นโยบายทั้งในระดับพื้นที่และระดับส่วนกลาง (Policy advocacy) √ √ √ √ √ √ √ √ √ 4. การสังเคราะห์ภาพรวมผลงานและการจัดการที่ตอบเป้าหมายและ ตัวชี้วัดที่วางไว้ และจัดเวที Consortium ร่วมกับผู้มีส่วนได้เสียส้าคัญ (Key stakeholder) ผู้ใช้ประโยชน์จากงานวิจัย (User) และ ผู้ทรงคุณวุฒิเฉพาะด้าน (Expert content) เพื่อจัดท้าเป้าหมายและ ตัวชี้วัด (OKR) กรอบการวิจัยและโจทย์วิจัยที่ตรงเป้ากับการพัฒนา ประเทศในปีต่อไป √ Execute Plan 25
  • 27. ประมาณการ การจัดการงบประมาณ แผนงานส้าคัญ งบที่คาดว่าจะจัดสรร (ล้านบาท) งบประมาณสนับสนุน (Grant) 648 1. ชุมชนนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 240 2. มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ 323 3. พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 85 งบบริหารจัดการ (10% ของงบประมาณรวม) 72 รวมงบประมาณทั้งหมด 720 27