SlideShare a Scribd company logo
ค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร
สานักคณะกรรมการตลุาการศาลยุติธรรม
Compensation Affecting Performance Efficiency of Staff in The Office
of The Judicial Commission
กลุ่มที่ 8 วิจารณ์บทความ วิชา PAD 631
1. ชื่อเรื่อง ตามหลัก SOSE
❖ สะท้อนเรื่องที่จะวิจัยชัดเจน
❖ เขียนได้อย่างกระชับ
❖ การระบุตัวแปรที่สาคัญ
1) มีการระบุตัวแปลที่ศึกษา คือ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรสานักงานคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
2) มีการระบุประชากรหรือกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ
บุคลากรในสานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
3) มีการระบุสถานที่ศึกษา คือ สานักคณะกรรมการตุลาการ
ศาลยุติธรรม
2. บทคัดย่อ
บทคัดย่อไม่ได้กล่าวถึงความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ว่าเป็นอย่างไรทาไมถึงต้องมีการศึกษาในกรณีนี้ มีการระบุเพียงว่า
วัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษา
1) ค่าตอบแทนและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร
สานักคณะกรรมการ ตุลาการศาลยุติธรรม
2) ปัจจัยส่วนบุคคลและค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติงานของบุคลากร กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา
❏ มีจานวนคาที่เหมาะสมอยู่ในกรอบ 250 คา
และคาสาคัญตรงตามที่กาหนด ซึ่งกาหนด 3 คาขึ้นไป
❏ สะท้อนเรื่องที่ศึกษาชัดเจน
❏ บทคัดย่อไม่ได้กล่าวถึงข้อเสนอแนะในการทาวิจัย
❏ บทคัดย่อมีความกระชับ
❏ บทคัดย่อแปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
3. ปัญหาการวิจัย
3.1) ปัญหาการวิจัยมีการเขียนไว้ไม่ชัดเจน เป็นการกล่าวนาถึง
ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยที่สาคัญและมีค่าที่สุดขององค์กร อธิบายการ
จัดการทรัพยากรมนุษย์ การบริหารงานบุคคล นาไปสู่หัวข้อการวิจัย
“ค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร สานัก
คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม” เป็นการเขียนแบบประโยคบอกเล่า
3.2) ข้อสนับสนุนความเป็นมาความสาคัญหรือความรุนแรงของปัญหา
มีข้อสนับสนุนความเป็นมาความสาคัญของปัญหา องค์กรสมัยใหม่
ที่ประสบความสาเร็จให้ความสาคัญการจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างจริงจัง
พัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรมนุษย์จากระบบเดิมที่เรียกกว่า การ
บริหารงานบุคคล การจ้างบุคลากรเข้ามาทางาน การจ่ายค่าจ้าง
ค่าตอบแทนเป็นการกาหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงาน
3. ปัญหาการวิจัย (ต่อ)
3.3) มีการกล่าวถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ฉัตรรัชดา วิโรจน์รัตน์, 2554)
กล่าวว่า “การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดีจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการ
ปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ” งานวิจัยของ
สุพัฒน์มงคล และวันทนา เนาว์วัน (2562) กล่าวว่า “เพื่อให้องค์กรก้าวหน้า
อย่างรวดเร็วเติบโตไปพร้อมๆกับการทางานของบุคลากร องค์กรจึงต้อง
พัฒนาบุคคลากรและรับรู้ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน”
งานวิจัยเรื่องนี้เหมือนกับเรื่องอื่น ตรงที่การบริหารงานบุคคลของสานัก
คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม มีหลักเกณฑ์การแบ่งหน้าที่ในการ
ปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างชัดเจน มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความดี
ความชอบ และกาหนดค่าตอบแทน งานวิจัยนี้เติมช่องว่างความรู้แสดงให้
เห็นว่า
ความเป็นจริง การปฏิบัติงานตามระบบราชการนั้นขาดยุทธศาสตร์การ
ทางานเชิงรุก ไม่คุ้มค่ากับหน่วยงานที่มีความพร้อม บุคลากรบางส่วนไม่ได้
ทุ่มเทในการปฎิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพเท่าที่ควร
3. ปัญหาการวิจัย (ต่อ)
3.4) การระบุตัวแปรที่ศึกษา
มีการระบุตัวแปรที่ศึกษา บุคลากรทั้งหมด 65 คน ประกอบด้วย
ผู้อานวยการ 1 คน ข้าราชการ 49 คน พนักงานราชการ 6 คน และ
ลูกจ้างชั่วคราว 9 คน
3.5) การระบุธรรมชาติของประชากรที่ศึกษา
ไม่ได้ระบุธรรมชาติของประชากรที่ศึกษา มีเพียงอธิบายบุคลากรทั้งหมด
ในสานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
3.6) การมองปัญหาภายใต้บริบทของกรอบแนวคิดทฤษฏีที่เหมาะสม
มีการมองปัญหาภายใต้บริบท ผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาค่าตอบแทนที่ส่งผล
ต่อประสิทธิภาพในการปฏบัติงานของบุคลากร เพื่อศึกาษาความคิดเห็น
เกี่ยวกับค่าตอบแทน และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร
ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ
ในการปฏิบัติงาน
3.7) ความสาคัญของผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการศึกษาปัญหานี้
เพื่อนาองค์ความรู้ไปปรับปรุงและพัฒนาระบบค่าตอบแทนให้สอดคล้อง
กับสถานการณ์ปัจจุบันและเป็นการสร้างขวัญกาลังใจให้กับบุคลากร อันจะ
ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทางานต่อไป
4. วัตถุประสงค์การวิจัย
4.1) ความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัย
มีความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัย เพื่อศึกษา
1.ความคิดเห็นเกี่ยวกับค่าตอบแทนของบุคลากรในสานักงาน
คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
2.ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสานา
คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม
3.ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ
บุคลากร สานักงานคณะกรรมการศาลยุติธรรม
4.ปัจจัยด้านค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
ของบุคลากร
4.2) ความชัดเจนของแผนวิจัย
ไม่ได้เขียนหรือระบุชัดเจนว่าผู้วิจัยมีแผนจะทาอะไร แค่กล่าว
อธิบายความคิดเห็นค่าตอบแทน ประสิทธิภาพในการทางาน ปัจจัยส่วน
บุคคล ปัจจัยด้านค่าตอบแทนของบุคลากร
5.การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5.1) เป็นการศึกษาที่ครอบคลุมตัวแปรตามกรอบแนวคิดทฤษฎี
5.2) มีการนาเสนอแนวคิดหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อจากบทนา
5.3) การศึกษาวิจัยเรื่องดังกล่าวไม่ได้เป็นการทดสอบหรือขยายความรู้
จากความรู้เดิมที่มีอยู่
5.4) งานวิจัยมีมีการใช้แนวคิดเกี่ยวกับค่าตอบแทน แนวคิดและทฤษฎี
ที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นแนวคิดทฤษฎีที่มี
ความเกี่ยวข้องกับงานวิจัย
5.5) แหล่งอ้างอิงของงานวิจัย ส่วนใหญ่แล้วเป็นข้อมูลทุติยภูมิ
5.6) แหล่งอ้างอิงของข้อมูลยังไม่ครบถ้วนเท่าที่ควร
5.7) การเขียนยังไม่สม่าเสมอต่อเนื่อง
5.8) การเรียบเรียงและการเขียนข้อมูลส่วนใหญ่เป็นการคัดลอกจาก
ข้อมูลปฐมภูมิ
5.9) งานวิจัยไม่ได้สะท้อนความอคติของผู้เขียนแต่อย่างใด
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
6. คาจากัดความ
6.1) มีการเขียนถึงความหมายของตัวแปรสาคัญที่สอดคล้องกับ
ความหมายเชิงทฤษฎี
6.2) มีการให้ความหมายตัวแปรสาคัญครบถ้วนตามเนื้อหา คือ
ค่าตอบแทน, ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน, สานักคณะกรรมการตุลาการ
ศาลยุติธรรม
7. กรอบแนวคิดทฤษฏี
7.1) มีการกาหนดกรอบแนวคิดทฤษฎีไว้อย่างชัดเจน
7.2) แนวคิดทฤษฎีมีความสอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา
7.3) มีการให้ความหมายตัวแปรกับตัวแปรอย่างชัดเจน
7.4) มีการตั้งสมมติฐานซึ่งได้มาจากกรอบแนวคิดและทฤษฎี
7.5) มีการระบุความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตามอย่าง
ชัดเจน
7.6) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัยมีความสม่าเสมอตลอดงานวิจัย
7.7) แนวคิดทฤษฎีที่นามาใช้เป็นทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ ซึ่งมีการ
นามาใช้วิจัยกันอย่างแพร่หลาย
8. เครื่องมือวิจัย
1. มีการระบุเครื่องมือ แต่ไม่ได้ระบุถึงแหล่งที่มา และไม่ได้ระบุ
เหตุผลเรื่องการเลือกเครื่องมือ
2. เครื่องมือที่ใช้เหมาะสมกับตัวแปรที่ศึกษากับกลุ่มตัวอย่าง
3. ไม่มีวิธีการใช้เครื่องมือกับตัวอย่างทุกคน
4. ผู้วิจัยใช้เครื่องมือทางสถิติในการอ่านค่าเชิงพรรณนา คือ
ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่
่
ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที
การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิคราะห์การถดถอย
พหุคุณ แต่ไม่มีการอธิบายที่มา/แนวคิดของ และขั้นตอนของเครื่องมือ
ที่ใช้
9. วิธีการรวบรวมข้อมูล
1 . มีการรวบรวมโดยการแจกแบบสอบถาม
2. มีการกาหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตร Krejcic & Morgan (1970)
3. มีการทดสอบความเชื่อมั่น ได้ค่าเท่ากับ 0.95 ได้ถูกต้อง ครบถ้วน
สิ่งที่บทความปรับปรุง และเพิ่มในส่วนที่ไม่ได้กล่าวถึง
1. เปลี่ยน วิธีการวิจัย เป็น วิธีดาเนินการวิจัย
2. ควรเพิ่มช่วงเวลาในการเก็บข้อมูล
3. ควรกาหนดสถิติที่ใช้
10. การวิเคราะห์ข้อมูล
10.1) การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสม มีการบอกค่าความถี่ ค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
10.2) ความครบถ้วนของการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ หรือ
ทดสอบสมมติฐาน ตามเนื้อหาบทความในหัวข้อบทคัดย่อและใน
หัวข้อบทนาในช่วงท้าย ระบุวัตถุประสงค์แตกต่างกัน ทาให้ไม่สามารถ
ตอบได้ว่าการวิเคราะห์ข้อมูลตอบตามวัตถุประสงค์ หรือทดสอบ
สมมติฐานครบถ้วนหรือไม่ ทั้งนี้ผลการวิเคราะห์ตามหัวข้อผลการวิจัยใน
บทความตอบวัตถุประสงค์ หรือทดสอบสมมติฐานครบถ้วนตาม
วัตถุประสงค์ในหัวข้อบทนาในช่วงท้าย
10. การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
10.3) ความชัดเจนของการนาเสนอข้อมูล มีการนาเสนอข้อมูลโดยรวมที่ยัง
ไม่ชัดเจนหรือเป็นไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ ผลการวิจัยหัวข้อข้อมูลทั่วไป
ของผู้ตอบแบบสอบถามถือว่าชัดเจน โดยไม่แสดงตารางประกอบได้ ในส่วน
ของตารางที่นาเสนอ ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ ผลการวิเคราะห์
ความเห็นเกี่ยวกับค่าตอบแทนบุคลากรฯ, ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพใน
การปฏิบัติงานของบุคลากรฯ และผลการวิเคราะห์ค่าตอบแทนส่งผลต่อ
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรฯ แสดงตารางผลวิเคราะห์
ประกอบ แต่ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรฯ
ไม่แสดงตารางผลการวิเคราะห์ประกอบ อีกทั้งตามเนื้อหาบทความกล่าวว่า
“บุคลากรสานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมที่มีเงินเดือนต่างกัน
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านปริมาณงานแตกต่างกัน” ซึ่งไม่สอดคล้อง
กับตารางที่ 4 ที่แสดงว่าเงินเดือนปฏิเสธผลการทดสอบสมมติฐาน
10.4) การกาหนดระดับนัยสาคัญของการทดสอบสมมุติฐาน
มีการกาหนดนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 อ้างอิงจากการบรรยายผลการ
เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรฯ และผลการ
วิเคราะห์ค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรฯ
10. การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
10.5) ความถูกต้องเหมาะสมของตาราง มีการนาเสนอที่ยังไม่เหมาะสม
เท่าที่ควร กล่าวคือ หัวตารางที่ 1 ควรใช้ชื่อ ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ
ค่าตอบแทนของบุคลากร สานักคณะกรรมการการตุลาการศาลยุติธรรม และ
หัวตารางที่ 2 ควรใช้ชื่อ ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ บุคลากร
สานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม และการบรรยาย ซ้าซ้อนกับเนื้อหา
ในตาราง เพื่อเป็นการลดการบรรยายควรบรรยายค่าที่สูงสุดและต่าสุดเท่านั้น
อีกทั้งข้อความในตารางและการบรรยายในส่วนของตัวแปรปัจจัยด้าน
ค่าตอบแทนไม่ตรงกับกรอบแนวคิด กล่าวคือ กรอบแนวคิดระบุว่า
“ค่าตอบแทนที่เป็นเงิน ทางตรง ทางอ้อม, ค่าตอบแทนที่ไม่ใ่ช่ทางการเงิน”
แต่ระบุในตารางแปลผลและการบรรยายเป็น “ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน
โดยตรง โดยอ้อม, ค่าตอบแทนที่ไม่ใช่ตัวเงิน”
10. การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ)
10.5) (ต่อ) และในตารางที่ 3 แสดงข้อความไม่ถูกต้อง ที่ถูกต้องคือ
ค่าตอบแทนที่เป็นเงินทางอ้อม
11. การอภิปรายผลและการสรุปผล
11.1) การอภิปรายผลโดยแสดงเหตุผลของผลการวิจัย ไม่มีการแสดง
เหตุผลในการอภิปรายผล บอกเพียงข้อสรุปสั้น ๆ ว่าอยู่ในระดับใด
เท่านั้น
11.2) การนาผลการวิจัยอื่น แนวคิด ทฤษฏีที่อ้างไว้มาใช้ประกอบการ
อภิปรายผล มีการแสดงเหตุผลประกอบการอภิปรายโดยอธิบายตาม
กรอบการวิจัยที่กาหนดไว้ (ปริมาณงาน, คุณภาพงาน, เวลา, ค่าใช้จ่าย)
11. การอภิปรายผลและการสรุปผล (ต่อ)
11.3) ผลสะท้อนของความคาดหวังจากการวิจัย มีการสรุปเปรียบเทียบโดย
อธิบายตามกรอบการวิจัยที่กาหนดไว้ (เพศ, เจเนอเรชั่น, สถานภาพ ระดับ
การศึกษา ตาแหน่งงาน, ประสบการณ์ และเงินเดือน)
11.4) ความชัดเจนของการสรุปผลการวิจัย มีการนาผลการวิจัยของผู้อื่นที่อ้าง
ไว้มาใช้ประกอบการอภิปรายผล แต่ไม่มีการอธิบายว่าปัจจัยค่าตอบแทนด้าน
อะไรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานที่แสดงให้ถึงความสอดคล้อง
ของงานวิจัย มีแต่เพียงข้อสรุปเท่านั้น
11.5) การระบุจุดอ่อน หรือข้อจากัดการวิจัย ประโยชน์ของการวิจัย
- มีการนาผลการวิจัยอื่น แนวคิด ทฤษฏีที่อ้างไว้มาใช้ประกอบการ
อภิปรายผล
แต่พบว่ามีบางข้อที่ไม่อธิบายเหตุผลประกอบ
- ผลการวิจัยเป็นไปตามที่วัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดในการวิจัย
- ไม่มีการสรุปผลการวิจัยที่ชัดเจน ไม่มีการตอบคาถามการวิจัย หรือ
นาเสนอ
ผลการทดสอบสมมุติฐาน
- ไม่มีการระบุจุดอ่อน หรือข้อจากัดของการวิจัยในครั้งนี้
12. ข้อเสนอแนะ
12.1) การเสนอข้อบ่งชี้ในการนาผลการวิจัยไปใช้ มีการเสนอข้อบ่งชี้ เช่น
การเพิ่มการจัดกิจกรรมหรือแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน
ให้กับบุคลากร การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานตลอดจน
เสริมสร้างบรรยากาศในการปฏิบัติงานให้มีความสุข การเพิ่มค่าตอบแทนที่
เป็นตัวเงินโดยตรง การเพิ่มค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินโดยอ้อม และค่าตอบแทน
ที่ไม่ใช่ตัวเงิน (งาน)
2. การให้ข้อเสนอแนะในการทาวิจัย ให้ข้อเสนอแนะ ไว้ว่า
ค่าตอบแทนที่ไม่ใช่ตัวเงิน (สภาพแวดล้อมในงาน) ส่งผลต่อประสิทธิภาพใน
การปฏิบัติงาน
ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ควรสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องใช้สานักงานและสิ่ง
อานวยความสะดวกอื่นๆ ในการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ มีการจัดให้เหมาะสม
กับการทางาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ส่งเสริมหรือจัดกิจกรรมการทางาน
เป็นทีม ทุกคนได้มีส่วนร่วม ตลอดจนสร้างบรรยากาศในการทางานอย่างมี
ความสุข ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย เนื่องจากผลการวิจัย พบว่า ค่าตอบแทนที่
ไม่ใช่ตัวเงิน (สภาพแวดล้อมในงาน) ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
13. เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม
13.1) เอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม ครอบคลุมเนื้อหา เพราะ
ผู้วิจัยได้อ้างอิงข้อมูลของแหล่งที่มาของข้อมูลครบถ้วนตั้งแต่
ความสาคัญและความเป็นมาไปจนถึงข้อสรุปของผลการวิจัยที่ได้อ้างอิง
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2. การเขียนตามรูปแบบที่กาหนดได้อย่างถูกต้อง
อ้างถึงหนังสือ > ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. (ครั้งที่พิมพ์). สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์
อ้างถึงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์/สารนิพนธ์/รายงานการวิจัย > ชื่อผู้วิจัย. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง.
ประเภทของบทนิพนธ์พร้อมด้วยชื่อหลักสูตร สถาบัน.
อ้างถึงบทความในวารสาร > ชื่อผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่ (ฉบับที่),
เลขหน้าที่ปรากฎ
วารสาร
วารสาร
14. อื่น ๆ
1. รูปแบบอักษรและขนาด มีความถูกต้อง
2. บทความมีจานวน 10 หน้า ซึ่งเกินตามที่กาหนดไว้
3. ไม่มีหัวข้อ วัตถุประสงค์การวิจัย
(วัตถุประสงค์รวมอยู่กับหัวข้อบทนา)
1. พบว่ามีบางส่วนใช้คาไม่สม่าเสมอ และมีข้อมูลไม่ตรงกัน
บทนำ
*ใช้คาไม่สม่าเสมอ
ในการบรรยายเนื้อหาใช้คาว่า
ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน และ
ค่าตอบแทนที่ไม่เป็นตัวเงิน
ไม่มีการจัดกั้นหลัง
ข้อมูลไม่ตรงกัน
รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 8
● 1. นางสาววรรณิภา เรือนสอน 65500772 เลขที่ 15
● 2. นางสาวสิรินีนาริน โฆษะโยธิน 65500885 เลขที่ 17
● 3. นายพรเทพ นวไพบูลย์ 65501900 เลขที่ 39
● 4. นางสาวมนัสสวาท ปริญญาจารย์ 65502347 เลขที่ 46
● 5. นางสาวเกษศิรินทร์ ดีอิสระพงศ์ 65502549 เลขที่ 51
● 6. นางสาวสโรชา แซ่เบ๊ 65502614 เลขที่ 52
● 7. นางสาวสุธีญา พูลเพิ่ม 65502905 เลขที่ 58
● 8. นางสาวอารีย์รัตน์ อินสองใจ 65503215 เลขที่ 60
● 9. นายกษิติ กมลนาวิน 65503671 เลขที่ 68
● 10. นางสาวธัญชนก ศรีวรพรกุล 65503784 เลขที่ 70

More Related Content

Similar to PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx

ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
rubtumproject.com
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
Tsheej Thoj
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
TupPee Zhouyongfang
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
Nona Khet
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
KruBeeKa
 
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัยตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ในใจฉัน เสียงเพลง
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
รัชศวรรณ มูลหา
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 

Similar to PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx (20)

ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
นาว1
นาว1นาว1
นาว1
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
แนวคิด
แนวคิดแนวคิด
แนวคิด
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
07 final exam
07 final exam07 final exam
07 final exam
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
1principletest
1principletest1principletest
1principletest
 
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัยตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
 
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพโครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
โครงงานพอเพียงเลี้ยงชีพ
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 

PAD631 วิจารณ์บทความวิจัย กลุ่ม 8 Final.pptx

  • 2. 1. ชื่อเรื่อง ตามหลัก SOSE ❖ สะท้อนเรื่องที่จะวิจัยชัดเจน ❖ เขียนได้อย่างกระชับ ❖ การระบุตัวแปรที่สาคัญ 1) มีการระบุตัวแปลที่ศึกษา คือ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของบุคลากรสานักงานคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม 2) มีการระบุประชากรหรือกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรในสานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม 3) มีการระบุสถานที่ศึกษา คือ สานักคณะกรรมการตุลาการ ศาลยุติธรรม
  • 3. 2. บทคัดย่อ บทคัดย่อไม่ได้กล่าวถึงความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ว่าเป็นอย่างไรทาไมถึงต้องมีการศึกษาในกรณีนี้ มีการระบุเพียงว่า วัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษา 1) ค่าตอบแทนและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร สานักคณะกรรมการ ตุลาการศาลยุติธรรม 2) ปัจจัยส่วนบุคคลและค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานของบุคลากร กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา ❏ มีจานวนคาที่เหมาะสมอยู่ในกรอบ 250 คา และคาสาคัญตรงตามที่กาหนด ซึ่งกาหนด 3 คาขึ้นไป ❏ สะท้อนเรื่องที่ศึกษาชัดเจน ❏ บทคัดย่อไม่ได้กล่าวถึงข้อเสนอแนะในการทาวิจัย ❏ บทคัดย่อมีความกระชับ ❏ บทคัดย่อแปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง
  • 4. 3. ปัญหาการวิจัย 3.1) ปัญหาการวิจัยมีการเขียนไว้ไม่ชัดเจน เป็นการกล่าวนาถึง ทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยที่สาคัญและมีค่าที่สุดขององค์กร อธิบายการ จัดการทรัพยากรมนุษย์ การบริหารงานบุคคล นาไปสู่หัวข้อการวิจัย “ค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร สานัก คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม” เป็นการเขียนแบบประโยคบอกเล่า 3.2) ข้อสนับสนุนความเป็นมาความสาคัญหรือความรุนแรงของปัญหา มีข้อสนับสนุนความเป็นมาความสาคัญของปัญหา องค์กรสมัยใหม่ ที่ประสบความสาเร็จให้ความสาคัญการจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างจริงจัง พัฒนาระบบการจัดการทรัพยากรมนุษย์จากระบบเดิมที่เรียกกว่า การ บริหารงานบุคคล การจ้างบุคลากรเข้ามาทางาน การจ่ายค่าจ้าง ค่าตอบแทนเป็นการกาหนดกลยุทธ์การปฏิบัติงาน
  • 5. 3. ปัญหาการวิจัย (ต่อ) 3.3) มีการกล่าวถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง (ฉัตรรัชดา วิโรจน์รัตน์, 2554) กล่าวว่า “การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดีจะส่งผลต่อประสิทธิภาพการ ปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ” งานวิจัยของ สุพัฒน์มงคล และวันทนา เนาว์วัน (2562) กล่าวว่า “เพื่อให้องค์กรก้าวหน้า อย่างรวดเร็วเติบโตไปพร้อมๆกับการทางานของบุคลากร องค์กรจึงต้อง พัฒนาบุคคลากรและรับรู้ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน” งานวิจัยเรื่องนี้เหมือนกับเรื่องอื่น ตรงที่การบริหารงานบุคคลของสานัก คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม มีหลักเกณฑ์การแบ่งหน้าที่ในการ ปฏิบัติงานของบุคลากรอย่างชัดเจน มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความดี ความชอบ และกาหนดค่าตอบแทน งานวิจัยนี้เติมช่องว่างความรู้แสดงให้ เห็นว่า ความเป็นจริง การปฏิบัติงานตามระบบราชการนั้นขาดยุทธศาสตร์การ ทางานเชิงรุก ไม่คุ้มค่ากับหน่วยงานที่มีความพร้อม บุคลากรบางส่วนไม่ได้ ทุ่มเทในการปฎิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพเท่าที่ควร
  • 6. 3. ปัญหาการวิจัย (ต่อ) 3.4) การระบุตัวแปรที่ศึกษา มีการระบุตัวแปรที่ศึกษา บุคลากรทั้งหมด 65 คน ประกอบด้วย ผู้อานวยการ 1 คน ข้าราชการ 49 คน พนักงานราชการ 6 คน และ ลูกจ้างชั่วคราว 9 คน 3.5) การระบุธรรมชาติของประชากรที่ศึกษา ไม่ได้ระบุธรรมชาติของประชากรที่ศึกษา มีเพียงอธิบายบุคลากรทั้งหมด ในสานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม 3.6) การมองปัญหาภายใต้บริบทของกรอบแนวคิดทฤษฏีที่เหมาะสม มีการมองปัญหาภายใต้บริบท ผู้วิจัยมีความสนใจศึกษาค่าตอบแทนที่ส่งผล ต่อประสิทธิภาพในการปฏบัติงานของบุคลากร เพื่อศึกาษาความคิดเห็น เกี่ยวกับค่าตอบแทน และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยด้านค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงาน 3.7) ความสาคัญของผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการศึกษาปัญหานี้ เพื่อนาองค์ความรู้ไปปรับปรุงและพัฒนาระบบค่าตอบแทนให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ปัจจุบันและเป็นการสร้างขวัญกาลังใจให้กับบุคลากร อันจะ ส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการทางานต่อไป
  • 7. 4. วัตถุประสงค์การวิจัย 4.1) ความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัย มีความเหมาะสมกับเรื่องที่วิจัย เพื่อศึกษา 1.ความคิดเห็นเกี่ยวกับค่าตอบแทนของบุคลากรในสานักงาน คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม 2.ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสานา คณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม 3.ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ บุคลากร สานักงานคณะกรรมการศาลยุติธรรม 4.ปัจจัยด้านค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ของบุคลากร 4.2) ความชัดเจนของแผนวิจัย ไม่ได้เขียนหรือระบุชัดเจนว่าผู้วิจัยมีแผนจะทาอะไร แค่กล่าว อธิบายความคิดเห็นค่าตอบแทน ประสิทธิภาพในการทางาน ปัจจัยส่วน บุคคล ปัจจัยด้านค่าตอบแทนของบุคลากร
  • 8. 5.การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 5.1) เป็นการศึกษาที่ครอบคลุมตัวแปรตามกรอบแนวคิดทฤษฎี 5.2) มีการนาเสนอแนวคิดหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องต่อจากบทนา 5.3) การศึกษาวิจัยเรื่องดังกล่าวไม่ได้เป็นการทดสอบหรือขยายความรู้ จากความรู้เดิมที่มีอยู่ 5.4) งานวิจัยมีมีการใช้แนวคิดเกี่ยวกับค่าตอบแทน แนวคิดและทฤษฎี ที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นแนวคิดทฤษฎีที่มี ความเกี่ยวข้องกับงานวิจัย 5.5) แหล่งอ้างอิงของงานวิจัย ส่วนใหญ่แล้วเป็นข้อมูลทุติยภูมิ 5.6) แหล่งอ้างอิงของข้อมูลยังไม่ครบถ้วนเท่าที่ควร 5.7) การเขียนยังไม่สม่าเสมอต่อเนื่อง 5.8) การเรียบเรียงและการเขียนข้อมูลส่วนใหญ่เป็นการคัดลอกจาก ข้อมูลปฐมภูมิ 5.9) งานวิจัยไม่ได้สะท้อนความอคติของผู้เขียนแต่อย่างใด เอกสารที่เกี่ยวข้อง
  • 9. 6. คาจากัดความ 6.1) มีการเขียนถึงความหมายของตัวแปรสาคัญที่สอดคล้องกับ ความหมายเชิงทฤษฎี 6.2) มีการให้ความหมายตัวแปรสาคัญครบถ้วนตามเนื้อหา คือ ค่าตอบแทน, ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน, สานักคณะกรรมการตุลาการ ศาลยุติธรรม
  • 10.
  • 11. 7. กรอบแนวคิดทฤษฏี 7.1) มีการกาหนดกรอบแนวคิดทฤษฎีไว้อย่างชัดเจน 7.2) แนวคิดทฤษฎีมีความสอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา 7.3) มีการให้ความหมายตัวแปรกับตัวแปรอย่างชัดเจน 7.4) มีการตั้งสมมติฐานซึ่งได้มาจากกรอบแนวคิดและทฤษฎี 7.5) มีการระบุความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตามอย่าง ชัดเจน 7.6) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการวิจัยมีความสม่าเสมอตลอดงานวิจัย 7.7) แนวคิดทฤษฎีที่นามาใช้เป็นทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ ซึ่งมีการ นามาใช้วิจัยกันอย่างแพร่หลาย
  • 12. 8. เครื่องมือวิจัย 1. มีการระบุเครื่องมือ แต่ไม่ได้ระบุถึงแหล่งที่มา และไม่ได้ระบุ เหตุผลเรื่องการเลือกเครื่องมือ 2. เครื่องมือที่ใช้เหมาะสมกับตัวแปรที่ศึกษากับกลุ่มตัวอย่าง 3. ไม่มีวิธีการใช้เครื่องมือกับตัวอย่างทุกคน 4. ผู้วิจัยใช้เครื่องมือทางสถิติในการอ่านค่าเชิงพรรณนา คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ ่ ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการวิคราะห์การถดถอย พหุคุณ แต่ไม่มีการอธิบายที่มา/แนวคิดของ และขั้นตอนของเครื่องมือ ที่ใช้
  • 13. 9. วิธีการรวบรวมข้อมูล 1 . มีการรวบรวมโดยการแจกแบบสอบถาม 2. มีการกาหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สูตร Krejcic & Morgan (1970) 3. มีการทดสอบความเชื่อมั่น ได้ค่าเท่ากับ 0.95 ได้ถูกต้อง ครบถ้วน สิ่งที่บทความปรับปรุง และเพิ่มในส่วนที่ไม่ได้กล่าวถึง 1. เปลี่ยน วิธีการวิจัย เป็น วิธีดาเนินการวิจัย 2. ควรเพิ่มช่วงเวลาในการเก็บข้อมูล 3. ควรกาหนดสถิติที่ใช้
  • 14. 10. การวิเคราะห์ข้อมูล 10.1) การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสม มีการบอกค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10.2) ความครบถ้วนของการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบวัตถุประสงค์ หรือ ทดสอบสมมติฐาน ตามเนื้อหาบทความในหัวข้อบทคัดย่อและใน หัวข้อบทนาในช่วงท้าย ระบุวัตถุประสงค์แตกต่างกัน ทาให้ไม่สามารถ ตอบได้ว่าการวิเคราะห์ข้อมูลตอบตามวัตถุประสงค์ หรือทดสอบ สมมติฐานครบถ้วนหรือไม่ ทั้งนี้ผลการวิเคราะห์ตามหัวข้อผลการวิจัยใน บทความตอบวัตถุประสงค์ หรือทดสอบสมมติฐานครบถ้วนตาม วัตถุประสงค์ในหัวข้อบทนาในช่วงท้าย
  • 15. 10. การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 10.3) ความชัดเจนของการนาเสนอข้อมูล มีการนาเสนอข้อมูลโดยรวมที่ยัง ไม่ชัดเจนหรือเป็นไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ ผลการวิจัยหัวข้อข้อมูลทั่วไป ของผู้ตอบแบบสอบถามถือว่าชัดเจน โดยไม่แสดงตารางประกอบได้ ในส่วน ของตารางที่นาเสนอ ไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน คือ ผลการวิเคราะห์ ความเห็นเกี่ยวกับค่าตอบแทนบุคลากรฯ, ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงานของบุคลากรฯ และผลการวิเคราะห์ค่าตอบแทนส่งผลต่อ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรฯ แสดงตารางผลวิเคราะห์ ประกอบ แต่ผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรฯ ไม่แสดงตารางผลการวิเคราะห์ประกอบ อีกทั้งตามเนื้อหาบทความกล่าวว่า “บุคลากรสานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมที่มีเงินเดือนต่างกัน ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานด้านปริมาณงานแตกต่างกัน” ซึ่งไม่สอดคล้อง กับตารางที่ 4 ที่แสดงว่าเงินเดือนปฏิเสธผลการทดสอบสมมติฐาน 10.4) การกาหนดระดับนัยสาคัญของการทดสอบสมมุติฐาน มีการกาหนดนัยสาคัญทางสถิติที่ 0.05 อ้างอิงจากการบรรยายผลการ เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรฯ และผลการ วิเคราะห์ค่าตอบแทนที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรฯ
  • 16. 10. การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 10.5) ความถูกต้องเหมาะสมของตาราง มีการนาเสนอที่ยังไม่เหมาะสม เท่าที่ควร กล่าวคือ หัวตารางที่ 1 ควรใช้ชื่อ ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับ ค่าตอบแทนของบุคลากร สานักคณะกรรมการการตุลาการศาลยุติธรรม และ หัวตารางที่ 2 ควรใช้ชื่อ ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ บุคลากร สานักคณะกรรมการตุลาการศาลยุติธรรม และการบรรยาย ซ้าซ้อนกับเนื้อหา ในตาราง เพื่อเป็นการลดการบรรยายควรบรรยายค่าที่สูงสุดและต่าสุดเท่านั้น อีกทั้งข้อความในตารางและการบรรยายในส่วนของตัวแปรปัจจัยด้าน ค่าตอบแทนไม่ตรงกับกรอบแนวคิด กล่าวคือ กรอบแนวคิดระบุว่า “ค่าตอบแทนที่เป็นเงิน ทางตรง ทางอ้อม, ค่าตอบแทนที่ไม่ใ่ช่ทางการเงิน” แต่ระบุในตารางแปลผลและการบรรยายเป็น “ค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน โดยตรง โดยอ้อม, ค่าตอบแทนที่ไม่ใช่ตัวเงิน”
  • 17. 10. การวิเคราะห์ข้อมูล (ต่อ) 10.5) (ต่อ) และในตารางที่ 3 แสดงข้อความไม่ถูกต้อง ที่ถูกต้องคือ ค่าตอบแทนที่เป็นเงินทางอ้อม
  • 18. 11. การอภิปรายผลและการสรุปผล 11.1) การอภิปรายผลโดยแสดงเหตุผลของผลการวิจัย ไม่มีการแสดง เหตุผลในการอภิปรายผล บอกเพียงข้อสรุปสั้น ๆ ว่าอยู่ในระดับใด เท่านั้น 11.2) การนาผลการวิจัยอื่น แนวคิด ทฤษฏีที่อ้างไว้มาใช้ประกอบการ อภิปรายผล มีการแสดงเหตุผลประกอบการอภิปรายโดยอธิบายตาม กรอบการวิจัยที่กาหนดไว้ (ปริมาณงาน, คุณภาพงาน, เวลา, ค่าใช้จ่าย)
  • 19. 11. การอภิปรายผลและการสรุปผล (ต่อ) 11.3) ผลสะท้อนของความคาดหวังจากการวิจัย มีการสรุปเปรียบเทียบโดย อธิบายตามกรอบการวิจัยที่กาหนดไว้ (เพศ, เจเนอเรชั่น, สถานภาพ ระดับ การศึกษา ตาแหน่งงาน, ประสบการณ์ และเงินเดือน) 11.4) ความชัดเจนของการสรุปผลการวิจัย มีการนาผลการวิจัยของผู้อื่นที่อ้าง ไว้มาใช้ประกอบการอภิปรายผล แต่ไม่มีการอธิบายว่าปัจจัยค่าตอบแทนด้าน อะไรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานที่แสดงให้ถึงความสอดคล้อง ของงานวิจัย มีแต่เพียงข้อสรุปเท่านั้น 11.5) การระบุจุดอ่อน หรือข้อจากัดการวิจัย ประโยชน์ของการวิจัย - มีการนาผลการวิจัยอื่น แนวคิด ทฤษฏีที่อ้างไว้มาใช้ประกอบการ อภิปรายผล แต่พบว่ามีบางข้อที่ไม่อธิบายเหตุผลประกอบ - ผลการวิจัยเป็นไปตามที่วัตถุประสงค์และกรอบแนวคิดในการวิจัย - ไม่มีการสรุปผลการวิจัยที่ชัดเจน ไม่มีการตอบคาถามการวิจัย หรือ นาเสนอ ผลการทดสอบสมมุติฐาน - ไม่มีการระบุจุดอ่อน หรือข้อจากัดของการวิจัยในครั้งนี้
  • 20. 12. ข้อเสนอแนะ 12.1) การเสนอข้อบ่งชี้ในการนาผลการวิจัยไปใช้ มีการเสนอข้อบ่งชี้ เช่น การเพิ่มการจัดกิจกรรมหรือแนวทางในการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ให้กับบุคลากร การปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานตลอดจน เสริมสร้างบรรยากาศในการปฏิบัติงานให้มีความสุข การเพิ่มค่าตอบแทนที่ เป็นตัวเงินโดยตรง การเพิ่มค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงินโดยอ้อม และค่าตอบแทน ที่ไม่ใช่ตัวเงิน (งาน) 2. การให้ข้อเสนอแนะในการทาวิจัย ให้ข้อเสนอแนะ ไว้ว่า ค่าตอบแทนที่ไม่ใช่ตัวเงิน (สภาพแวดล้อมในงาน) ส่งผลต่อประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน ผู้บริหาร หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง ควรสนับสนุนอุปกรณ์ เครื่องใช้สานักงานและสิ่ง อานวยความสะดวกอื่นๆ ในการปฏิบัติงานอย่างเพียงพอ มีการจัดให้เหมาะสม กับการทางาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัย ส่งเสริมหรือจัดกิจกรรมการทางาน เป็นทีม ทุกคนได้มีส่วนร่วม ตลอดจนสร้างบรรยากาศในการทางานอย่างมี ความสุข ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัย เนื่องจากผลการวิจัย พบว่า ค่าตอบแทนที่ ไม่ใช่ตัวเงิน (สภาพแวดล้อมในงาน) ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05
  • 21. 13. เอกสารอ้างอิง/บรรณานุกรม 13.1) เอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม ครอบคลุมเนื้อหา เพราะ ผู้วิจัยได้อ้างอิงข้อมูลของแหล่งที่มาของข้อมูลครบถ้วนตั้งแต่ ความสาคัญและความเป็นมาไปจนถึงข้อสรุปของผลการวิจัยที่ได้อ้างอิง งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. การเขียนตามรูปแบบที่กาหนดได้อย่างถูกต้อง อ้างถึงหนังสือ > ชื่อผู้แต่ง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. (ครั้งที่พิมพ์). สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์ อ้างถึงวิทยานิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์/สารนิพนธ์/รายงานการวิจัย > ชื่อผู้วิจัย. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ประเภทของบทนิพนธ์พร้อมด้วยชื่อหลักสูตร สถาบัน. อ้างถึงบทความในวารสาร > ชื่อผู้เขียนบทความ. (ปีที่พิมพ์). ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร, ปีที่ (ฉบับที่), เลขหน้าที่ปรากฎ วารสาร วารสาร
  • 22. 14. อื่น ๆ 1. รูปแบบอักษรและขนาด มีความถูกต้อง 2. บทความมีจานวน 10 หน้า ซึ่งเกินตามที่กาหนดไว้ 3. ไม่มีหัวข้อ วัตถุประสงค์การวิจัย (วัตถุประสงค์รวมอยู่กับหัวข้อบทนา) 1. พบว่ามีบางส่วนใช้คาไม่สม่าเสมอ และมีข้อมูลไม่ตรงกัน บทนำ
  • 24. รายชื่อสมาชิกกลุ่มที่ 8 ● 1. นางสาววรรณิภา เรือนสอน 65500772 เลขที่ 15 ● 2. นางสาวสิรินีนาริน โฆษะโยธิน 65500885 เลขที่ 17 ● 3. นายพรเทพ นวไพบูลย์ 65501900 เลขที่ 39 ● 4. นางสาวมนัสสวาท ปริญญาจารย์ 65502347 เลขที่ 46 ● 5. นางสาวเกษศิรินทร์ ดีอิสระพงศ์ 65502549 เลขที่ 51 ● 6. นางสาวสโรชา แซ่เบ๊ 65502614 เลขที่ 52 ● 7. นางสาวสุธีญา พูลเพิ่ม 65502905 เลขที่ 58 ● 8. นางสาวอารีย์รัตน์ อินสองใจ 65503215 เลขที่ 60 ● 9. นายกษิติ กมลนาวิน 65503671 เลขที่ 68 ● 10. นางสาวธัญชนก ศรีวรพรกุล 65503784 เลขที่ 70