SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
บทที่ 3
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
Python Programming Structure
1.นายพงศภัก กมลศรี เลขที่ 1
2.นายภาณุวัฒน์ พาณิชกุล เลขที่ 2
3.นายวชิรภูมิ เลิศอรุณวัฒนา เลขที่ 3
4.นายธนดล วิบูลย์เชื้อ เลขที่ 10
5.นางสาวกุลณัฐ กาฬภักดี เลขที่ 11
6.นางสาววรันธร ภุมรินทร์ เลขที่ 13
7.นางสาวรัชชนก นุชยิ้มย่อง เลขที่ 16
8. นางสาวศรัณยา พรหมมา เลขที่ 18
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
Hello.py มีลักษณะการทางานคล้ายระบบผู้เชี่ยวชาญ ที่สามารถโต้ตอบกับ
ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้
Program Example : Hello World!
1 #! /usr/bin/python
2 #This program looks like the expert system, you can talk with this computer.
3 #How to run this program:
5 #For example : python exam3_1.py Suchart
4 #In MS-DOS prompt, you should type: python name.py your_name
6 #Version 1.0
7 #Written by Mr Suchart
8 #GNU License : You can modify and publish this software everywhere
9
10 import sys 11
12 if len(sys.argv) == 2 : 13 if sys.argv[1] != '' :
14 print("Computer said : Hello, I'm Python!!!")
15 print("Computer said : How are you today?
",sys.argv[1])
16 feeling = input("You said : I'm ")your argv was missing!!!")
17 print("Computer said : Ohh! you are ",feeling,"!!")
18 print("You said : How about you?")
19 print("Computer said : Very good!") 20
21 else :
22 print("Computer said : I cannot talk with you, because
บรรทัดที่1: เครื่องหมาย # คือการ Comment หมายความว่าตัวแปลภาษาจะข้าม
บรรทัดดังกล่าวไป โดยไม่แปลความหมายใดๆ
บรรทัดที่2 -8: คือการอธิบายว่าโปรแกรมทางานอะไร ใช้ข้อมูลอะไรบ้างเพื่อให้โปรแกรม
ทางานได้สมบูรณ์
บรรทัดที่10: คือการเรียกใช้คลาส sys (system) เป็นไลบรารี่ที่จัดการเกี่ยวกับระบบ
(System)
บรรทัดที่12: คือการตรวจสอบเงื่อนไขว่าพารามิเตอร์ที่รับเข้ามาพร้อมกับโปรแกรมนั้นมี
จานวน 2 ตัวแปรหรือไม่
บรรทัดที่13: คือการตรวจสอบเงื่อนไขว่าชื่อที่ต่อท้ายไฟล์ขณะทาการรันโปรแกรมนั้นเป็น
ค่าว่างหรือไม่
บรรทัดที่14: คอมพิวเตอร์จะพิมพ์ข้อความแนะนาตัวเอง “Hello, I'm Python!!!” กับ
ผู้ใช้งาน
บรรทัดที่15: คอมพิวเตอร์จะพิมพ์ข้อความทักทายผู้ใช้ว่า “How are you today?” พร้อมกับ
ชื่อของผู้ใช้งานออกมา
บรรทัดที่16: คอมพิวเตอร์จะรอรับข้อความจากคีย์บอร์ดของผู้ใช้ว่าตอนนี้มี
ความรู้สึกเป็นอย่างไรบ้าง เช่น Very good, So so, Bad เป็นต้น
บรรทัดที่17: คอมพิวเตอร์จะพิมพ์ข้อความแสดงความรู้สึกกับผู้ใช้งาน เช่น Ohh!
you aregood !!
บรรทัดที่18: ตามมารยาทคุณควรตอบกลับไปว่า “How about you?”
บรรทัดที่19: คอมพิวเตอร์จะตอบกลับมาว่า “Very good!” และจบการทางาน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมไพธอน
(Python programming structure)
 โดยปกติของภาษาโปรแกรมมิ่งทั่วๆไป ทุกๆโปรแกรมจะมีฟังชันหลักที่เรียกว่า
Main function เสมอ ยกตัวอย่างในโปรแกรมภาษา C ต่อไปนี้
 void doit ( int x ) { x = 5; }
 int main() {
 int z = 27;
 doit(z);
 fprintf('z is now %dn', z);
 return 0; }
โครงสร้างภาษาการเขียนโปรแกรมไพธอน
ขอบเขต ตัวอย่างโปรแกรมไพธอน ความหมาย
1 #!/usr/bin/python คอมเมนต์ หรือการประกาศ
ตัวแปลภาษา
2 import sys, getopt นาเข้าไลบารี่ หรือคลาสของ
ไพธอนมาใช้งาน
3 def
display():
print("Python
programming")
def main(): print("I'm
the Main
function") display() if
__name__ == "__main__":
main()
ประกาศตัวแปร ฟังชัน
และคาสั่งควบคุมต่างๆ
รวมถึงฟังชัน main ด้ว
ไวยกรณ์พื้นฐานที่จาเป็น
ไวยกรณ์พื้นฐานที่จาเป็นอย่างยิ่งต้องจดจา
1. Case sensitivity: การตั้งชื่อตัวแปร ตัวใหญ่และตัวเล็กถือว่าเป็นคนละตัวแปร
เช่น Number และ number ไม่ใช่ตัวแปรตัวเดียวกัน
2. Space and tabs don’t mix: ไพธอนมองว่า space และ tabs มีความหมายไม่
เหมือนกัน ดังนั้นเวลาเขียนโปรแกรม อย่าผสมระหว่าง space และ tabs เข้าด้วยกันให้
เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น
3. Objects (วัตถุหรือเรียกทับศัพท์ว่าอ๊อปเจ็กต์): ไพธอนถูกสร้างขึ้นภายใต้แนวคิด
การโปรแกรมเชิงวัตถุ
4. Scope: ในการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญ่ ที่มีโปรแกรมเมอร์มากกว่า 1 คน
อาจจะประสบปัญหาเรื่องการประกาศตัวแปรที่ซ้ากันได้
5. Namespaces: คือพื้นที่ที่ใช้เก็บตัวแปรของระบบที่สร้างไว้ให้เราโดยที่เราไม่รู้
และตัวแปรต่างๆ ที่เราสร้างขึ้นมาทีหลัง เราสามารถขอดูข้อมูลที่เก็บอยู่
ใน Namespaces
6. Colons: ไพธอนตัดเครื่องหมายแสดงขอบเขตของข้อมูล {...} ทิ้งไป แล้วใช้: ร่วมกับ
การเขียนโปรแกรมด้วยการย่อหน้าแทน โดยเริ่มจากคอลัมภ์ที่ 1 เสมอดังนั้นอย่าลืม : หลัง
คาสั่ง if, for, while, def เป็นอันขาด
7. Blank lines: เมื่อจาเป็นต้องเขียนค าสั่งที่มีความยาวมากๆ ไม่หมดใน 1 บรรทัด ให้ใช้
เครื่องหมาย  ตามด้วย enter
8. Lines and Indentation: ไพธอนไม่ใช้เครื่องหมาย {...} ในการก าหนดขอบเขต
เหมือนใน ภาษาซี ไพธอนใช้การเยื้อง หรือย่อหน้าแทน ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรม
จะต้องระวังการเยื้องหน้าให้ดี
9. Multi-line statements: แต่ละค าสั่งของไพธอนส่วนใหญ่จบลงด้วยการขึ้นบรรทัด
ใหม่ (newline) แต่ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้เครื่องหมาย  เพื่อเชื่อมคาสั่งได้
10. Quotation in Python: ไพธอนใช้เครื่องหมาย ' (single quote), " (double quote) ใน
การแสดงค่าของสตริง แต่เครื่องหมาย """ (triple quote) สามารถใช้เชื่อมต่อสตริงแบบ
หลายๆบรรทัดได้
11. Waiting for the user: บ่อยครั้งที่ผู้เขียนโปรแกรมต้องการให้โปรแกรมหยุดรอ
ก่อนโปรแกรมท างานเสร็จ โดยขึ้นข้อความว่า“Press the enter key to exit.” สามารถ
ใช้nnใส่ไว้ก่อนข้อความ
12. Multiple statements on a single line: ผู้เขียนโปรแกรมสามารถใช้
เครื่องหมาย ; เพื่อสั่งให้สามารถรันหลายๆ ค าสั่งได้ในบรรทัดเดียวกันได้
Python programmingggg

More Related Content

What's hot

ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นApinyaphorn
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานการเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานณัฐพล บัวพันธ์
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานPannathat Champakul
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2winewic199
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาwinewic199
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++Ooy's Patchaya
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานRatchanok Nutyimyong
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 

What's hot (18)

ภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้นภาษา C เบื้องต้น
ภาษา C เบื้องต้น
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงานการเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
การเขียนขั้นตอนวิธีและผังงาน
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Ch17
Ch17Ch17
Ch17
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา เลขที่ 26.2
 
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญาการพัฒนาโปรแกรม วิชญา
การพัฒนาโปรแกรม วิชญา
 
รหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo codeรหัสเทียม Psuedo code
รหัสเทียม Psuedo code
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
Unit3.1variables
Unit3.1variablesUnit3.1variables
Unit3.1variables
 
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
การใช้สูตรหาพื้นที่ ด้วย Dev++
 
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งข้อมูลขั้นพื้นฐาน
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
Language com
Language comLanguage com
Language com
 

Similar to Python programmingggg

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1SubLt Masu
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา CFair Kung Nattaput
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาThanyalak Aranwatthananon
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2Jaruwank
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2Jaruwank
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมikanok
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรมthanapon51105
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5wipawanmmiiww
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีHathaichon Nonruongrit
 
งานPblที่2
งานPblที่2งานPblที่2
งานPblที่2Naynoyjolii
 

Similar to Python programmingggg (20)

Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
PBL2
PBL2PBL2
PBL2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ประวัติภาษา C
ประวัติภาษา Cประวัติภาษา C
ประวัติภาษา C
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
Pbl 2
Pbl 2Pbl 2
Pbl 2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
 
โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2โจทย์ปัญหา Pbl 2
โจทย์ปัญหา Pbl 2
 
การเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมการเขียนโปรแกรม
การเขียนโปรแกรม
 
โปรแกรม
โปรแกรมโปรแกรม
โปรแกรม
 
โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5โครงงานคอม 5
โครงงานคอม 5
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Php beginner
Php beginnerPhp beginner
Php beginner
 
งานPblที่2
งานPblที่2งานPblที่2
งานPblที่2
 

Python programmingggg