SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปัญหา
                   โจทย์ปัญหา PBL …2…. เรื่อง ..โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี..
             รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

สมาชิกในกลุ่ม
                1. นาย กนกศักดิ์ เรือนทอง เลขที่ 2
                2. นางสาว กรองกานต์ ชะอุ่มพันธ์ เลขที่ 18
                3. นางสาว สุภาภรณ์ แถมศรี เลขที่ 19




ภารกิจ
     1. จากสถานการณ์ปัญหาที่มีนานุชและเพื่อนพบในขณะนี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด มีนานุชจะต้อง
แก้ปัญหานี้อย่างไร (1 คะแนน)
     2. จากสถานการณ์นี้ สิ่งที่มีนานุชควรรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี มีองค์ประกอบที่สาคัญ
อะไรบ้าง และวิธีการเขียนคอมเมนต์ (Comment) มีกี่ประเภท มีวิธีเขียนอย่างไร (1 คะแนน)
     3. มีนานุชควรสืบค้นตัวอย่างโปรแกรมภาษาซีจากเว็บไซต์ใด และมีรายละเอียดของตัวอย่างโปรแกรม
ภาษาซีเป็นอย่างไร (1 คะแนน)
     4. นักเรียนช่วยอธิบายโปรแกรมทีละบรรทัดด้วยว่า โปรแกรมที่สืบค้นมานั้นเป็นส่วนประกอบใดของ
โครงสร้างภาษาซี โดยใช้คอมเมนต์ (Comment) ในการเขียนคาอธิบาย (2 คะแนน)
ตอนที่ 1
   หัวข้อปัญหา ..โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี..
   ทาความเข้าใจปัญหา ......ศึกษาข้อมูลตามที่สถานการณ์กาหนดให้ เพื่อใช้ตอบคาถามในภารกิจ.......
   - สิ่งที่ต้องการรู้ .. โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีมีอะไรบ้าง แต่ละส่วนมีลักษณะสาคัญอย่างไร
                          โดยใช้คอมเมนต์ (Comment) ในการเขียนอธิบายโครงสร้างของโปรแกรม..
   - วิธีการหาคาตอบ ...ค้นคว้าในอินเตอร์เน็ต ค้นหาจากหนังสือ สอบถามจากผู้รู้ คือคุณครูผู้สอน...
   การศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหา
                ชื่อสมาชิก                 การแบ่งหน้าที่              แหล่งข้อมูล/อ้างอิง
   นาย กนกศักดิ์ เรือนทอง                   ค้นหาข้อมูล          http://www.lks.ac.th/kuanjit/
   นางสาวกรองกานต์ ชะอุ่มพันธ์              จัดทาเอกสาร             http://www.xvlnw.com/
   นางสาว สุภาภรณ์ แถมศรี                   จัดทาเอกสาร

ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ
        1. จากสถานการณ์ปัญหาที่มีนานุชและเพื่อนพบในขณะนี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด มีนานุชจะต้อง
แก้ปัญหานี้อย่างไร
                 ตอบ ปัญหาที่เกิ ดขึ้นอาจจะมีสาเหตุมาจากการที่มีนานุชไม่เข้าใจโครงสร้างโปรแกรม
ภาษาซี และการใช้คอมเมนต์ในภาษาซี จะสามารถแก้ปัญหาได้โดยการศึกษาค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ต การ
สอบถามผู้รู้หรือครูผู้สอน และการค้นคว้าจากหนังสือที่เกี่ยวกับภาษาซีเพื่อความชัดเจนของข้อมูล

          2. จากสถานการณ์นี้ สิ่งที่มีนานุชควรรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี มีองค์ประกอบที่
สาคัญอะไรบ้าง และวิธีการเขียนคอมเมนต์ (Comment) มีกี่ประเภท มีวิธีเขียนอย่างไร
                    ตอบ สิ่งที่มีนานุชควรรู้คือ โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
1. ส่วนหัวของโปรแกรม
       ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทาการ
ใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรมในที่นี่คาสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นาเฮดเดอร์ไฟล์
ที่ระบุคือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกาหนด preprocessing directives นี้จะต้อง
ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ
          คาสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นาเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้ 2
รูปแบบ คือ
          - #include < ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ > คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้
สาหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ ( ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include)
- #include “ ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ ” คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟที่ระบุ จากไดเร็คทอรี
เดียวกันกับไฟล์ source code นั้น แต้ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บ เฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ
2. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก
       ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชั่น main( ) ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่
ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชั่นคือ main แปลว่า “ หลัก ” ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษซีจึง
ขาดฟังก์ชั่นนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกาหนดด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การทางาน
ของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย } ฟังก์ชั่น main( ) สามารถเขียนใน
รูปแบบของ void main(void) ก็ได้มีความหมายเหมือนกัน คือ หมายความว่า ฟังก์ชั่น main() จะไม่มี
อาร์กิวเมนต์ (argument) คือไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาประมวลผลภายในฟังก์ชั่น และจะไม่มีการคืนค่าใด ๆ
กลับออกไปจากฟังก์ชั่นด้วย




 3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม
เป็นส่วนของการเขียนคาสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทางานตามที่ได้ออกแบบไว้
คอมเมนต์ในภาษาซี
         คอมเมนต์ (comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่
ข้อความอธิบายกากับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่เป็นคอมเมนต์นี้
คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบคือ
         „ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย // มีวิธีการเขียนคือ ใช้เครื่องหมาย // นาหน้าข้อความ
ที่เป็นหมายเหตุในบรรทัดนั้นๆ
         „ คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ * มีวิธีการเขียนคือใช้เครื่องหมาย /* และ */
คร่อมพื้นที่ที่เป็นหมายเหตุ
3. มีนานุชควรสืบค้นตัวอย่างโปรแกรมภาษาซีจากเว็บไซต์ใด และมีรายละเอียดของตัวอย่าง
โปรแกรมภาษาซีเป็นอย่างไร
          ตอบ ปัจจุบัน โลกมีความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น ทาให้ มีตัวเลือกในการ
ค้ น หาความรู้ ที่ หลากหลาย แล้ว แต่ว่ า มี นานุ ชมี ค วามต้ องการที่ จ ะค้ น หาโปรแกรมภาษาซี แบบใด ใน
https://sites.google.com/site/panussites/phasa-c-1 ที่มีการจัดระเบียบโปรแกรมภาษาซีเกี่ยวกับการคานวณ
แบบต่างๆไว้ เช่น ตัวอย่างโปรแกรมเปลี่ยนเลขฐาน 16 ดังนี้
                              #include<stdio.h>
                              #include<conio.h>
                     main()
                    {
                     unsigned int N;
                    printf("Enter N (Base 16) = : ");
                    scanf("%x",&N);
                    printf("N = %o (Base 8)n",N);
                    printf("N = %d (Base 10)n",N);
                    printf("N = %x (Base 16)n",N);
                    getch();
                    }
          4. นักเรียนช่วยอธิบายโปรแกรมทีละบรรทัดด้วยว่า โปรแกรมที่สืบค้นมานั้นเป็นส่วนประกอบใด
ของโครงสร้างภาษาซี โดยใช้คอมเมนต์ (Comment) ในการเขียนคาอธิบาย
          ตอบ                 #include<stdio.h> /*
                                                        ส่วนหัวของโปรแกรมของโปรแกรม
                              #include<conio.h>                                            */
                    main() // ฟังก์ชันหลัก
                    {/* เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมด้วยเครื่องหมายปีกกาเปิด */
                    int N; //ประกาศตัวแปร
                    printf("Enter N (Base 16) = : "); /*ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม
                    scanf("%x",&N);
                    printf("N = %o (Base 8)n",N);
                    printf("N = %d (Base 10)n",N);
                    printf("N = %x (Base 16)n",N);
                    getch(); */
} /*จบการเขียนโปรแกรมด้วยเครื่องหมายปีกกาปิด*/

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมmr.somsak phoolpherm
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานRatchanok Nutyimyong
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
การเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcelการเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcelKrongkaew kumpet
 
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010Krongkaew kumpet
 
โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1anusong
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานPannathat Champakul
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 

What's hot (18)

โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
Python programmingggg
Python programminggggPython programmingggg
Python programmingggg
 
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ ที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรม
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcelการเริ่มใช้งานExcel
การเริ่มใช้งานExcel
 
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
สื่อการสอน Microsoft Power point 2010
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
ภาษาซี
ภาษาซีภาษาซี
ภาษาซี
 
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
 
K3
K3K3
K3
 
โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1โจทย์ปัญหา8.1
โจทย์ปัญหา8.1
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 

Similar to Pbl2

โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2Jaruwank
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2Jaruwank
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นDararat Worasut
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอโจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอnattapon Arsapanom
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานKEk YourJust'one
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์miiztake
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3anusong
 

Similar to Pbl2 (20)

งานPbl 2
งานPbl 2งานPbl 2
งานPbl 2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอโจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง  การแสดงผลออกทางหน้าจอ
โจทย์ปัญหา Pbl 7.2เรื่อง การแสดงผลออกทางหน้าจอ
 
กำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซีกำเนิดภาษาซี
กำเนิดภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Pbl7.2
Pbl7.2Pbl7.2
Pbl7.2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++การใช้งาน Dev C++
การใช้งาน Dev C++
 
™Pbl8.2
™Pbl8.2™Pbl8.2
™Pbl8.2
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 

More from supaporn20146 (10)

งานPbl8.1
งานPbl8.1งานPbl8.1
งานPbl8.1
 
Pbl7.1
Pbl7.1Pbl7.1
Pbl7.1
 
P bl6
P bl6P bl6
P bl6
 
Pbl5
Pbl5Pbl5
Pbl5
 
Pbl4.2
Pbl4.2Pbl4.2
Pbl4.2
 
Pbl4
Pbl4Pbl4
Pbl4
 
Pbl 3
Pbl 3Pbl 3
Pbl 3
 
P bl1
P bl1P bl1
P bl1
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
Pbl 2
Pbl 2Pbl 2
Pbl 2
 

Pbl2

  • 1. แบบบันทึกการศึกษาค้นคว้าและการแก้ปัญหา โจทย์ปัญหา PBL …2…. เรื่อง ..โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี.. รายวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง30201 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย กนกศักดิ์ เรือนทอง เลขที่ 2 2. นางสาว กรองกานต์ ชะอุ่มพันธ์ เลขที่ 18 3. นางสาว สุภาภรณ์ แถมศรี เลขที่ 19 ภารกิจ 1. จากสถานการณ์ปัญหาที่มีนานุชและเพื่อนพบในขณะนี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด มีนานุชจะต้อง แก้ปัญหานี้อย่างไร (1 คะแนน) 2. จากสถานการณ์นี้ สิ่งที่มีนานุชควรรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี มีองค์ประกอบที่สาคัญ อะไรบ้าง และวิธีการเขียนคอมเมนต์ (Comment) มีกี่ประเภท มีวิธีเขียนอย่างไร (1 คะแนน) 3. มีนานุชควรสืบค้นตัวอย่างโปรแกรมภาษาซีจากเว็บไซต์ใด และมีรายละเอียดของตัวอย่างโปรแกรม ภาษาซีเป็นอย่างไร (1 คะแนน) 4. นักเรียนช่วยอธิบายโปรแกรมทีละบรรทัดด้วยว่า โปรแกรมที่สืบค้นมานั้นเป็นส่วนประกอบใดของ โครงสร้างภาษาซี โดยใช้คอมเมนต์ (Comment) ในการเขียนคาอธิบาย (2 คะแนน)
  • 2. ตอนที่ 1 หัวข้อปัญหา ..โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี.. ทาความเข้าใจปัญหา ......ศึกษาข้อมูลตามที่สถานการณ์กาหนดให้ เพื่อใช้ตอบคาถามในภารกิจ....... - สิ่งที่ต้องการรู้ .. โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีมีอะไรบ้าง แต่ละส่วนมีลักษณะสาคัญอย่างไร โดยใช้คอมเมนต์ (Comment) ในการเขียนอธิบายโครงสร้างของโปรแกรม.. - วิธีการหาคาตอบ ...ค้นคว้าในอินเตอร์เน็ต ค้นหาจากหนังสือ สอบถามจากผู้รู้ คือคุณครูผู้สอน... การศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหา ชื่อสมาชิก การแบ่งหน้าที่ แหล่งข้อมูล/อ้างอิง นาย กนกศักดิ์ เรือนทอง ค้นหาข้อมูล http://www.lks.ac.th/kuanjit/ นางสาวกรองกานต์ ชะอุ่มพันธ์ จัดทาเอกสาร http://www.xvlnw.com/ นางสาว สุภาภรณ์ แถมศรี จัดทาเอกสาร ตอนที่ 2 สรุปผลการศึกษาค้นคว้า / แก้ปัญหาตามภารกิจ 1. จากสถานการณ์ปัญหาที่มีนานุชและเพื่อนพบในขณะนี้มีสาเหตุมาจากสิ่งใด มีนานุชจะต้อง แก้ปัญหานี้อย่างไร ตอบ ปัญหาที่เกิ ดขึ้นอาจจะมีสาเหตุมาจากการที่มีนานุชไม่เข้าใจโครงสร้างโปรแกรม ภาษาซี และการใช้คอมเมนต์ในภาษาซี จะสามารถแก้ปัญหาได้โดยการศึกษาค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ต การ สอบถามผู้รู้หรือครูผู้สอน และการค้นคว้าจากหนังสือที่เกี่ยวกับภาษาซีเพื่อความชัดเจนของข้อมูล 2. จากสถานการณ์นี้ สิ่งที่มีนานุชควรรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี มีองค์ประกอบที่ สาคัญอะไรบ้าง และวิธีการเขียนคอมเมนต์ (Comment) มีกี่ประเภท มีวิธีเขียนอย่างไร ตอบ สิ่งที่มีนานุชควรรู้คือ โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1. ส่วนหัวของโปรแกรม ส่วนหัวของโปรแกรมนี้เรียกว่า Preprocessing Directive ใช้ระบุเพื่อบอกให้คอมไพเลอร์กระทาการ ใด ๆ ก่อนการแปลผลโปรแกรมในที่นี่คาสั่ง #include <stdio.h> ใช้บอกกับคอมไพเลอร์ให้นาเฮดเดอร์ไฟล์ ที่ระบุคือ stdio.h เข้าร่วมในการแปลโปรแกรมด้วย โดยการกาหนด preprocessing directives นี้จะต้อง ขึ้นต้นด้วยเครื่องหมาย # เสมอ คาสั่งที่ใช้ระบุให้คอมไพเลอร์นาเฮดเดอร์ไฟล์เข้าร่วมในการแปลโปรแกรม สามารถเขียนได้ 2 รูปแบบ คือ - #include < ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ > คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟล์ที่ระบุจากไดเรกทอรีที่ใช้ สาหรับเก็บเฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ ( ปกติคือไดเรกทอรีชื่อ include)
  • 3. - #include “ ชื่อเฮดเดอร์ไฟล์ ” คอมไพเลอร์จะทาการค้นหาเฮดเดอร์ไฟที่ระบุ จากไดเร็คทอรี เดียวกันกับไฟล์ source code นั้น แต้ถ้าไม่พบก็จะไปค้นหาไดเร็คทอรีที่ใช้เก็บ เฮดเดอร์ไฟล์โดยเฉพาะ 2. ส่วนของฟังก์ชั่นหลัก ฟังก์ชั่นหลักของภาษาซี คือ ฟังก์ชั่น main( ) ซึ่งโปรแกรมภาษาซีทุกโปรแกรมจะต้องมีฟังก์ชั่นนี้อยู่ ในโปรแกรมเสมอ จะเห็นได้จากชื่อฟังก์ชั่นคือ main แปลว่า “ หลัก ” ดังนั้น การเขียนโปรแกรมภาษซีจึง ขาดฟังก์ชั่นนี้ไปไม่ได้ โดยขอบเขตของฟังก์ชั่นจะถูกกาหนดด้วยเครื่องหมาย { และ } กล่าวคือ การทางาน ของฟังก์ชั่นจะเริ่มต้นที่เครื่องหมาย { และจะสิ้นสุดที่เครื่องหมาย } ฟังก์ชั่น main( ) สามารถเขียนใน รูปแบบของ void main(void) ก็ได้มีความหมายเหมือนกัน คือ หมายความว่า ฟังก์ชั่น main() จะไม่มี อาร์กิวเมนต์ (argument) คือไม่มีการรับค่าใด ๆ เข้ามาประมวลผลภายในฟังก์ชั่น และจะไม่มีการคืนค่าใด ๆ กลับออกไปจากฟังก์ชั่นด้วย 3. ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม เป็นส่วนของการเขียนคาสั่ง เพื่อให้โปรแกรมทางานตามที่ได้ออกแบบไว้ คอมเมนต์ในภาษาซี คอมเมนต์ (comment) คือส่วนที่เป็นหมายเหตุของโปรแกรม มีไว้เพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมใส่ ข้อความอธิบายกากับลงไปใน source code ซึ่งคอมไพเลอร์จะข้ามาการแปลผลในส่วนที่เป็นคอมเมนต์นี้ คอมเมนต์ในภาษาซีมี 2 แบบคือ „ คอมเมนต์แบบบรรทัดเดียว ใช้เครื่องหมาย // มีวิธีการเขียนคือ ใช้เครื่องหมาย // นาหน้าข้อความ ที่เป็นหมายเหตุในบรรทัดนั้นๆ „ คอมเมนต์แบบหลายบรรทัด ใช้เครื่องหมาย /* และ * มีวิธีการเขียนคือใช้เครื่องหมาย /* และ */ คร่อมพื้นที่ที่เป็นหมายเหตุ
  • 4. 3. มีนานุชควรสืบค้นตัวอย่างโปรแกรมภาษาซีจากเว็บไซต์ใด และมีรายละเอียดของตัวอย่าง โปรแกรมภาษาซีเป็นอย่างไร ตอบ ปัจจุบัน โลกมีความก้าวหน้าด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น ทาให้ มีตัวเลือกในการ ค้ น หาความรู้ ที่ หลากหลาย แล้ว แต่ว่ า มี นานุ ชมี ค วามต้ องการที่ จ ะค้ น หาโปรแกรมภาษาซี แบบใด ใน https://sites.google.com/site/panussites/phasa-c-1 ที่มีการจัดระเบียบโปรแกรมภาษาซีเกี่ยวกับการคานวณ แบบต่างๆไว้ เช่น ตัวอย่างโปรแกรมเปลี่ยนเลขฐาน 16 ดังนี้ #include<stdio.h> #include<conio.h> main() { unsigned int N; printf("Enter N (Base 16) = : "); scanf("%x",&N); printf("N = %o (Base 8)n",N); printf("N = %d (Base 10)n",N); printf("N = %x (Base 16)n",N); getch(); } 4. นักเรียนช่วยอธิบายโปรแกรมทีละบรรทัดด้วยว่า โปรแกรมที่สืบค้นมานั้นเป็นส่วนประกอบใด ของโครงสร้างภาษาซี โดยใช้คอมเมนต์ (Comment) ในการเขียนคาอธิบาย ตอบ #include<stdio.h> /* ส่วนหัวของโปรแกรมของโปรแกรม #include<conio.h> */ main() // ฟังก์ชันหลัก {/* เริ่มต้นการเขียนโปรแกรมด้วยเครื่องหมายปีกกาเปิด */ int N; //ประกาศตัวแปร printf("Enter N (Base 16) = : "); /*ส่วนรายละเอียดของโปรแกรม scanf("%x",&N); printf("N = %o (Base 8)n",N); printf("N = %d (Base 10)n",N); printf("N = %x (Base 16)n",N); getch(); */